ข้อเสียของ Google Sites มีอะไรบ้าง

ข้อเสียของ Google Sites มีอะไรบ้าง

Google Sites  ��� ������ͧ Google �������ԡ�����ҧ���䫵�������ö���ҧ���䫵������ ��Ѻ���ٻ�ѡɳ������ҧ������������ö�Ǻ���������ҡ���¢ͧ���������㹷������ �� �մ���, ��ԷԹ, �͡�������  ���������ӹ�¤����дǡ�������ҧ�ҡ㹡�����˹�����  ���繡���� ���� ���ͧ��á���

ข้อเสียของ Google Sites มีอะไรบ้าง

��ʹբͧ Google Sites

           - Google sites ����ö����͡��� �ҹ���ʹ� ��ô�յ �Դ��� �Ҿ��Ŵ� ���ͪ���㹷ӧҹ���ҧ������º

           - �����ŵ������͡��ҡ����

           - ����ö��Ҷ֧��ء��������Թ������

           - �ӧҹ�������к���Ժѵԡ�� �� Window, Mac, Linux �¡�÷ӧҹ��ҹ����������ҧ�

           - �к��դ����ѡ�Ҥ�����ʹ��·��� �¼������к�����ö�Ѵ����Է��㹡���觻ѹ䫵���

           - ����ԡ�ÿ��������¤������¾�鹷��Ѵ�� 10GB

           - ��Ҵ�������㹡�èѴ���٧�ش 10 MB

��ʹ��¢ͧ Google Sites

           - ��ҹ�����Ѻ CSS ����͡Ẻ�ͧ�����

           - ���䫵��������� �Google ����� domain name ���

           - �ѧ�ջѭ������ͧ�����ҹ�����Ѻ script ����

           - ����੾������͵���Թ��������ҹ��

ข้อเสียของ Google Sites มีอะไรบ้าง

ข้อเสียของ Google Sites มีอะไรบ้าง

ข้อเสียของ Google Sites มีอะไรบ้าง
ข้อเสียของ Google Sites มีอะไรบ้าง

ข้อเสียของ Google Sites มีอะไรบ้าง

Google Sites คือ โปรแกรมออนไลน์ใช้ในการสร้างเว็บไซต์ให้ง่ายขึ้นเหมือนกับการแก้ไขเอกสารธรรมดา ๆด้วย Google Sites โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องรู้เรื่องเกี่ยวกับภาษาที่ใช่ในการสร้างเว็บไซต์ สามารถรวบรวมความหลากหลายของข้อมูลในที่เดียว เช่น รวมวิดีโอ ปฏิทินการนำเสนอ เอกสารหรือสิ่งที่แนบ และข้อความ อำนวยความสะดวกในการทำงาน ซึ่งมีให้เลือก 2 รูปแบบคือ Google Sites แบบที่ 1 คือ classic (แบบเก่า) ไม่ยืดหยุ่นตามอุปกรณ์ แบบที่ 2 คือ แบบใหม่ (ยืดหยุ่นตามอุปกรณ์) ใช้งานง่ายมากและดูทันสมัย

ข้อดีของ GOOGLE SITE

  1.  สามารถทำหน้าเว็บเพจของตัวเองอะไรก็ได้ขึ้นมา โดยเน้นที่ความง่าย มี app. ให้ใช้อย่างสะดวกโดยไม่จำเป็นต้องรู้เรื่อง html
  2.  สามารถเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ และเป็นความรู้ หรือบทเรียน อะไรอีกหลายๆอย่างได้ในSITE  ได้
  3.  มีพื้นที่ให้บริการเยอะเลย 100 เมกะไบต์ ต่อsite
  4.  มี Gadget เยอะแยะมากมาย และสามารถทำในรูปแบบที่เราต้องการได้
  5.  รูปแบบไซต์ ดูเป็นแบบมาตรฐานของเว็บไซต์ทั่วไป
  6.  พัฒนาได้ง่าย ปรับปรุงรูปแบบ ปรับแต่งข้อมูลแบบออนไลน์
  7.  สามารถที่จะเก็บไฟล์ภาพ หรือไฟล์ชนิดต่างๆ ไว้ในไซต์ของเราได้
  8.  ทำ link ภายในและภายนอกของไซต์ได้
  9.  การตั้งค่าสำหรับการเข้าถึงและใช้ข้อมูลร่วมกัน
  10.  เป็นที่รวมเข้ากับเครื่องมืออื่น ๆ ของ Google เพื่อให้คุณสามารถแบ่งปันวิดีโอภาพถ่ายงานนำเสนอและปฏิทิน

ข้อจำกัดของ GOOGLE SITE

  1.  ไม่สามารถนำเอาตัวอักษรเลื่อนต่างๆมาใช้ได้
  2.  ไม่มีที่แสดงความคิดเห็น ให้ผู้ที่เข้ามาชมได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
  3.  ละเมิดกฎของ Google site  ไซต์จะถูกปิดทันที
  4.  ขาดความน่าเชื่อถือ เพราะดูเหมือน เราอาศัยเวบคนอื่น
  5.  Google site  จำกัดปริมาณการโหลดไฟล์ต่อวันหรือต่อชั่วโมง

อยากมีเว็บไซต์เป็นของตัวเอง โดยที่เราไม่ต้องเขียนโค้ดเลย เเค่ลากเเปะก็ได้เว็บสวย ๆ เเล้ว ไปดูกันเลย 😁

แต่ก่อนการที่เราจะสร้างเว็บไซต์ขึ้นมาสักเว็บไซต์นึงเนี่ย จำเป็นต้องรู้เรื่อง Program Coding เเละจำเป็นต้องรู้อีกหลาย ๆ เรื่องเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม ฟังดูเเล้วน่าปวดหัวใช่ไหมล่ะ😂 ในความคิดของเราเเค่อยากสร้างเว็บไซต์เล็ก ๆ น่ารัก ๆ เอาไว้เเชร์ความรู้หรือบทความที่เป็นเว็บของตัวเองเเค่นั้นเอง คงไม่จำเป็นต้องจ้างให้ Programmer ช่วยเขียนเว็บให้เราหรอกมั้ง เทคโนโลยีทุกวันนี้ไปเร็วมาก น่าจะมีเครื่องมือที่สามารถสร้างเว็บไซต์โดยที่เราไม่ต้องรู้โค้ดเลยก็ได้นะ โอ้วว ใช่เเล้วครับ ปัจจุบันมีเครื่องมือออนไลน์มากมายที่ช่วยให้เราสามารถสร้างเว็บไซต์ง่าย ๆ ของเราขึ้นมาโดยที่เราไม่จำเป็นต้องรู้โค้ดหรือภาษาคอมพิวเตอร์เลยสักบรรทัดให้ปวดหัว เเละหัวร้อน !!

โดยบทความนี้ผมจะยกตัวอย่างเครื่องมือออนไลน์ตัวหนึ่งที่เรียกว่า Google Site เเต่น เเตน เเต๊น !!! ก่อนอื่นเลยเรามารู้จักเจ้า Google Site กันก่อนเลยว่ามันคืออะไร มีข้อดี ข้อเสียอะไร และมีอะไรให้เราใช้บ้าง ?

Google Site คืออะไร

Google Sites เป็นโปรแกรมออนไลน์ที่ช่วยให้เราสร้างเว็บไซต์ของเราได้เองเเบบง่าย ๆ เหมือนกับการแก้เอกสารใน Doc ของ Google เลย ทั้งนี้ยังสามารถเเทรกวีดีโอ รูปภาพ เอกสารต่าง ๆ หรือปฏิทินได้อีกด้วย โดยมีตัวเลือกให้เราใช้เยอะเเยะไปหมด เเต่ยังไม่หมด Google Sites ยังสามารถให้เราและเพื่อนของเราแก้ไขหน้าเว็บได้พร้อมกันเเบบเรียวไทม์อีกด้วย ดูเเล้วสะดวกมากเลยใช่ไหมครับ ที่เราไม่ต้องเขียนโค้ดให้ปวดหัว

จุดเด่นของ Google Site
  1. จะทำเว็บไซต์อะไรก็ได้โดยเน้นที่ความง่าย สะดวกเเละ รวดเร็ว
  2. ให้เราใช้บริการฟรีไม่เสียค่าใช้จ่าย
  3. ขนาดไฟล์ที่ใช้ในการจัดเก็บสูงสุด 10 MB
  4. สำหรับคนไม่รู้เรื่องการออกเเบบเลย เขาก็มี Gadget ให้เราเลือกใช้และสามารถทำในรูปแบบที่เราต้องการได้
  5. รูปแบบไซต์ ดูเป็นแบบมาตรฐานของเว็บไซต์ทั่วไปเพราะเขามี Layout หรือ Templateให้เราเลือกใช้ได้เลย
  6. เราสามารถเผยเเพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ เเละเป็นความรู้ได้ในไซต์ที่เราสร้าง
  7. ทำลิงค์ภายในเเละภายนอกเว็บไซต์ได้
  8. สามารถเก็บไฟล์ภาพ เเละไฟล์ต่าง ๆ ไว้ในไซต์ของเราได้
  9. สามารถเเก้ไขพร้อมกันกับทีม หรือเพื่อนได้ในเวลาเดียวกัน

มีข้อดีแล้วก็ต้องมีข้อเสียหรือข้อจำกัดบ้าง

ข้อจำกัดของ Google Site
  1. มีพื้นที่จำกัด พื้นที่จัดเก็บ 10 GB* (GB=กิกะไบต์)
  2. ขนาดไฟล์สูงสุด 10 MB (MB=เมกกะไบต์)
  3. จะสามารถทำงานได้เมื่อเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต
  4. ไม่มีระบบเเสดงความคิดเห็น ให้ผู้ที่เข้ามาชมเว็บไซต์เราเข้ามาเเลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันเเละกันเหมือนเว็บไซต์ทั่วไป
  5. ดูขาดความน่าเชื่อถือ เพราะดูเหมือนเราอาศัยเว็บคนอื่น
  6. หากเราละเมิดกฎของ Google Site ไซต์ที่เราสร้างนั้นก็จะถูกปิดทันที
  7. Google Site จำกัดปริมาณการโหลดต่อวันหรือต่อชั่วโมง

จากข้อจำกัดของ Google Site ดูเเล้วก็ไม่ได้เเย่ขนาดนั้นใช่ไหมล่ะครับ เราเเค่จะสร้างเว็บไซต์เล็ก ๆ น่ารัก ๆ ไว้เพื่อเเบ่งปันสิ่งดี ๆ เท่านั้นเอง 😄

หลังจากที่อ่านผ่าน ๆ มา ทำให้เราทราบเรื่องคุณสมบัติของ Google Site กันเเล้ว รวมถึงข้อดี ข้อจำกัดด้วยเช่นกัน เเต่อาจจะยังไม่เห็นภาพว่าการใช้งานมันเป็นอย่างไร ความยุ่งยากอยู่ระดับใด สร้างเว็บไซต์ออกมาเเล้วจะได้หน้าตาออกมาประมาณไหน งั้นเรามาลงมือทำไปพร้อม ๆ กันเลย Let’s go !!

หัวข้อการพัฒนามีดังนี้
  1. เริ่มต้นการใช้งาน Google Site
  2. การใช้งาน Layout เพื่อเพิ่มเนื้อหาใน Google Site
  3. การสร้างลิงค์เพื่อไปหน้าถัดไปและการแทรกลิงค์ภายนอก
  4. การนำเว็บไซต์ของเราไปเผยเเพร่
เริ่มต้นการใช้งาน Google Site
  1. ให้เราเข้าไปที่ Google Site เเละทำการล็อกอินด้วยบัญชีของ Google หากใครยังไม่มีก็ให้เราทำการลงทะเบียนก่อนครับ เเละเมื่อเราทำการลงทะเบียนเเละเข้าสู่ระบบเรียบร้อยเเล้วจะปรากฎหน้าตาดังนี้

รูปภาพที่ 1 ตัวอย่างหน้า google site ของเรา

รูปภาพที่ 2 ตัวอย่างปุ่มสร้างเว็บไซต์ใหม่

2. จากนั้นให้เราคลิกที่ไอคอน + ทางล่างขวา จะปรากฎหน้าเว็บที่เราจะใช้ในการสร้างเว็บไซต์ประมาณนี้

รูปภาพที่ 3 ตัวอย่างหน้าเว็บไซต์เเละเครื่องมือสำหรับสร้างเว็บไซต์

3. อย่างแรกเรามารู้จักกับเมนูด้านขวาที่เราต้องรูกจัก กันก่อนเลย โดยเมนูหลัก ๆ ที่เราจะได้ใช้นั้นมี 3 ตัว แบ่งออกเป็น

  • 3.1 แทรก เป็นเมนูที่เราต้องใช้บ่อย เพราะจะมีเมนูย่อยให้เราได้เเทรกข้อความ รูปภาพ url ได้ เเละยังมี Layout ให้เราเลือกด้วยว่าเราต้องการวาง Layout ของข้อความเป็นแบบไหน
  • 3.2 หน้าเว็บ กรณีหน้าเว็บมีหลายหน้า เราสามารถลิงค์หน้าเว็บของเราเข้าด้วยกันได้
  • 3.3 ธีม จะเป็นธีมของหน้าเว็บที่เราต้องการ เเต่อาจจะมีให้เราเลือกไม่ค่อยเยอะเท่าไหร่ เเต่เราสามารถ Custom สีเองได้

รูปภาพที่ 4 เมนูที่เราใช้ในการทำเว็บไซต์

4. รามาเปลี่ยนชื่อเว็บไซต์กันก่อนเลย ให้คลิกที่มุมซ้าย

รูปภาพที่ 5 การตั้งชื่อเว็บไซต์

5. เราจะทำการเลือกธีมของเว็บเราก่อนเลย ว่าอยากได้เเบบไหน ก่อนที่เราจะเริ่มวาง Layout ของต่อไปให้ทำการคลิกที่คำว่า “ธีม” แล้วจะปรากฎธีมให้เราเลือก ในที่นี้ ธีมจะมีไม่กี่เเบบเเต่เราก็สามารถ Custom สีได้เองด้วย

รูปภาพที่ 6 การเลือกธีม

6. จากนั้นเราจะเเก้ไขข้อความบนแบนเนอร์ เราก็สามารถคลิกที่ข้อความนั้นเเล้วทำการเเก้ไขได้เลย เเละสามารถกำหนดชนิดของหัวข้อได้ว่าเราต้องการเเบบไหน การจัดตัวอักษรตัวหนา ตัวเอียง ได้ด้วย

รูปภาพที่ 7 การเเก้ไข้ข้อความที่แบนเนอร์

ตรงแบนเนอร์นี้เรายังสามารถเปลี่ยนรูปภาพพื้นหลังได้ด้วย โดยคลิกที่ อัปโหลด หรือ เลือกรูปภาพ แล้วเเต่เราต้องการ

รูปภาพที่ 8 ตัวอย่างเมนูการอัปโหลดเเละเลือกรูปภาพ

รูปภาพที่ 9 ตัวอย่างการอัปโหลดรูปภาพบนเเบนเนอร์การใช้งาน Layout เพื่อเพิ่มเนื้อหาใน Google Site

Google Site เขาจะมี Layout ให้เราเลือกใช้สำหรับจัดวางเนื้อให้มีความน่าสนใจ ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับเราด้วยว่าจะทำได้มีความน่าสนใจเเค่ไหน ส่วนตัวอย่างการใช้งานคร่าว ๆ ก็จะประมาณนี้เลย

  1. การใช้งานเลย์เอาต์แบบแกรที่มีรูปภาพแนบไปกับเนื้อหา

รูปภาพที่ 1 การแทรกเลย์เอาต์ของเว็บไต์

2. การแทรกรูปภาพและเนื้อหาให้กับเลย์เอาต์ที่เราเลือกคลิกที่ปุ่มบวก (+) จะเเสดงเมนูดังตัวอย่างภาพนี้

รูปภาพที่ 2 อัพโหลดรูปภาพจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรา

รูปภาพที่ 3 ตัวอย่างหลังจากการแทรกเนื้อหาของจากเลย์เอ้าต์ที่เราเลือก

เท่านี้เราก็ได้เลย์เอ้าต์ที่มีเนื้อหาอยู่ด้วยแล้ว เอ๋ .. แต่สีพื้นหลังกับสีแบนเนอร์มันแยกกันไม่ออกเลย งั้นมาดูการเปลี่ยนสีพื้นหลังให้เข้ากับเนื้อหากัน

3. การเปลี่ยนสีพื้นหลัง ให้เราเอาเม้าส์ของเราไปชี้ส่วนของเนื้อหาที่เราต้องการใส่สีพื้นหลัง และจะปรากฎเมนูแบบนี้ขึ้น

รูปภาพที่ 4 การใส่สีพื้นหลัง

4. จากนั้นจะมีเมนูพื้นหลังของส่วนให้เราเลือกใช้ โดยสีที่แสดงให้เราเลือกนั้นจะอิงจากโทนของธีมที่เราเลือกไว้ก่อนหน้า นอกจากสีแล้วเรายังสามารถแทรกพื้นหลังที่เป็นรูปภาพได้ด้วยนะ

รูปภาพที่ 5 การเลือกสีพื้นหลังการสร้างลิงค์เพื่อไปหน้าถัดไปและการแทรกลิงค์ภายนอก

แน่นนอนว่าเว็บไซต์หลายเว็บไซต์ต้องมีหลายหน้า เพื่อแบ่งแยกลายละเอียดต่าง ๆ ออกไปในแต่ละหน้า ฟีเจอร์นี้ใน Google Site ก็มีนะ ไปดูกันเลย

  1. ในที่นี้จะยกตัวอย่างการลิงค์ไปอีกหน้าของเว็บไซต์ ด้วยการสร้างเนื้อหาจากเลย์เอาต์ที่เราสร้างขึ้นครับ

รูปภาพที่ 1 ตัวอย่างเลย์เอ้าต์เพื่อนำไปทำลิงค์ภายใน

2. ให้เราไปที่เมนู “หน้าเว็บ” ที่อยู่ทางขวา เราจะเห็นหน้าของเว็บไซต์ที่เราเคยสร้าง แต่สำหรับใครที่ยังไม่เคยสร้างจะขึ้นเเค่ “หน้าแรก”

รูปภาพที่ 2 เมนู “หน้าเว็บ” เพื่อสร้างหน้าเพจใหม่สำหรับการลิงค์หน้า

3. จากนั้นให้เราคลิกที่ปุ่ม + ที่ด้านล่างมุมซ้ายของจอ จะปรากกฎเมนูขึ้นดังรูป ให้เราคลิกเลือกที่ “หน้าเว็บใหม่” จากนั้นให้เราตั้งชื่อหน้าเว็บใหม่ตามที่เราตั้งได้เลย

รูปภาพที่ 3 การสร้างหน้าเพจใหม่สำหรับการลิงค์หน้า

หลังจากที่เราตั้งชื่อเพจเสร็จเเล้วเราจะได้หน้าเพจที่เราสร้างขึ้นมาใหม่ที่มีแบนเนอร์ให้เราด้วย ดังตัวอย่างนี้

รูปภาพที่ 4 ตัวอย่างหน้าเพจของเว็บไซต์ที่เราสร้าง

4. ต่อไปให้กลับไปที่หน้าแรกของเว็บไซต์ หรือเพจแรกที่เราได้สร้างขึ้นมา ให้คลิกที่หัวข้อ หรือข้อความเราต้องการลิงค์เพื่อไปหน้าเพจนั้น ๆ ของเว็บไซต์เรา จะปรากฎป๊อปอัพของการ์ดที่มีเมนูย่อยหรือเพจของไซต์ที่เราสร้างขึ้นก่อนหน้านี้ให้เราเลือกว่าต้องการจะลิงค์ไปหน้าไหน

รูปภาพที่ 5 การเลือกข้อความสำหรับการลิงค์และการเลือกหน้าที่เราต้องการลิงค์

5. ให้เราเลือกเพจหรือหน้าเว็บไซต์ที่เราต้องการแล้วกดคำว่า “ใช้” จากนั้นก็เป็นอันว่า Complete

รูปภาพที่ 6 ตัวอย่างการเลือกเพจที่เราต้องการลิงค์ไปหน้านั้น

ขอเสริมอีกนิดนึง ในส่วนของ Navbar ที่เราเคยเห็นในเว็บไซต์ทั่วไปนั้น Google Site จะสร้างเมนูที่ลิงค์หน้าต่าง ๆ ให้เราโดยอัตโนมัติด้วย 😁

รูปภาพที่ 7 ตัวอย่าง navbar ที่ถูกสร้างขึ้นโดยอัตโนมัติการนำเว็บไซต์ของเราไปเผยเเพร่

หลังจากที่เราได้เราสร้างเว็บไซต์ของเราเสร็จแล้ว แต่เราอยากแชร์เว็บไซต์ของเราให้คนอื่นได้อ่านด้วยทำไงดีน้า แล้วต้องเช่า Host เเละ Domain ด้วยไหมเนี่ย 🤔 แต่เชื่อว่าทุกคนที่อ่านบทความนี้ตอนต้นก็พอจะทราบแล้วว่า ทุกอย่างมันถูกจัดเตรียมขึ้นมาให้เราพร้อมหมดแล้ว

นี่ก็เป็นอีกหนึ่งข้อดีของของ Google Site นะเอ้อออ !! 😂 งั้นเรามาเผยแพร่เว็บไซต์ของเรากันเถอะ

รูปภาพที่ 1 การตั้งชื่อที่อยู่เว็บไซต์
  1. คลิกที่ปุ่ม “เผยแพร่” ข้างรูปโปรไฟล์ของเรา
  2. ตั้งชื่อ URL ของเว็บไซต์ของเรา
  3. ขั้นตอนสุดท้ายนี้ คลิกที่ปุ่ม “เผยแพร่” เพียงแค่นี้เว็บของเราก็ได้ออกไปโลดเเล่นสู่โลกภายนอกแล้ว เย้ !! .. 🤗

นี่เป็นเพียงตัวอย่างส่วนหนึ่งของการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google Site อย่างง่าย ๆ อันที่จริงก็ยังใช้ฟีเจอร์ที่เขาให้มายังไม่ครบเลย 😅 พอจะเห็นแนวทางแล้วใช่ไหมครับว่ามันไม่ได้ยากอย่างที่เราคิดเลย

ฝากทิ้งท้าย

จากที่เราได้ลองหยิบนั่น จับนี่มาใส่แล้วเกิดเป็นเว็บไซต์โดยง่ายโดยที่เราไม่ต้องปวดหัวกับการเขียนโค้ดเลย Google Site ก็ถือว่าตอบโจทย์เลยทีเดียว แต่ถึงอย่างนั้นเจ้า Google Site ก็มีข้อจำกัดเช่นเดียวกัน ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับว่าเราต้องการสร้างเว็บไซต์ขึ้นมาเพื่ออะไร ถ้าหากต้องการระบบที่มีความลึกซึ้งกว่านี้ก็อาจต้องลองมองหาเครื่องมือตัวอื่น ๆ หรือ “ จงไปเขียนโค้ดซะ !!” โอ้วว แม่จ้าว ฟังแล้วขนลุก 😂

ข้อเสียของ Google Sites คืออะไร

ข้อเสีย ไม่สามารถเพิ่มหรือปรับเปลี่ยน font อื่น ๆได้ การปรับแต่ง Layout ในการใช้งานค่อนข้างจำกัด ไม่สามารถนำ CSS เข้ามาใช้งานได้

จุดเด่นของ Google Sites มีอะไรบ้าง

จุดเด่นของ Google Sites.
ให้บริการฟรี ไม่เสียค่าใช้จ่าย.
พื้นที่จัดเก็บข้อมูลไม่จำกัด.
มี Gadget มากมาย.
ใช้งานได้ง่าย.

Google G

ข้อดีของการใช้งาน G Suite.
ไม่จำเป็นที่จะต้องลงโปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ใดๆ ให้หนักเครื่อง เพราะบริการ G Suite สามารถใช้งานผ่านเว็บเบราเซอร์ได้ทันที.
ทำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าจะไม่ได้อยู่สถานที่เดียวกัน ทุกคนในองค์กร สามารถแก้ไข เพิ่มเติมงานเอกสารได้แบบเรียลไทม์ ทำให้ทุกคนใช้งานเอกสารที่เป็นเวอร์ชันล่าสุดเสมอ.

Google Site ดีไหม

ประสบการณ์ของผู้ใช้ Google Sites เทียบเท่ากับผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ของ Google อินเตอร์เฟสนั้นดูเรียบง่าย สะอาดตา ไม่ซับซ้อนมากนักและสามารถเชื่อมต่อกับผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ของ Google อย่าง Google Analytics และ AdSense ได้อย่างง่ายดาย – มันเป็นสิ่งที่ควรมีอย่างยิ่งสำหรับเว็บไซต์ในปัจจุบัน และยังมีให้บริการในภาษาไทยอีกด้วย