ประโยชน์ ของกราฟิก ใน ชีวิต ประ จํา วัน

ศึกษาความหมายของคอมพิวเตอร์กราฟิก คุณลักษณะของระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กับงานกราฟิก ประเภทของภาพกราฟิก โหมดสีที่ใช้ในงานกราฟิก คุณสมบัติ ของโปรแกรม Adobe Photoshop รู้จักแถบเครื่องมือออปชั่นและพาเนลต่าง ๆ ที่สำคัญในใช้งานพื้นฐานของโปรแกรม การนำภาพกราฟิกมาใช้ การสร้าง Selection การใช้เลเยอร์ การใช้รูปทรง การใช้สี การวาดภาพ สร้างตัวอักษรและข้อความ การปรับแต่งข้อความด้วย Layer Style การปรับแต่งสีและแสงเงาของรูปภาพ การตกแต่งแก้ไขภาพ การตกแต่งภาพด้วยเครื่องมือ Healing Brush ใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ รวมถึงคำสั่งที่สำคัญในการออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิกในโปรแกรม Adobe Photoshop ได้อย่างชำนาญ การนำภาพจากแหล่งภาพต่างๆ มาสร้างสรรค์งานกราฟิกให้มีจินตนาการตามความคิดริเริ่มของตนเอง นำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์งานต่าง ๆ

โดยใช้ทักษะกระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสร้างค่านิยม กระบวนการกลุ่ม ทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการทะงานร่วมกัน ทักษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการจัดการ กระบวนการแก้ปัญหา

จะเห็นได้ว่าแทบทุกวงการ  สามารถนำคอมพิวเตอร์กราฟิกไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ทั้งสิ้น  ไม่เว้นแม้แต่ธุรกิจที่ผิดกฎหมาย  เช่น  เว็บไซต์ภาพลามก  อนาจาร  ดังนั้นหลังจากที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกแล้ว  ควรใช้ความรู้เหล่านี้ในเชิงสร้างสรรค์ในสิ่งที่ดีงาม ละเว้นสิ่งผิดกฎหมายหรือผิดศีลธรรม  อันจะช่วยทำให้ภาพพจน์และบทบาทของคอมพิวเตอร์กราฟิกต่อสังคมมีแต่แง่ดีและเจริญรุ่งเรือง  ส่วนคุณค่าของคอมพิวเตอร์กราฟิกนั้นสามารถอ่านเพิ่มเติมได้

ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทในเรื่องต่าง ๆ เป็นอย่างมาก คอมพิวเตอร์ เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน ในสถาบันการศึกษามีการนำเอาคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการเรียนการสอนในสถานศึกษา โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก ซึ่งเหมาะสมกับการใช้งานออกแบบ จึงควรจะต้องเรียนรู้และนำมาใช้ในการเขียนแบบออกแบบงานสถาปัตยกรรม และงานตกแต่งภายใน เทคนิคการออกแบบและการนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์จึงเป็นที่นิยม และเพิ่มปริมาณการใช้ขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ชนิดพกพา เป็นความจำเป็นอย่างยิ่งที่นักออกแบบต้องมีความรู้ในเรื่องโปรแกรมสำเร็จรูปเกี่ยวกับงานออกแบบตกแต่งภายในและต้องมีทักษะในการใช้ออกแบบเพื่อนำไปออกแบบ และนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานคอมพิวเตอร์กราฟิกเข้ามามีบทบาทอย่างมากในทางการตลาด สามารถนำเสนองานให้เห็นเหมือนกับของจริงที่ยังไม่ได้ดำเนินการ เป็นการชักจูงโน้มน้าวการตัดสินใจในการซื้อของลูกค้าเป็นอย่างดีทำให้ลูกค้าตัดสินใจได้รวดเร็ว

ระยะช่วงสมัยที่เรียกว่าเป็นยุคดิจิตัล (Digital) เครื่องมืออุปกรณ์อีเลกทรอนิกส์สมัยใหม่ คือ คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันเป็นอย่างมาก คอมพิวเตอร์ที่นำเข้ามาในการเรียนการสอนวิชาศิลปะจะเป็นคอมพิวเตอร์กราฟิก ซึ่งเหมาะสมกับการใช้งานในการสร้างงานศิลปกรรม คอมพิวเตอร์กราฟิก หมายถึง การเขียนภาพ หรือสร้างภาพโดยใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก เป็นข้อมูลที่แสดงในรูปของ เส้นกราฟ แผนภาพ แผนภูมิ รูปภาพ ซึ่งเป็นที่นิยมใช้ในปัจจุบันเนื่องจากมีความสะดวกรวดเร็วในการนำเสนอ และแก้ไขงานได้ทันที บุคลากรทุกหน่วยงานไม่ว่าเป็นภาครัฐหรือภาคเอกชน นิยมใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกในงานศิลปกรรมเป็นส่วนมาก ทำให้การพัฒนางานด้านคอมพิวเตอร์กราฟิกเติบโตใช้ในธุรกิจโฆษณาและวงการภาพยนตร์อย่างแพร่หลาย ภาพเคลื่อนไหว(Animation) คอมพิวเตอร์กราฟิกเริ่มมีมาตั้งแต่ ค.ศ.1940 โดยรูปภาพที่ได้เกิดจากการนำเอาตัวอักษรมาประกอบกันเป็นรูปภาพ ต่อมา ปี ค.ศ. 1950 สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซานซูเซตส์ (MIT) ได้คิดพัฒนาหลอดภาพ CRT (Cathode Ray Tube) ขึ้นใช้เป็นส่วนแสดงผลแทนเครื่องพิมพ์ เนื่องจากต้องการให้มีความรวดเร็วมากขึ้น ในขณะที่กองทัพอากาศสหรัฐอเมริกาใช้ระบบ SAGE แปลงสัญญาณจากเรดาร์ให้เป็นภาพบนจอคอมพิวเตอร์ และเป็นครั้งแรกที่ใช้ปากกาแสง ต่อมาในปี ค.ศ.1963 อีวาน ซูเธอร์แลนด์ (Ivan Sutherland). ได้ทำปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต ใช้ปากกาแสงกำหนดจุดบนจอภาพแทนระบบการวาดเส้น และเชื่อมโยงจุดต่างๆกลายเป็นโครงสร้างภาพรูปหลายเหลี่ยมเป็นพื้นฐานการออกแบบระบบงาน การออกแบบระบบไฟฟ้า และการออกแบบเครื่องจักร

ในปี ค.ศ. 1968 บริษัทเทคโทรนิกซ์ (Tectronix) ได้ผลิตจอภาพแบบใหม่ขึ้น และมีราคาถูกลงกว่าเดิมมาก จากราคาเดิมราคาเครื่องละ 100,000 ดอลลาร์ ในขณะที่เครื่องแบบใหม่ราคา15,000 ดอลลาร์ ในปีค.ศ.1970 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มีราคาถูกลงมาก ทำให้คอมพิวเตอร์กราฟิกแพร่หลายอย่างรวดเร็ว ซอฟต์แวร์ทางด้านกราฟิกมีการพัฒนาควบคู่มากับฮาร์ดแวร์อย่างต่อเนื่อง ควบคู่กันมาจากการเริ่มต้นปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิตของ อีวาน ซูเธอร์แลนด์(Ivan Sutherland) มีการพัฒนาซอฟต์แวร์ควบคู่กับฮาร์ดแวร์มาอย่างต่อเนื่อง สตีเฟน คูนส์ (Steven Coons) และ ปิแอร์ เบเซอร์ (Pieere Bazier) ได้พัฒนาซอฟต์แวร์สร้างการเขียนเส้นโค้ง และพื้นผิวภาพ ทำให้สามารถสร้างภาพ 3 มิติได้สมจริง ในปัจจุบันได้พัฒนาการเขียนรูปได้เหมือนจริงมากขึ้นและทำให้ภาพเคลื่อนไหวเหมือนจริง ซึ่งนำไปใช้ประโยชน์ได้มาก เช่น ในด้านการค้า การอุตสาหกรรม การศึกษา การฝึกอบรม การจำลองสถานการณ์ การนำเสนอภาพทัศนียภาพในการออกแบบงานสถาปัตยกรรม หรืองานออกแบบตกแต่งภายใน โปรแกรมพื้นฐานที่นักออกแบบทุกคนจะต้องเรียนรู้ในการสร้างงานกราฟิกมี 2 ชนิด คือ โปรแกรมประเภทวาดภาพ

�س��Ңͧ�ҹ��ҿԡ
�ҹ��ҿԡ���ըӷ������繶֧�����Դ㹡���͡Ẻ������ �����Է�Ծ�ⴹ�ç����������Ǽ���Ѻ������ ����Դ����ʹ� �������Ѻ 㹢�����ǡѹ�ѧ�ʴ��֧
1. �����͡�ҧ㹡�����ͤ�����������Դ������㨵ç�ѹ
2. ����ö��˹�ҷ�������� ��������Դ������¹��� �Դ����֡�ҡѺ��������������
3. �������ҹ�Դ�������ʹ� ��зѺ� ���龺���
4. ��������Դ��á�е�鹷ҧ�����Դ ��С�õѴ�Թ������ҧ�Ǵ����
5. �������Դ�����ԡ���ҧ��ä�
6. �����龺����Դ�������¹�ŧ�ĵԡ�����駷ҧ��ҹ��á�з���Ф����Դ
ประโยชน์ ของกราฟิก ใน ชีวิต ประ จํา วัน

ประโยชน์ของงานกราฟิก มีอะไรบ้าง

คุณค่าของงานกราฟิก.
เป็นสื่อกลางในการสื่อความหมายให้เกิดการเข้าใจตรงกัน.
สามารถทำหน้าที่เป็นสื่อ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ เกิดการศึกษากับกลุ่มเป้าหมายได้.
ช่วยให้งานเกิดความน่าสนใจ ประทับใจ แก่ผู้พบเห็น.
ช่วยให้เกิดการกระตุ้นทางความคิด และการตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว.
ก่อให้เกิดความคิกสร้างสรรค์.

ประโยชน์ของ Computer Graphic คือข้อใด

คอมพิวเตอร์กราฟิกถูกนามาใช้ในการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของข้อมูล ได้เป็นอย่างดีโปรแกรมทางกราฟิกทั่วไปในท้องตลาดจะเป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างภาพ กราฟและแผนภาพ โปรแกรมเหล่านี้ยังสามารถสร้างกราฟได้หลายแบบ เช่น กราฟเส้น กราฟแท่ง และกราฟวงกลม นอกจากนี้ยังสามารถแสดงภาพกราฟได้ทั้งในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ

โปรแกรมกราฟิกนิยมใช้ประโยชน์ในเรื่องใดมากที่สุด

โปรแกรมสำหรับกราฟฟิกถือเป็นโปรแกรมที่สำคัญมากของผู้ที่ทำงานเกี่ยวกับ ภาพถ่าย นักออกแบบ นักดีไซน์ นักทำโฆษณา สถาปนิค และอาชีพอื่นๆ เพราะการจะสร้างชิ้นงานหนึ่งชิ้นให้มีความสวยงาม เหมือนจริง น่าสนใจ ดึงดูดลูกค้า จำต้องมีการออกแบบ การคิด การวิเคราะห์ที่ดี และอีกอย่างคือเครื่องมือที่ใช้ นั้นก็คือโปรแกรมกราฟฟิกต่างๆ ในบทความ ...

คอมพิวเตอร์กราฟิกมีประโยชน์ต่อผู้เรียนด้านใดมากที่สุด

กราฟิกช่วยให้จดจำได้มากขึ้น การเริ่มต้นรับรู้ของเด็กวัยแรกเกิด มักจะเรียนรู้โดยเริ่มจากการจดจำรูปภาพ หรือสีสัน เหตุผลเดียวกันนี้จึงส่งผลให้มนุษย์ มักจะจดจำภาพได้ดีกว่าข้อความหรือตัวหนังสือ การสื่อด้วยภาพหรือกราฟิกต่างๆ จึงมีความสำคัญมาก ดังนั้นกราฟิกจึงพัฒนาเพื่อตอบสนองการรับรู้และความคิดของมนุษย์ กราฟิกเข้าใจง่าย