องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ห่วง คืออะไร

หลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ อะไร ?

    เศรษฐกิจพอเพียง คือ ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชทานพระราชดำริชี้แนวทางการดำเนินชีวิตให้แก่พสกนิกรชาวไทยมาอย่างยาวนาน
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท ด้วยองค์ประกอบของหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข สรุปให้เข้าใจได้ง่ายๆ ดังต่อไปนี้

    3 ห่วง คือ ทางสายกลางประกอบไปด้วย

  • ห่วงที่ 1 พอประมาณ ความพอดี ไม่เบียดเบียนตนเอง และผู้อื่น
  • ห่วงที่ 2 คือ มีเหตุผล การตัดสินใจ ต้องพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องอย่างรอบคอบ
  • ห่วงที่ 3 คือ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง พร้อมรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

    2 เงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่

  • เงื่อนไขที่ 1 เงื่อนไขความรู้ คือ มีความรู้อย่างรอบด้าน น าความรู้เหล่านั้นมาพิจารณา วางแผน อย่างรอบคอบในขั้นตอนปฏิบัติ
  • เงื่อนไขที่ 2 เงื่อนไขคุณธรรม คือ มีคุณธรรม ซื่อสัตย์สุจริต อดทน และมีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต

    หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น แบ่งระดับออกได้เป็นหลายๆ ระดับ ดังนี้

  1. ความพอเพียงระดับบุคคลและครอบครัว ใช้หลักตนเป็นที่พึ่งแห่งตน ในทั้ง 5 ด้าน คือ จิตใจ สังคม เทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาต สิ่งแวดล้อม และเศรษฐกิจ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เลี้ยงตนเองและครอบครัวได้ รู้ข้อมูลรายรับ รายจ่าย ลด ละ เลิก อบายมุข สอนให้เด็กรู้จักคุณค่า รู้จักใช้ รู้จักออมเงิน รักษาวัฒนธรรม ประเพณี
  2. ความพอเพียงระดับชุมชน เป็นการรวมกลุ่มกันทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ทรัพยากรธรรมชาติในชุมชน มาสร้างประโยชน์ เพื่อชุมชนที่เข้มแข็งมีความเป็นอยู่ที่พอเพียง
  3. ความพอเพียงในภาคธุรกิจเอกชน คือการดำเนินธุรกิจบนพื้นฐานของการแบ่งปัน ให้ทุกฝ่ายได้รับประโยชน์อย่างเป็นธรรม ทั้งลูกค้า คู่ค้า ผู้ถือหุ้น และพนักงาน การขยายธุรกิจอย่างค่อยเป็นค่อยไป ต้องมีความรู้และความเข้าใจในธุรกิจของตนเอง รู้จัก ลูกค้า ศึกษาคู่แข่ง เรียนรู้การตลาดอย่างถ่องแท้ ผลิตในสิ่งที่ถนัดและทำตามกำลัง มีความซื่อสัตย์รับผิดชอบต่อสังคม สร้างเสริม ความรู้และจัดสวัสดิการให้แก่พนักงานอย่างเหมาะสม
  4. ความพอเพียงระดับประเทศ คือการบริหารจัดการประเทศ เริ่มจากการวางรากฐานให้ประชาชนอยู่อย่างพอมีพอกิน และพึ่งตนเองได้ มีความรู้ มีคุณธรรมในการดำเนินชีวิต มีการรวมกลุ่มของชุมชนหลายๆ แห่ง เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ สืบทอดภูมิปัญญา การเสริมสร้างให้ประชาชนตระหนักถึงหน้าที่ มีความรัก ความสามัคคีของคนในชาติ ให้ประชาชนตระหนักว่า การปลูกจิตส านึกด้านคุณธรรม จริยธรรม จะเป็นเครื่องมือสำคัญและมีพลังที่จะสร้างภูมิคุ้มกันของประเทศชาติและประชาชนได้อย่างแท้จริง
          เงื่อนไขความรู้   ประกอบด้วยการฝึกตนให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน มีความรอบคอบ และความระมัดระวังที่จะนำความรู้ต่าง ๆ เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน  เพื่อประกอบการวางแผน และในขั้นปฏิบัติ

ประกอบด้วย 3 หลักการ 2 เงื่อนไข ดังนี้

1.  หลักความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากจนเกินไป
โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยู่ในระดับพอประมาณ

2.  หลักความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำนั้นๆ อย่างรอบคอบ

3.  หลักภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น โดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
เงื่อนไขในการตัดสินใจและดำเนินกิจกรรมต่างๆ ต้องอยู่ในระดับพอเพียง 2 ประการ คือ

1.  เงื่อนไขความรู้  ประกอบด้วย การมีความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ   ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบัติกิจของตน

2.  เงื่อนไขคุณธรรม ประกอบด้วย กระทำทุกสิ่งบนพื้นฐานของจิตใจที่มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีความอดทน มีความเพียร รู้จักแบ่งปัน รู้จักใช้สติปัญญา
ในการดำเนินชีวิต
อ้างอิงจากเว็บ http://lumyuankul.blogspot.com/2012/01/blogpost_29.html

องค์ประกอบของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๓ ห่วง คืออะไร


��ѡ 3 ��ǧ 2 ���͹�

 �繺���ػ�ͧ���ɰ�Ԩ����§ ����ͧ ��� ��ػ������������� �ѧ���仹��

 3 ��ǧ ��� �ҧ��¡�ҧ ��Сͺ仴��� �ѧ���
           ��ǧ��� 1 ��� �ͻ���ҳ ���¶֧ �ͻ���ҳ㹷ء���ҧ �����ʹ�����ҡ������ҹ��¨��Թ��µ�ͧ�����´��¹���ͧ ���ͼ����������ʹ��͹
           ��ǧ��� 2 ��� ���˵ؼ� ���¶֧ ��õѴ�Թ�����ǡѺ�дѺ�ͧ��������§��� �е�ͧ������ҧ���˵ؼ��¾Ԩ�óҨҡ�˵ػѨ��·������Ǣ�ͧ ��ʹ���ӹ֧�֧�ŷ��Ҵ��Ҩ��Դ��鹨ҡ��á�зӹ��� ���ҧ�ͺ�ͺ
           ��ǧ��� 3 ��� �����Ԥ����ѹ����㹵���ͧ ���¶֧ �������������������Ѻ�š�з���С������¹�ŧ��ҹ��õ�ҧ� �����Դ����¤ӹ֧�֧���������ͧʶҹ��ó��ҧ� ���Ҵ��Ҩ��Դ����͹Ҥ������������


  2 ���͹� ��������ɰ�Ԩ����§ ����
            ���͹䢷�� 1 ���͹䢤������ ��� �դ����ͺ�������ǡѺ �Ԫҡ�õ�ҧ�������Ǣ�ͧ���ҧ�ͺ��ҹ �����ͺ�ͺ���йӤ����������ҹ���ҾԨ�ó����������§�ѹ ���ͻ�Сͺ��� �ҧἹ ��Ф������Ѵ���ѧ㹢�鹵͹��Ժѵ� �س������Сͺ���� �դ������˹ѡ㹤س���� �դ��������ѵ���ب�Ե ����դ���ʹ�� �դ������� ��ʵԻѭ��㹡�ô��Թ���Ե
            ���͹䢷�� 2 ���͹䢤س���� ��� �դ������˹ѡ㹤س���� �դ��������ѵ���ب�Ե����դ���ʹ�� �դ������� ��ʵԻѭ��㹡�ô��Թ���Ե


  “���ɰ�Ԩ����§��ԧ� ��� ��ѡ��ô��Թ���Ե����ԧ�����ش ��ͺ�ǤԴ�ͧ��ѡ��Ѫ������鹤�����蹤���Ф�������׹�ͧ��þѲ�� �ѹ�դس�ѡɳз���Ӥѭ ��� ����ö����ء����㹷ء�дѺ ��ʹ���������Ӥѭ�Ѻ����Ҥ�������§ ����Сͺ���� �����ͻ���ҳ �������˵��ռ� �����Ԥ����ѹ����㹵�� ��������͹䢢ͧ��õѴ�Թ���С�ô��Թ�Ԩ��������ͧ��������͹䢤������������͹䢤س����”


  “�ҡ�ء�������㨡�ͺ�ǤԴ �س�ѡɳ� �ӹ�����ͧ���ɰ�Ԩ����§���ҧ����Ѵ���� ��Ч��¢��㹡�ù�任���ء�������Ƿҧ��Ժѵ� ��Шй�����ŷ��Ҵ��Ҩ����Ѻ ��� ��þѲ�ҷ��������������׹ ������Ѻ��͡������¹�ŧ㹷ء��ҹ ��駴�ҹ���ɰ�Ԩ �ѧ�� ����Ǵ���� ����������෤�����”

�����: http://���ɰ�Ԩ����§.net/

องค์ประกอบของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือข้อใด

สรุปได้ว่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ หรือที่เรียกว่า 3 ห่วง ได้แก่ ความมีเหตุผล ความพอประมาณ และการมีภูมิคุ้มกันในตัว องค์ประกอบทั้ง 3 ต้องควบคู่กับ 2 เงื่อนไขการปฏิบัติ คือ เงื่อนไขความรู้ ได้แก่ ความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง ส่วนเงื่อนไขคุณธรรม ได้แก่ ความซื่อสัตย์สุจริต ขยันอดทน เพียร และ ...

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความเป็นมาอย่างไร

ความเป็นมาเศรษฐกิจพอเพียง” เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อ วันที่ 18 กรกฎาคม 2517 โดยเริ่มต้นจากพระบรมราโชวาท ในของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย (รัชกาลที่ 9) พระราชทานแก่นิสิตมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ซึ่งเน้นความสำคัญในการพัฒนาประเทศแบบสร้างพื้นฐานคือ "ความพอมีพอกิน พอใช้"

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสําคัญอย่างไรต่อเศรษฐกิจของไทย

ประเทศไทยกับเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นให้ผู้ผลิต หรือผู้บริโภค พยายามเริ่มต้นผลิต หรือบริโภคภายใต้ขอบเขต ข้อจำกัดของรายได้ หรือทรัพยากรที่มีอยู่ไปก่อน ซึ่งก็คือ หลักในการลดการพึ่งพา เพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมการผลิตได้ด้วยตนเอง และลดภาวะการเสี่ยงจากการไม่สามารถควบคุมระบบตลาดได้อย่างมีประสิทธิภาพ