วิชาสังคมเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง

วิชาสังคมเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง

ประธานสาขาวิชา อาจารย์รัฐวรรณ เทพหัสดิน ณ อยุธยา

ชื่อหลักสูตร 

ภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา

ชื่อย่อ: ค.บ. (สังคมศึกษา)

ชื่อภาษาอังกฤษ: Bachelor of  Education (Social Studies)

ชี่อย่อ: B.Ed. (Social Studies)

จำนวนหน่วยกิตตลอดหลักสูตร: ไม่น้อยกว่า 174 หน่วยกิต

กิจกรรมเสริมหลักสูตร: กิจกรรมวิชาการสังคมศึกษา การศึกษาดูงานนอกสถานที่ 

  กิจกรรมพัฒนาบุคลิกภาพ ฯลฯ

การจัดการศึกษา: เปิดสอนภาคปกติ

ระยะเวลาตลอดหลักสูตร: 5 ปี (10 ภาคการศึกษา - ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูชั้นปีที่ 5 =1 ปี)

ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร: 100,000 บาท (ภาคการศึกษาละ 10,000 บาท)

ตัวอย่างรายวิชาที่เรียน

- ศาสนศึกษา- พุทธปรัชญา

- ประวัติศาสตร์ไทย 1- ประวัติศาสตร์ไทย 2

- ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น- เหตุการณ์โลกปัจจุบัน

- วัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาไทย- ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อสิ่งแวดล้อม

- การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม- การเมืองและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในกลุ่มอาเซียน

- สันติวิธีกับการจัดการความขัดแย้ง- สัมมนาบูรณาการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา

ษนปลายหรือเทียบเท่า เกรดเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 2.00- ผ่านการสอบสัมภาษณ์จากสาขาวิชาสังคมศึกษา

จุดเด่นของหลักสูตร

- เรียนกับคณาจารย์มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในสายสังคมศาสตร์ในกลุ่มวิชาเอก

- มีการเสริมทักษะให้กับนักศึกษาผ่านกิจกรรมวิชาการ การศึกษาดูงานนอกสถานที่ กิจกรรมพัฒนาบุคลิกภาพที่มีความหลากหลาย 

- ฝึกประสบการณ์วิชาชีพในสถานที่ศึกษาที่ได้รับการรับรองจากสภาวิชาชีพครู (คุรุสภา)

จบแล้วทำงานอะไร?

  • ครูสังคมศึกษาในสถานศึกษาสังกัดรัฐบาลและเอกชน บุคลากรทางการศึกษา สถาบันกวดวิชา นักวิชาการอิสระ ฯลฯ

ส่วนหนึ่งของชุดบทความ
วิทยาศาสตร์

รูปนัย

  • คณิตศาสตร์
  • คณิตตรรกศาสตร์

  • สถิติคณิตศาสตร์
  • ทฤษฎีวิทยาการคอมพิวเตอร์

  • ทฤษฎีการตัดสินใจ
  • ทฤษฎีเกม

  • ทฤษฎีระบบ
  • ทฤษฎีระบบควบคุม
  • ทฤษฎีสารสนเทศ

กายภาพ

ฟิสิกส์

  • ดั้งเดิม
  • สมัยใหม่
  • ประยุกต์

  • ทฤษฎี
  • ทดลอง
  • คำนวณ

  • กลศาสตร์

    • (ดั้งเดิม
    • วิเคราะห์
    • ต่อเนื่อง
    • ของไหล
    • ของแข็ง)

  • ทฤษฎีแม่เหล็กไฟฟ้า
  • อุณหพลศาสตร์

  • โมเลกุล
  • อะตอม
  • นิวเคลียร์
  • อนุภาค

  • สสารอัดแน่น
  • พลาสมา

  • กลศาสตร์ควอนตัม (บทนำ)
  • ทฤษฎีสนามควอนตัม

  • ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ
  • ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป

  • ทฤษฎีสตริง
เคมี

  • อนินทรีย์
  • อินทรีย์
  • วิเคราะห์
  • ฟิสิกส์

  • กรด–เบส
  • ซูปราโมเลกุลาร์
  • สถานะของแข็ง
  • นิวเคลียร์
  • สิ่งแวดล้อม
  • ความยั่งยืน ("สีเขียว")

  • ทฤษฎี

  • เคมีดาราศาสตร์
  • ชีวเคมี
  • ผลิกศาสตร์
  • เคมีอาหาร
  • ธรณีเคมี
  • วัสดุศาสตร์
  • เคมีแสง
  • เคมีกัมมันตภาพรังสี
  • สเตอริโอเคมี
  • วิทยาการพื้นผิว

วิทยาศาสตร์โลก

  • ชลธารวิทยา
  • ธรณีฟิสิกส์
  • ธรณีวิทยา
  • ธรณีสัณฐานวิทยา
  • นิเวศวิทยาบรรพกาล
  • ปฐพีวิทยา
  • ปฐพีวิทยาสัมพันธ์
  • ภูมิมาตรศาสตร์
  • ภูมิศาสตร์ (กายภาพ)
  • ภูมิอากาศบรรพกาลวิทยา
  • ภูมิอากาศวิทยา
  • เรณูวิทยา
  • แร่วิทยา
  • วิทยาธารน้ำแข็ง
  • วิทยาภูเขาไฟ
  • วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
  • สมุทรศาสตร์
  • อุตุนิยมวิทยา
  • อุทกวิทยา

ดาราศาสตร์

  • จักรวาลวิทยา
  • ดาราศาสตร์ดาราจักร
  • ดาราศาสตร์ดาวฤกษ์
  • ธรณีวิทยาดาวเคราะห์
  • ฟิสิกส์ดาราศาสตร์
  • วิทยาศาสตร์ดาวเคราะห์

ชีวิต

ชีววิทยา

  • กายวิภาคศาสตร์
  • จุลชีววิทยา
  • ชีวกลศาสตร์
  • ชีวเคมี
  • ชีวดาราศาสตร์
  • ชีวฟิสิกส์
  • ชีวภูมิศาสตร์
  • ชีววิทยาการเจริญ
  • ชีววิทยาการแช่แข็ง
  • ชีววิทยาของเซลล์
  • ชีววิทยาควอนตัม
  • ชีววิทยาเชิงทฤษฎี
  • ชีววิทยาเชิงอนุรักษ์
  • ชีววิทยาวิวัฒนาการ (บทนำ)
  • เทคโนโลยีชีวภาพ
  • นาโนชีววิทยา
  • นิเวศวิทยา
  • บรรพชีวินวิทยา
  • ปรสิตวิทยา
  • ประสาทวิทยาศาสตร์
  • พฤกษศาสตร์
  • พฤติกรรมวิทยา
  • พันธุศาสตร์ (บทนำ)
  • พิษวิทยา
  • มานุษยวิทยาโมเลกุล
  • วิทยาภูมิคุ้มกัน
  • วิศวกรรมชีวภาพ
  • สรีรวิทยา
  • สัตววิทยา
  • อณูชีววิทยา

สังคม

  • การศึกษาวิทยาศาสตร์
  • การสอน
  • ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
  • จิตวิทยา
  • นิติศาสตร์
  • โบราณคดี
  • ประชากรศาสตร์
  • ประวัติศาสตร์
  • เศรษฐศาสตร์
  • ภาษาศาสตร์
  • ภูมิศาสตร์ (มนุษย์)
  • มานุษยวิทยา
  • รัฐศาสตร์
  • สังคมวิทยา
  • อาชญาวิทยา

ประยุกต์

วิศวกรรมศาสตร์

  • การทหาร
  • การบิน
  • การป้องกันอัคคีภัย
  • การวิจัยดำเนินการ
  • เกษตร
  • เคมี
  • เครื่องกล
  • ชีวภาพ
  • ชีวเวช
  • ซอฟต์แวร์
  • นิวเคลียร์
  • ไฟฟ้า
  • พันธุศาสตร์
  • โยธา
  • วิทยาการ / วิศวกรรมคอมพิวเตอร์

  • วิทยาการหุ่นยนต์
  • เว็บ
  • เหมืองแร่
  • อุตสาหการ

การดูแลสุขภาพ

  • แพทยศาสตร์
  • สัตวแพทยศาสตร์
  • ทันตแพทยศาสตร์
  • การผดุงครรภ์
  • วิทยาการระบาด
  • เภสัชกรรม
  • พยาบาลศาสตร์

สหวิทยาการ

  • การป่าไม้
  • การผังเมือง
  • คณิตศาสตร์ชีววิทยา
  • จิตวิทยาวิวัฒนาการ
  • ชาติพันธุ์ศึกษา
  • ชีวจริยธรรม
  • ชีววิทยาสังคม
  • ชีวสถิติ
  • ชีวสารสนเทศศาสตร์
  • ไซเบอร์เนติกส์
  • นิติวิทยาศาสตร์
  • บรรณารักษศาสตร์
  • แบบจำลองทางวิทยาศาสตร์
  • ประชานศาสตร์
  • ปัญญาประดิษฐ์
  • ฟิสิกส์เชิงคณิตศาสตร์
  • ฟิสิกส์ประยุกต์
  • ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์
  • ระบบซับซ้อน
  • วัฒนธรรมศึกษา
  • วิทยาการเครือข่าย
  • วิทยาการเว็บ
  • วิทยาศาสตร์การทหาร
  • วิทยาศาสตร์ระบบ
  • วิทยาศาสตร์ศึกษา
  • วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม
  • วิศวกรรมชีวเวช
  • วิศวกรรมประสาท
  • สถิติ
  • สังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม
  • สัญวิทยา
  • สิ่งแวดล้อมศึกษา

  • ปรัชญา
  • ประวัติศาสตร์

  • การวิจัยพื้นฐาน
  • วิทยาศาสตร์พลเมือง
  • วิทยาศาสตร์ชายขอบ
  • วิทยาศาสตร์ดั้งเดิม
  • วิทยาศาสตร์เทียม
  • เสรีภาพ
  • นโยบาย
  • ระดมทุน
  • ระเบียบวิธี
  • สังคมวิทยา
  • วิทยาศาสตร์เชิงเทคโนโลย

  • เค้าโครง
  • สถานีย่อย
  • หมวดหมู่

สังคมศาสตร์ (อังกฤษ: social science) เป็นหมวดหมู่สำคัญของสาขาทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับสังคมและความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกภายในสังคม สังคมศาสตร์ประกอบด้วยหลายแขนงในสาขาวิชา สาขาทางสังคมศาสตร์ประกอบด้วย การสื่อสารศึกษา จิตวิทยา นิติศาสตร์ โบราณคดี ประวัติศาสตร์ ภาษาศาสตร์ ภูมิศาสตร์มนุษย์ มานุษยวิทยา รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา สาธารณสุข และสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง นิยามของสังคมศาสตร์ในบางช่วงเวลาถูกใช้ในการอ้างเฉพาะถึงสาขาทางสังคมวิทยาหรือคำดั้งเดิมคือ "ศาสตร์แห่งสังคม" ซึ่งเริ่มใช้ในศตวรรษที่ 19 สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมของสาขาย่อยในสังคมศาสตร์ดูเพิ่มที่เติมที่โครงร่างสังคมศาสตร์

นักสังคมศาสตร์เชิงปฏิฐานนิยมใช้ระเบียบวิธีที่ใกล้เคียงกับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติเป็นเครื่องมือในการทำความเข้าใจเกี่ยวกับสังคม และกำหนดนิยามของศาสตร์ภายใต้การรับรู้สมัยใหม่อย่างเคร่งครัด ตรงกันข้ามกับนักสังคมศาสตร์ที่คัดค้านปฏิฐานนิยมอาจใช้การวิพากษ์สังคมหรือตีความเชิงสัญลักษณ์แทนการสร้างทฤษฎีเชิงประจักษ์ที่เป็นเท็จได้และทำให้มีมุมมองของศาสตร์ที่กว้างขึ้น ในการปฏิบัติทางวิชาการสมัยใหม่นักวิจัยมักใช้แนวคิดสรรผสานโดยใช้ระเบียบวิธีหลายวิธี (ตัวอย่างเช่นการมีทั้งการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ) นิยามของ "การวิจัยทางสังคมศาสตร์" ยังได้รับความเป็นเอกเทศจากผู้ที่เกี่ยวข้องเนื่องจากมีความหลากหลายของสาขาวิชาในการแบ่งปันจุดมุ่งหมายและวิธีการในการวิจัย

แขนงวิชา[แก้]

แขนงวิชาหลักในสาขาสังคมศาสตร์ประกอบด้วย

  • การสื่อสารศึกษา ศึกษาการไหลของสารสนเทศผ่านทางสื่อต่าง ๆ
  • จิตวิทยา ศึกษาจิตใจและพฤติกรรมของมนุษย์
  • นิติศาสตร์ ศึกษาเกี่ยวกับข้อกฎหมาย
  • โบราณคดี ศึกษาเรื่องราวในอดีตของมนุษย์ผ่านทางหลักฐานทางโบราณคดี
  • ประวัติศาสตร์ ศึกษาพฤติการณ์ของมนุษย์และความเปลี่ยนแปลงของสังคมในประวัติศาสตร์
  • ภาษาศาสตร์ ศึกษาเกี่ยวกับภาษาทั้งรูปแบบ ที่มา และพัฒนาการของภาษา
  • ภูมิศาสตร์มนุษย์
  • มานุษยวิทยา การศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ในทุกแง่มุม
  • รัฐศาสตร์ ศึกษาการปกครองในระดับกลุ่มและในระดับประเทศ
  • เศรษฐศาสตร์ ศึกษาการผลิตและการจัดสรรทรัพยากรและความมั่งคั่งในสังคม
  • สังคมวิทยา วิเคราะห์สังคมมนุษย์และความสัมพันธ์ของมนุษย์ในสังคม

สังคมศาสตร์ในประเทศไทย[แก้]

วิชาสังคมเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง

มุมมองและกรณีตัวอย่างในบทความนี้อาจไม่ได้แสดงถึงมุมมองที่เป็นสากลของเรื่อง คุณสามารถช่วยแก้ไขบทความนี้ โดยเพิ่มมุมมองสากลให้มากขึ้น หรือแยกประเด็นย่อยไปสร้างเป็นบทความใหม่ (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)

สถานะของสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ในวงการอุดมศึกษาไทยปัจจุบันค่อนข้างถูกละเลยความสำคัญ สาขาวิชาทางด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ในสถาบันอุดมศึกษาบางแห่งถูกลดสถานะลง หรือได้รับความสนใจจากนิสิตนักศึกษาน้อยลง เนื่องจากเป็นแขนงวิชาที่ถูกมองว่าไม่ตอบสนองโดยตรงต่อต่อความต้องการของตลาดแรงงานและภาคธุรกิจ และการนโยบายการพัฒนาประเทศที่มุ่งเน้นแต่ความสำคัญของสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี[1]

ดูเพิ่ม[แก้]

ทั่วไป[แก้]

  • สังคม
  • วัฒนธรรม
  • มนุษยศาสตร์

ระเบียบวิธี[แก้]

  • ระเบียบวิธีแบบวิทยาศาสตร์
  • สหสัมพันธ์

ขอบเขต[แก้]

  • รัฐศาสตร์
  • วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ
  • พฤติกรรมศาสตร์

รายการ[แก้]

  • ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์
  • รายการสาขาวิชา

บุคคล[แก้]

  • แอริสตอเติล
  • เพลโต
  • ขงจื๊อ
  • ออกัสตินแห่งฮิปโป
  • นิกโกเลาะ มาเกียเวลลี
  • เอมีล ดูร์กายม์
  • มักซ์ เวเบอร์
  • คาร์ล มากซ์
  • ฟรีดริช เอ็งเงิลส์
  • อดัม สมิธ
  • จอห์น เมย์นาร์ด เคนส์
  • มิลตัน ฟรีดแมน
  • ซิกมุนด์ ฟรอยด์
  • ฌ็อง ปียาแฌ
  • โนม ชอมสกี
  • โทมัส ฮอบส์
  • ฌ็อง-ฌัก รูโซ
  • มงแต็สกีเยอ
  • จอห์น ล็อก
  • เดวิด ฮูม

อื่น ๆ[แก้]

  • พฤติกรรม
  • พฤติกรรมวิทยาและชาติพันธุ์วิทยา
  • ทฤษฎีเกม

อ้างอิง[แก้]

  1. เยี่ยมยุทธ สุทธิฉายา. “‘มนุษยศาสตร์’ วิชาที่กำลังจะสูญหาย? จำเป็นอยู่ไหม เมื่อตลาดไม่ต้องการ.”ประชาไท (29 สิงหาคม 2561).

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

สังคมศาสตร์ ที่โครงการพี่น้องของวิกิพีเดีย

  • วิชาสังคมเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง
    หาความหมาย จากวิกิพจนานุกรม
  • วิชาสังคมเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง
    ภาพและสื่อ จากคอมมอนส์
  • วิชาสังคมเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง
    เนื้อหาข่าว จากวิกิข่าว
  • วิชาสังคมเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง
    คำคม จากวิกิคำคม
  • วิชาสังคมเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง
    ข้อมูลต้นฉบับ จากวิกิซอร์ซ
  • วิชาสังคมเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง
    หนังสือ จากวิกิตำรา
  • วิชาสังคมเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง
    แหล่งเรียนรู้ จากวิกิวิทยาลัย
  • วิชาสังคมเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง
    ข้อมูล จากวิกิสนเทศ

  • Institute for Comparative Research in Human and Social Sciences (ICR) (ญี่ปุ่น)
  • Centre for Social Work Research
  • Family Therapy and Systemic Research Centre Archived 2011-07-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • International Conference on Social Sciences
  • International Social Science Council
  • Introduction to Hutchinson et al., There's No Such Thing as a Social Science
  • Intute: Social Sciences (UK)
  • Social Science Research Society Archived 2011-07-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • Social Science Virtual Library
  • Social Science Virtual Library: Canaktanweb (Turkish)
  • Social Sciences And Humanities Archived 2009-08-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • UC Berkeley Experimental Social Science Laboratory
  • The Dialectic of Social Science by Paul A. Baran
  • American Academy Commission on the Humanities and Social Sciences Archived 2017-05-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • Social Phenomena Archived 2016-03-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน by Teng Wang

สังคมศาสตร์

สาขาหลัก

  • มานุษยวิทยา
    • โบราณคดี
    • วัฒนธรรม
    • ภาษาศาสตร์
    • สังคม
  • เศรษฐศาสตร์
    • เศรษฐศาสตร์จุลภาค
    • เศรษฐศาสตร์มหภาค
  • ภูมิศาสตร์
    • มนุษย์
    • สิ่งแวดล้อม
  • ประวัติศาสตร์
    • วัฒนธรรม
    • เศรษฐกิจ
    • การเมือง
    • สังคม
  • กฎหมาย
    • นิติศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์กฎหมาย
    • ระบบกฎหมาย
  • รัฐศาสตร์
    • ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
    • การเลือกตั้ง
    • การบริหารรัฐกิจ
    • นโยบายสาธารณะ
  • จิตวิทยา
    • อปกติ
    • ชีวภาพ
    • การรู้คิด
    • พัฒนาการ
    • บุคลิกภาพ
    • สังคม
  • สังคมวิทยา
    • อาชญาวิทยา
    • ประชากรศาสตร์
    • อินเทอร์เน็ต
    • ชนบท
    • เมือง

สหวิทยาการ

  • มานุษยสัตววิทยา
  • อาณาบริเวณศึกษา
  • ธุรกิจศึกษา
  • ประชานศาสตร์
  • การสื่อสารศึกษา
  • ชุมชนศึกษา
  • วัฒนธรรมศึกษา
  • พัฒนศึกษา
  • การศึกษา
  • สิ่งแวดล้อม
    • สังคมศาสตร์
    • ศึกษา
  • อาหารศึกษา
  • เพศศึกษา
  • โลกศึกษา
  • ประวัติศาสตร์ของเทคโนโลยี
  • วิทยาการสารสนเทศ
  • การศึกษาระหว่างประเทศ
  • สื่อศึกษา
  • ปรัชญาวิทยาศาสตร์
    • เศรษฐศาสตร์
    • ประวัติศาสตร์
    • จิตวิทยา
    • สังคมศาสตร์
  • การวางแผน
    • การใช้ที่ดิน
    • ภาค
    • เมือง
  • นิเวศวิทยาการเมือง
  • เศรษฐศาสตร์การเมือง
  • สาธารณสุข
  • วิทยาศาสตร์ภูมิภาค
  • วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสังคม
  • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา
  • วิทยาศาสตร์ศึกษา
    • ประวัติศาสตร์
  • สังคมสงเคราะห์

อื่น ๆ

  • มนุษยศาสตร์
  • Geisteswissenschaft
  • วิทยาศาสตร์มนุษย์

วิชาสังคมเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง
บทความเกี่ยวกับวิชา ความรู้ และศาสตร์ต่าง ๆ นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล

วิชาสังคม เรียนอะไรบ้าง

สังคมศึกษา (อังกฤษ: Social Studies) เป็นศาสตร์บูรณาการทางด้านสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ รวมทั้งประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์และศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยนักการศึกษาชาวอเมริกันเป็นผู้คิดค้นและให้นิยามของสังคมศึกษาเป็นครั้งแรกในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ซึ่งมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยว ...

นักเรียนจะเรียนวิชาสังคมศึกษา เพื่ออะไร

วิชาสังคมศึกษา มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอิทธิพล ของสภาพแวดล้อมที่มีต่อการดารงชีวิต เป็นการเตรียมให้เยาวชนของชาติเป็นพลเมืองที่มี ประสิทธิภาพ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการวิเคราะห์ปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที่ เกี่ยวข้องกับชีวิตประจําวัน TL 333 3 Page 2 เพื่อให้มีความรู้ มีทักษะ มีความรับผิดชอบ ...

สาระสังคมศึกษาคืออะไร

สังคมศึกษาเป็นศาสตร์บูรณาการด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ประกอบด้วยวิชาสำคัญคือประวัติศาสตร์ ศีลธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ และภูมิศาสตร์ สังคมศึกษามีเป้าหมายสำคัญที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ พลเมืองที่มีลักษณะหลายระดับ ประกอบด้วยการเป็นพลเมืองของท้องถิ่น พลเมืองไทย พลเมืองอาเซียน พลเมืองโลก และ ...

ประโยชน์ของวิชาสังคมมีอะไรบ้าง

สาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เป็นวิชาที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วยเรื่อง ราวเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม การดำเนินชีวิต รวมถึงศาสนา ศีลธรรม และจริยธรรม วิชาสังคมศึกษาจึงช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจว่ามนุษย์ดำรงชีวิตอย่างไร และเข้าใจถึง ...