สารประกอบฟีนอลิก มีอะไรบ้าง

ชื่อเรื่อง

สารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด สมบัติการต้านอนุมูลอิสระ และการต้านจุลินทรีย์ของเปลือกผลไม้

Article title

Total phenolics, radical scavenging capacity and antimicrobial property of fruit peels

ชื่อหนังสือ

เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46: สาขาอุตสาหกรรมเกษตร

Book Title

Proceedings of 46th Kasetsart University Annual Conference: Agro-Industry

ประเภทเอกสาร

บทความในหนังสือ

หน่วยงานจัดพิมพ์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ชื่อการประชุม

การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46

วันที่ประชุม

29 ม.ค. - 1 ก.พ. 2551

หมวดหลัก

Q01-วิทยาศาสตร์การอาหาร

หมวดรอง

Q04-องค์ประกอบอาหาร

อรรถาภิธาน-ไทย

เปลือก;มังคุด;กล้วย;Durio zibethinus;Aglaia;มะละกอ;ส้มเขียวหวาน;สับปะรด;ปริมาณสารฟีนอลิค;สารยับยั้งการรวมตัวของออกซิเจน;อนุมูลอิสระ;คุณสมบัติของยาต้านจุลชีพ;เชื้อรา;การยับยั้ง

อรรถาภิธาน-อังกฤษ

Peel;Mangosteen;Bananas;Durio zibethinus;Aglaia;Papayas;Tangerines;Pineapples;Phenolic content;Antioxidants;Free radicals;Antimicrobial properties;Fungi;Inhibition

ดรรชนี-ไทย

เปลือกผลไม้;มังคุด;มะม่วง;กล้วยหอม;ทุเรียน;ลองกอง;มะละกอ;ส้ม;สับปะรด;สารประกอบฟีนอลิก;สารประกอบฟลาโวนอยด์;การต้านอนุมูลอิสระ;การต้านจุลินทรีย์;เชื้อรา;การยับยั้งการเจริญ

ดรรชนี-อังกฤษ

Fruit peels

บทคัดย่อ

จากการศึกษาสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด สมบัติการต้านอนุมูลอิสระและการต้านจุลินทรีย์ของสารสกัดจากเปลือกผลไม้ 8 ชนิด ได้แก่ มังคุด มะม่วง กล้วยหอม ทุเรียน ลองกอง มะละกอ ส้ม และสับปะรด พบว่าเปลือกมังคุด และเปลือกมะม่วงมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด และสมบัติการต้านอนุมูลอิสระ 2, 2-Diphenly-1-picrylhydrazyl (DPPH) และอนุมูลอิสระ 2, 2'-azobis (3-ethylbenzthiazoline-6-sulfonic acid) diammonium salt (ABTS) สูงกว่าเปลือกผลไม้ชนิดอื่น นอกจากนี้ยังพบว่าเปลือกมังคุดยังมีสารประกอบฟลาโวนอยด์สูงสุดเมื่อเทียบกับตัวอย่างเปลือกผลไม้ที่ทำการศึกษา เมื่อทดสอบสมบัติการต้านจุลินทรีย์พบว่า เปลือกมังคุดและเปลือกมะม่วงมีประสิทธิภาพในการต้านจุลินทรีย์สูงกว่าเปลือกผลไม้ชนิดอื่น และเปลือกผลไม้ที่ได้ทำการทดลองส่วนใหญ่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียแกรมบวกได้ดีกว่าแกรมลบ อีกทั้งยังพบว่าเปลือกมังคุดยังมีสมบัติในการยับยั้งการเจริญเติบโตของรา Aspergillus flavus นอกจากนี้วิธีการเตรียมตัวอย่าง (การทำแห้งแบบแช่แข็ง และการเตรียมในรูปแบบเส้นใย) ส่งผลต่อปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด ปริมาณสารประกอบฟลาโวนอยด์ทั้งหมด สมบัติการต้านอนุมูลอิสระ DPPH และABTS และ สมบัติการต้านจุลินทรีย์ ขึ้นอยู่กับชนิดของเปลือกผลไม้

Abstract

Total phenolics, antioxidant and antimicrobial capacity of eight fruit peels, including mangosteen, mango, banana, durian, longgong, papaya, orange and pineapple were investigated. The results showed that mangosteen and mango peels had highest total phenolic content, 2,2-Diphenly-1-picrylhydrazyl (DPPH) and 2, 2'-azobis (3-ethylbenzthiazoline-6-sulfonic acid) diammonium salt (ABTS) radical scavenging activity. Among fruit peels used in this study, mangosteen peels also had high content of flavonoids compounds. The results from the antimicrobial study showed that mangosteen and mango peels also had higher antimicrobial capacity than other fruit peels. Gram-positive microorganism were more sensitive to the studied fruit peel extracts than Gram-negative microorganism. Mangosteen peel extract also had Aspergillus flavus inhibition property. Preparation methods of sample (freeze dried or fiber form) affects total phenolic content, total flavonoid content, DPPH and ABTS radical scavenging and antimicrobial depending on types of fruit peels.

ผู้แต่ง (สังกัด)

[1] พงศธร ล้อสุวรรณ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะอุตสาหกรรมเกษตร ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)
[2] จิตศิริ ราชตนะพันธุ์ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะอุตสาหกรรมเกษตร ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)
[3] ศศิธร จันทนวรางกูร (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน คณะอุตสาหกรรมเกษตร ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร)

Authors (สังกัด)

[1] Pongsatone Lorsuwan (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Agro-Industry. Department of Food Science and Technology)
[2] Chitsiri Rachtanapun (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Agro-Industry. Department of Food Science and Technology)
[3] Sasitorn Chantanawarangoon (Kasetsart University. Bangkhen Campus, Bangkok (Thailand). Faculty of Agro-Industry. Department of Food Science and Technology)

APA


พงศธร ล้อสุวรรณ, จิตศิริ ราชตนะพันธุ์ และ ศศิธร จันทนวรางกูร. (2551). สารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด สมบัติการต้านอนุมูลอิสระ และการต้านจุลินทรีย์ของเปลือกผลไม้. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46: สาขาอุตสาหกรรมเกษตร. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46. (หน้า 554-561). สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.


Pongsatone Lorsuwan, Chitsiri Rachtanapun & Sasitorn Chantanawarangoon. (2008). Total phenolics, radical scavenging capacity and antimicrobial property of fruit peels. Proceedings of 46th Kasetsart University Annual Conference: Agro-Industry. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46. (หน้า 554-561). The Thailand Research Fund, Bangkok (Thailand).

Chicago


พงศธร ล้อสุวรรณ, จิตศิริ ราชตนะพันธุ์ และ ศศิธร จันทนวรางกูร. "สารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด สมบัติการต้านอนุมูลอิสระ และการต้านจุลินทรีย์ของเปลือกผลไม้." ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46, กรุงเทพฯ, 29 ม.ค. - 1 ก.พ. 2551, หน้า 554-561. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2551.


Pongsatone Lorsuwan, Chitsiri Rachtanapun & Sasitorn Chantanawarangoon. "Total phenolics, radical scavenging capacity and antimicrobial property of fruit peels.". ใน: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46, กรุงเทพฯ, 29 ม.ค. - 1 ก.พ. 2551, หน้า 554-561. Bangkok (Thailand): The Thailand Research Fund, Bangkok (Thailand), 2008.

MLA


พงศธร ล้อสุวรรณ, จิตศิริ ราชตนะพันธุ์ และ ศศิธร จันทนวรางกูร. "สารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด สมบัติการต้านอนุมูลอิสระ และการต้านจุลินทรีย์ของเปลือกผลไม้." ใน การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46, กรุงเทพฯ, 29 ม.ค. - 1 ก.พ. 2551, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2551. หน้า 554-561.


Pongsatone Lorsuwan, Chitsiri Rachtanapun & Sasitorn Chantanawarangoon. "Total phenolics, radical scavenging capacity and antimicrobial property of fruit peels." In การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46, กรุงเทพฯ, 29 ม.ค. - 1 ก.พ. 2551, The Thailand Research Fund, Bangkok (Thailand), 2008. หน้า 554-561.

Vancouver


พงศธร ล้อสุวรรณ, จิตศิริ ราชตนะพันธุ์ และ ศศิธร จันทนวรางกูร. สารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด สมบัติการต้านอนุมูลอิสระ และการต้านจุลินทรีย์ของเปลือกผลไม้. ใน: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46; 29 ม.ค. - 1 ก.พ. 2551; กรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย; 2551. หน้า 554-561


Pongsatone Lorsuwan, Chitsiri Rachtanapun & Sasitorn Chantanawarangoon. Total phenolics, radical scavenging capacity and antimicrobial property of fruit peels. In: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46; 29 ม.ค. - 1 ก.พ. 2551; กรุงเทพฯ. Bangkok (Thailand): The Thailand Research Fund, Bangkok (Thailand); 2008. pp. หน้า 554-561

จำนวนการเข้าชมและการดาวน์โหลด

จำนวนผู้เข้าชม
2,447
วันนี้2
สัปดาห์นี้17
เดือนนี้75

จำนวนดาวน์โหลด
804
วันนี้2
สัปดาห์นี้8
เดือนนี้29

Cited by Google Scholar
-

สารประกอบฟีนอลิก คืออะไร

สารประกอบฟีนอลิก (phenolic) จัดเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ (antioxidant) ชนิดหนึ่งที่สามารถพบได้ตามธรรมชาติในพืชหลากหลายชนิด โดยการทำงานของสารต้านอนุมูลอิสระนั้นอาจเป็นได้หลายแบบ เช่น การลดพลังงานของสารอนุมูลอิสระ การขัดขวางและการหยุดปฏิกิริยาลูกโซ่ เป็นต้น โมเลกุลของสารต้านอนุมูลอิสระจะเข้าไปทำปฏิกิริยาด้วยการให้อิเล็กตรอน ...

สารประกอบฟีนอลมีคุณสมบัติอะไรบ้สง

สมบัติทางกายภาพ 1. เป็นของแข็ง ส่วนใหญ่ไม่ละลายนํา แต่บางชนิด ละลายนําได้เช่น ฟีนอล 2. เป็นสารไม่มีสี 3. ถูกออกซิไดส์ได้ง่าย 4. เป็นกรดอ่อน ละลายได้ใน NaOH, Na2CO3 แต่ไม่ ละลายใน NaHCO3 5. มีจุดเดือดสูง 8. เกลือของฟีนอล

ผลไม้ชนิดใดที่มีสารฟีนอลิกเยอะ

จากการศึกษาสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด สมบัติการต้านอนุมูลอิสระและการต้านจุลินทรีย์ของสารสกัดจากเปลือกผลไม้ 8 ชนิด ได้แก่ มังคุด มะม่วง กล้วยหอม ทุเรียน ลองกอง มะละกอ ส้ม และสับปะรด พบว่าเปลือกมังคุด และเปลือกมะม่วงมีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด และสมบัติการต้านอนุมูลอิสระ 2, 2-Diphenly-1-picrylhydrazyl (DPPH) และอนุมูล ...

ฟีนอล ผลิตจากอะไร

ฟีนอลถูกสกัดจากถ่านหินเป็นครั้งแรก แต่ปัจจุบันมีการผลิตจากปิโตรเลียมในปริมาณมาก (ประมาณ 7 พันล้านกิโลกรัมต่อปี) ฟีนอลเป็นสินค้าอุตสาหกรรมที่สำคัญเนื่องจากเป็นสารตั้งต้นของสารหลายชนิดและสารประกอบที่เป็นประโยชน์ การใช้หลักของฟีนอลคือใช้ในการสังเคราะห์พลาสติกและวัสดุที่เกี่ยวข้อง ฟีนอลและอนุพันธ์ทางเคมีเป็นสิ่งจำเป็น ...