ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

เกี่ยวกับร้านฟาสซิโน

จำหน่ายสินค้าประเภทอุปกรณ์ผู้ป่วย เครื่องมือแพทย์ เวชภัณฑ์ และอาหารเสริมทุกชนิด จากแหล่งคุณภาพต่างๆ เพราะการมีสุขภาพที่ดีเป็นสิ่งสำคัญ สำหรับทุกช่วงวัย

Show

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช
02-1116999

เวลาทำการ
วันจันทร์ -วันศุกร์ เวลา 8.00 - 20.00 น.
วันเสาร์ - วันอาทิตย์ เวลา 10.00 - 20.00 น.

เกี่ยวกับร้านฟาสซิโน

จำหน่ายสินค้าประเภทอุปกรณ์ผู้ป่วย เครื่องมือแพทย์ เวชภัณฑ์ และอาหารเสริมทุกชนิด จากแหล่งคุณภาพต่างๆ เพราะการมีสุขภาพที่ดีเป็นสิ่งสำคัญ สำหรับทุกช่วงวัย

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช
02-1116999

เวลาทำการ
วันจันทร์ -วันศุกร์ เวลา 8.00 - 20.00 น.
วันเสาร์ - วันอาทิตย์ เวลา 10.00 - 20.00 น.

ขายยาออนไลน์

               เนื่องจากปัจจุบันมีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมากขึ้น ทำให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลออนไลน์ได้ง่าย สื่อออนไลน์จึงถูกนำมาใช้ประโยชน์กับธุรกิจหลายประเภท เพราะว่า ใช้งบประมาณน้อย ไม่สิ้นเปลือง และสามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ดี รวมถึงในธุรกิจด้านยาและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ เช่น การโฆษณาและขายยาออนไลน์ เป็นต้น ในอีกทางหนึ่งก็มาพร้อมกับการนำสื่อออนไลน์มาใช้ในทางที่ผิด ผู้บริโภคจึงต้องมีความระมัดระวัง การซื้อยาออนไลน์ ผ่านอินเทอร์เน็ตมีความเสี่ยง อาจทำให้ได้รับผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพมาตรฐาน โดยผลิตภัณฑ์ยา อาหาร เครื่องสำอาง มักเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีปัญหา และได้รับข้อร้องเรียน เช่น ใช้แล้วไม่เห็นผล เสียเงินโดยไม่คุ้มค่า ได้รับอันตรายจากสินค้า โฆษณาหลอกลวง เป็นต้น ที่สำคัญคือ การขายยาออนไลน์ผ่านทางอินเทอร์เน็ตถือว่าผิดกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 มีข้อกำหนดชัดเจนเรื่องสถานที่ขายยาว่า ต้องไม่ขายนอกสถานที่ที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต ตามมาตราที่ 19 เพราะยาไม่ใช่สินค้าทั่วไป การซื้อจึงต้องได้รับคำแนะนำที่ถูกต้องจากผู้ปฏิบัติวิชาชีพโดยตรง การขายในอินเทอร์เน็ตจึงเป็นการขายนอกสถานที่ที่อนุญาต ยกเว้นยาสามัญประจำบ้าน ที่ไม่ต้องขออนุญาตขายซึ่งสามารถขายได้ในร้านทั่วไป การขายยาผ่านทางอินเทอร์เน็ตผิดกฎหมาย ตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 มีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท และอาจจะมีความผิดฐานโฆษณาด้วย เครื่องสำอางหรืออาหารเสริมยังไม่มีกฎหมายห้ามขายผ่านอินเทอร์เน็ต แต่ผู้บริโภค ต้องใช้ความระวังในการเลือกซื้อ เพราะมักพบกรณีการโฆษณาอวดอ้างเกินจริง การแสดงฉลาก ไม่ถูกต้อง การเติมสารปลอมปน ผู้บริโภคต้องร่วมมือกันไม่สนับสนุนผู้กระทำผิดกฎหมาย ต้องช่วยกันในการแจ้งเบาะแสได้ที่ สายด่วน อย. 1556 และไม่สนับสนุนการขายผลิตภัณฑ์สุขภาพออนไลน์ที่ผิดกฎหมายเหล่านี้เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค

พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

“ยา” คำจำกัดความตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “ยา” หมายความว่า

(1) วัตถุที่รับรองไว้ในตำรายาที่รัฐมนตรีประกาศ

(2) วัตถุที่มุ่งหมายสำหรับใช้ในการวินิจฉัย บำบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค หรือความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์

(3) วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์ หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป หรือ

(4) วัตถุที่มุ่งหมายให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง หรือการกระทำหน้าที่ใด ๆ ของร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์

“ขาย” หมายความว่า ขายปลีก ขายส่ง จำหน่าย จ่าย แจก แลกเปลี่ยนเพื่อประโยชน์ในทางการค้า และให้หมายความรวมถึงการมีไว้เพื่อขายด้วย

หน้าที่ของผู้รับอนุญาตเกี่ยวกับยาแผนปัจจุบัน มาตรา 19 ห้ามมิให้ผู้รับอนุญาต

(1) ผลิตหรือขายยาแผนปัจจุบันนอกสถานที่ที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต เว้นแต่เป็นการขายส่ง

(2) ผลิตหรือขายยาแผนปัจจุบันไม่ตรงตามประเภทของใบอนุญาต

(3) ขายยาแผนปัจจุบันที่เป็นยาอันตรายหรือยาควบคุมพิเศษให้แก่ผู้ได้รับอนุญาต

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

  • ยาสามัญประจำบ้าน คืออะไร ?
  • วิธีการเลือกยาสามัญประจำบ้าน
  • 1. ยาดมและยาหม่องแก้วิงเวียนศีรษะ
  • 2. ยาลดไข้และบรรเทาอาการปวด
  • 3. ยาและเกลือแร่แก้ท้องเสีย
  • 4. ยาลดน้ำมูกและแก้แพ้
  • 5. ยาแก้ไอน้ำดำ
  • 6. ยาธาตุน้ำแดงสำหรับลดอาการท้องอืด
  • 7. ยาทารักษาแผลสด
  • 8. ยาลดกรด
  • 9. น้ำเกลือล้างแผล
  • 10. ยาสำหรับทาผิวหนัง
  • 11. ยาระบาย
  • 12. ยาแก้เมารถ เมาเรือ หรือการเดินทางอื่น ๆ
  • วิธีการเก็บรักษายาที่ถูกต้อง (7)

ถึงแม้ว่าตอนนี้เราจะอยู่ในยุคที่จำเป็นจะต้องกักตัวอยู่ภายในบ้านและออกจากบ้านเฉพาะในยามที่จำเป็น เพื่อป้องกันตัวเองไม่ให้ติดเชื้อโรคโควิด 19 (ซึ่งเป็นสิ่งที่ดีและควรจะทำอยู่แล้ว) แต่นั่นก็ไม่ได้หมายความว่าการอยู่บ้านตลอด 24 ชั่วโมง จะทำให้ร่างกายของเราแข็งแรงหรือมีสุขภาพที่ดีอยู่ตลอด เพราะอย่าลืมว่าอาการปวดหัว, อาการไข้, อาการปวดเมื่อยตามร่างกาย สามารถเกิดขึ้นได้อยู่ตลอดเวลา เนื่องจากโรคประจำตัวและสภาพแวดล้อมเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้ร่างกายของเราเจ็บป่วยขึ้นมาได้ รวมไปถึงอุบัติเหตุเล็ก ๆ น้อย ๆ อย่างเช่น การหกล้มหรือโดนมีดบาดก็เป็นอะไรที่เกิดขึ้นได้ตลอดเช่นเดียวกัน

เมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์หรือมีบาดแผลตามร่างกาย สิ่งที่เราควรจะทำเป็นอันดับแรกเลยคือการหายาเพื่อมารักษาหรือบรรเทาอาการในเบื้องต้น ซึ่งยาที่ว่านี้เราจะเรียกว่า ‘ยาสามัญประจำบ้าน’ ที่ทุกบ้านควรจะมีเก็บไว้ภายในตู้ยา เพราะเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่กล่าวไปข้างต้น เราจะได้สามารถหยิบมาใช้ได้ในทันที ทำให้เรารีบแก้ไขอาการป่วยต่าง ๆ ได้ทันถ่วงที ถ้าหากทิ้งไว้นานเข้า ปัญหาที่คุณมองว่าเล็กอาจกลับกลายเป็นปัญหาใหญ่ที่เกิดขึ้นได้ อย่างเช่น แผลติดเชื้อ หรือ อาการไข้ที่ไม่ยอมลดลงจนเกิดอาการช็อกได้

แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นเมื่อพูดถึงยาสามัญประจำบ้านแล้ว ก็ต้องบอกว่ามันมีหลายประเภทและหลายหมวดหมู่มาก จนหลายคนไม่รู้ว่าอะไรที่ควรมีติดบ้านไว้บ้าง ดังนั้นวันนี้ผมจึงถือโอกาสมาแชร์ข้อมูลที่น่าสนใจ รวมไปการแนะนำประเภทของยาที่ทุกคนควรซื้อเก็บเอาไว้ ซึ่งจะมีอะไรบ้างมาดูไปพร้อมกันเลยครับ

ยาสามัญประจำบ้าน คืออะไร ?

หากพูดให้เข้าใจได้ง่าย “ยาสามัญประจำบ้าน” เป็นยาที่สามารถซื้อได้ทั่วไป โดยที่ร้านค้าต่าง ๆ ไม่จำเป็นต้องขอใบอนุญาตขายยา เพราะประชาชนทั่วไปสามารถที่จะนำเอายาสามัญประจำบ้านมาดูแลอาการป่วยในเบื้องต้นได้ เรียกว่าเป็นการเพิ่มเข้าถึงมากขึ้นกว่าเดิม ไม่จำเป็นจะต้องเดินทางไปขอยาสามัญประจำบ้านหรืออยู่ในการดูแลจากทางแพทย์และเภสัชกร แต่อย่างไรก็ดีตัวยาที่เข้าค่ายว่าเป็นยาสามัญประจำบ้านนั้นก็จะต้องได้รับการตรวจสอบและอยู่ในหลักของความปลอดภัยเป็นสิ่งสำคัญ (1)

อาการเจ็บป่วยรวมไปถึงอุบัติเหตุเล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นอะไรที่สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา แม้ว่าคุณจะอยู่ภายในบ้านก็ตาม ไม่ว่าจะเป็น อาการไข้ขึ้น, อาการปวดหัว, อาการปวดตัว, อุบัติเหตุจากมีดบาด, โดนน้ำร้อนลวก หรืออื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งการที่เรามียาสามัญประจำบ้านติดไว้ในบ้าน จะช่วยให้เรารักษาอาการและบรรเทาได้ในทันที โดยที่ไม่ปล่อยทิ้งไว้ให้อาการหนักขึ้น ในขณะเดียวกันหากเป็นอุบัติเหตุมันก็เหมือนเป็นการปฐมพยาบาลในเบื้องต้นนั่นเองครับ

วิธีการเลือกยาสามัญประจำบ้าน

อย่างที่ได้บอกไปในเบื้องต้นครับว่ายาสามัญประจำบ้านหาได้ทั้งในร้านสะดวกซื้อหรือร้านทั่วไปใกล้บ้าน แต่การที่จะซื้อมาในแต่ละครั้ง เราควรที่จะต้องเช็กให้ถี่ถ้วนว่าตัวยาดังกล่าวได้ผ่านการตรวจสอบและผ่านมาตรฐาน เพื่อให้มั่นใจว่ายาที่เรารับประทานไปจะไม่มีผลกระทบต่อร่างกายทั้งในระยะต้นและระยะยาว นอกจากนี้ยังต้องดูรายละเอียดอื่นอีกด้วย ซึ่งจะมีอะไรบ้างมาดูกันเลยครับ

1. เลขทะเบียนต้นตำรับยา (2,3)

ไม่ว่ายาตัวไหนก็แล้วแต่สิ่งที่สำคัญมากที่สุดเลยคือมันจะต้องมี “เลขทะเบียนต้นตำรับยา” ยกตัวอย่างเช่น 1A 12/47 เป็นต้น ซึ่งการที่ผลิตภัณฑ์ยามีเลขทะเบียนนั้นก็เป็นการบ่งบอกว่ามันได้ผ่านมาตรฐานและการตรวจสอบมาเป็นที่เรียบร้อยแล้วจากสำนักงานคณะกรรมการองค์อาหารและยา ทั้งนี้อยากจะแชร์ความรู้ที่น่าสนใจเกี่ยวกับตัวเลขและตัวอักษรของเลขทะเบียนด้วย ยกตัวอย่างเช่น 1A 12/47

  • 1 หมายถึง ตัวยาที่สำคัญที่ออกฤทธิ์จะมีเพียง 1 ตัวเท่านั้น (จะมี 2,3 หรือ 4 ก็ขึ้นอยู่กับตัวยานั้น ๆ )
  • A หมายถึง หมวดหมู่ของยา ซึ่งจะมีอักษรตั้งแต่ A ไปจนถึง N (A – F จะเป็นหมวดหมู่ของยาแผนปัจจุบัน)
  • 12 หมายถึง ลำดับการขึ้นทะเบียนตัวยา
  • 47 หมายถึง ปีพุทธศักราชที่ได้รับการขึ้นทะเบียน

2. จะต้องเขียนบนฉลากว่าเป็น “ยาสามัญประจำบ้าน”

หากเป็นยาสามัญประจำบ้านจริง ๆ บนฉลากหรือผลิตภัณฑ์ของตัวยาจะต้องมีกรอบสีเขียวพร้อมกับคำว่า “ยาสามัญประจำบ้าน” กำกับไว้อย่างชัดเจน เพื่อให้เรามั่นใจได้ว่าเมื่อรับประทานเข้าไปแล้วจะปลอดภัยและไม่เกิดผลข้างเคียงที่เป็นอันตรายขั้นรุนแรง

3. ปริมาณยาและวิธีการกิน

ถึงแม้ว่ายาสามัญประจำบ้านจะไม่จำเป็นต้องอยู่ในการดูแลกำกับโดยแพทย์หรือเภสัชกร แต่อย่างไรก็ดีเราควรจะต้องกินตามคำแนะนำบนฉลากอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ตัวยาออกฤทธิ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและป้องกันไม่ให้ร่างกายได้รับตัวยาเกินปริมาณ นอกจากนี้ยังดูสังเกตปริมาณของยาด้วยเพื่อให้เราได้วางแผนในการรับประทานได้ครับ

4. คำเตือนของยา

ควรอ่านในส่วนของคำเตือนอย่างละเอียด เพราะมันเป็นจุดที่เราจะต้องปฎิบัติตามอย่างเคร่งครัด อย่างเช่น ยาบางตัวไม่สามารถให้เด็กรับประทานได้ หรือบางคำเตือนก็อาจจะเขียนว่า ไม่ควรกินยาเกินกี่เม็ดต่อวัน รวมไปถึงคำเตือนอื่น ๆ ที่แตกต่างกันออกไป เพื่อที่เราจะได้หลีกเลี่ยงและระมัดระวังในการรับประทานยา

5. วันหมดอายุ

ยาก็เหมือนกับอาหารที่จะมีวันหมดอายุ เมื่อถึงเวลาหนึ่งประสิทธิภาพหรือการออกฤทธิ์ต่าง ๆ ก็จะหมดไป ซึ่งเมื่อรับประทานเข้าไปแล้ว นอกจากที่จะไม่สามารถรักษาอาการในเบื้องต้นได้แล้ว มันยังเป็นพิษต่อร่างกาย ที่อาจจะทำให้เกินการอาเจียนหรือท้องเสียได้ ดังนั้นควรเช็กทุกครั้งก่อนจะซื้อยาอะไรก็แล้วแต่ครับ


1. ยาดมและยาหม่องแก้วิงเวียนศีรษะ

อาการนี้อาจเกิดขึ้นได้จากหลากหลายสาเหตุไม่ว่าจะเป็นโรคประจำตัวหรือการพักผ่อนที่ไม่เพียงพอ ซึ่งตัวช่วยที่สามารถบรรเทาอาการนี้ได้ดีขึ้นได้คือ ‘ยาดม’ หรือ ยาหม่อง ก็สามารถใช้ได้เช่นเดียวกันครับ

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

Peppermint Field Inhaler Orange Oil ยาดมเป๊ปเปอร์มิ้นท์ ฟิลด์ กลิ่นส้ม

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

Peppermint Field Black Inhaler ยาดมเป๊ปเปอร์มิ้นท์ ฟิลด์ แบล็คอินเฮเลอร์ Peppermint Field Inhaler Orange Oil ยาดมเป๊ปเปอร์มิ้นท์ ฟิลด์ กลิ่นส้ม

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ยาหม่องน้ำสมุนไพรรากโสม กรีนเฮิร์บ Green Herb Oil

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

สมุนไพรวังพรม ยาหม่องเสลดพังพอน

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

Siang Pure Oil Formula II (Ball Tip) ยาหม่องน้ำเซียงเพียวอิ้ว

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช


2. ยาลดไข้และบรรเทาอาการปวด

อาการไข้คือร่างกายของเราจะมีอุณหภูมิตั้งแต่ 37.2 องศาขึ้นไป (วัดจากปรอทวัดไข้) โดยสาเหตุของการเกิดไข้สามารถเกิดได้จากหลากหลายอย่าง ซึ่งการยาสามัญประจำบ้านที่คนเลือกใช้กันก็จะเป็น ‘พาราเซตามอล’ อย่างไรก็ดีการรับประทานนั้นก็จะต้องใช้อย่างถูกวิธี โดยภายในหนึ่งวันไม่ควรจะกินเกิน 8 เม็ด เพราะหากใช้เกินกำหนดมันอาจทำให้เสียชีวิตจากอาการตับวายได้ (4)

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

พาราแคป 500 มก. แผงละ 10 เม็ด

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ไทลินอล พาราเซตามอล 500 mg. Tylenol 1 กระปุก 100 เม็ด

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ซาร่า พาราเซตามอล 500 มิลลิกรัม ชนิดเม็ดรี 200 เม็ด (20 แผง)

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช


3. ยาและเกลือแร่แก้ท้องเสีย

เชื่อว่าหลายคนคงจะเคยเกิดอาการท้องเสีย เนื่องจากรับประทานอาหารหรือน้ำดื่มที่มีการเจือปนสิ่งสกปรกอยู่ ดังนั้นสิ่งที่ควรจะต้องมีติดบ้านคือ ผงถ่านแก้ท้องเสีย เพื่อดูดซับเอาพิษและสารเคมีออกไปจากร่างกาย รวมไปถึงผงน้ำตาลเกลือแร่เพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายเกิดการช็อกจากการขาดน้ำ

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

Ca-R-Bon คา-อา-บอน ผงถ่านแก้ท้องเสีย 1 กล่อง (10 แผง)

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ผงเกลือแร่ Oreda รสส้ม

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช


4. ยาลดน้ำมูกและแก้แพ้

เนื่องจากจมูกเป็นส่วนที่ใช้สำหรับการกรองอากาศ ดังนั้นเมื่อเราสูดฝุ่นหรือสิ่งสกปรกเข้าไป อาจทำให้เกิดการระคายเคืองและอักเสบ จนเกิดภูมิแพ้และมีน้ำมูกตามมา โดยยาที่บรรเทาอาการเหล่านี้ได้คือ ‘คลอร์เฟนิรามีน’ แต่อย่างไรก็ดีคุณไม่ควรจะกินเมื่อต้องขับรถหรือมีกิจกรรมสำคัญ เพราะมันอาจทำให้คุณเกิดอาการง่วงนอนได้ (4)

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

คลอร์เฟนิรามีน ยาแก้แพ้ ลดน้ำมูก 4 มก. 100 เม็ด

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช


5. ยาแก้ไอน้ำดำ

ยาแก้ไอน้ำดำจะมีฝิ่นซึ่งเป็นตัวออกฤทธิ์หลักในการหยุดอาการไอ เป็นยาที่นิยมใช้กันมาตั้งแต่ในอดีต แต่อย่างไรก็ดีการรับประทานก็จะต้องรับประทานให้ถูกต้อง คือ 3 – 4 ครั้งต่อวัน แต่ถ้าให้แนะนำควรที่จะจิบเวลาเกิดเวลาไอเท่านั้นครับ (4)

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ยาแก้ไอมะขามป้อม อภัยภูเบศร 120 มล.

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ยาแก้ไอ น้ำดำ ตราเสือดาว ขนาด 60 ml

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

แก้ไอน้ำดำ องค์การเภสัชกรรม ขนาด 60 มล

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช


6. ยาธาตุน้ำแดงสำหรับลดอาการท้องอืด

อาการท้องอืดเกิดจากภายในล้ำไส้และกระเพาะอาหารมีลมอยู่ ซึ่งลมจะทำให้เรามีความรู้สึกไม่สบายตัว จนอาจทำให้เรานอนไม่หลับและกระทบต่อการทำงาน ทั้งนี้การช่วยบรรเทาอาการตรงนี้ได้คือการรับประทานยาธาตุน้ำแดง เพราะมันจะเข้าไปขับลมออกจนเรารู้สึกดีขึ้น

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ยาธาตุน้ำแดง 4 ตรากิเลน 300 มล.

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ยาธาตุน้ำแดง 300ml. แพค 4 ขวด

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช


7. ยาทารักษาแผลสด

แผลที่เกิดจากอุบัติเหตุเล็ก ๆ น้อย ๆ เกิดขึ้นได้เสมอ ไม่ว่าจะเป็น การหกล้มหรือโดนมีดบาด โดยเหตุการณ์เหล่านี้เกิดขึ้นได้แม้จะอยู่ภายในบ้าน ดังนั้นสิ่งที่ควรมีติดไว้นั่นคือยาทารักษาแผลสด จากนั้นตามด้วยการปิดแผลด้วยพลาสเตอร์ยา เพื่อที่จะทำให้แผลหายได้เร็วขึ้น รวมไปถึงป้องกันสิ่งสกปรกมาเกาะแผล

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ยาทาแผลสด ครีมฆ่าเชื้อ รักษาแผลสด ลดการติดเชื้อ Himalaya Antiseptic Cream

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

เจลทาแผลสด X Pert Nettle Gel

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ยาทาแผลสด Fullext Ointment ขี้ผึ้งทาแผลสด เรียกเนื้อ หลอดใหญ่ 20g

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ยาทาแผลสด Stratamed Gel สีฟ้า ใช้ทาแผลสด แผลผ่าตัดใหม่ แผลศัลยกรรม

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช


8. ยาลดกรด

คนที่มีการรับประทานไม่ค่อยตรงเวลาหรือเกิดความเครียดสะสม อาจเกิดปัญหาหนึ่งที่พบเจอได้บ่อยนั่นคือกรดภายในกระเพาะจนเกิดแผล รวมไปถึงอาการอย่างหนึ่งที่เรียกว่ากรดไหลย้อน ซึ่งการที่จะบรรเทาได้อาจต้องรับประทานยา อะลูมินา-แมกนีเซีย ครับ (5)

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

Belcid Forte เบลซิด ฟอร์ท (รสมิ้นต์ สูตรไม่มีน้ำตาล) ขนาด 240 ml.

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

Emulax milk of magnesia ยาระบายแมกนีเซีย

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช


9. น้ำเกลือล้างแผล

ก่อนที่เราจะทำการทายาอะไรก็ตามบนแผล เราควรที่จะกำจัดสิ่งสกปรกออกด้วยน้ำเกลือล้างแผลก่อนครับ เพราะน้ำเกลือเป็นน้ำสะอาดและบริสุทธิ์ ไม่ทำลายเนื้อเยื่อของเรา ถือเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดในการล้างแผล

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

น้ำเกลือซาไลน์แคร์ ขวดดัมเบล 1000 ml.

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

น้ำเกลือ KLEAN&KARE-NORMAL SALINE 1000 ml.

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช


10. ยาสำหรับทาผิวหนัง

ปัญหาผดผื่นและระคายเคืองผิวหนังจนเกิดรอยแดงบนร่างกาย เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับใครหลายคน ดังนั้นคาลาไมน์โลชั่น ก็เป็นอีกอย่างหนึ่งที่จะต้องมีติดบ้าน เพราะมันใช้งานง่ายและไม่มีผลข้างเคียง

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

Calamine Lotion Siribuncha คาลาไมน์ โลชั่น ศิริบัญชา

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

คาลาไมน์ คาดราไมน์-วี Calamine Cadramine-V

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

Calamine คาลาไมน์ ตราเสือดาว ลดอาการคัน ผดผื่น ลมพิษ 60 ml.

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช


11. ยาระบาย

อาการท้องผูกเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับใครหลายคน ซึ่งการปล่อยไว้ให้เกิดบ่อย ๆ อาจไม่เป็นผลดีสักเท่าไหร่ครับ ซึ่งยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณอย่างหนึ่งที่ช่วยคุณได้นั่นคือ ‘ยาระบายมะขามแขก’ เพราะเมื่อรับประทานไปแล้วมันจะกระตุ้นให้เกิดการเคลื่อนตัวของลำไส้ จนเกิดการขับถ่ายออกมา อย่างไรก็ดีคุณไม่ควรจะรับประทานติดต่อกันเป็นเวลานาน 5 – 7 วัน เพราะผลที่ตามมาในอนาคตคือคุณอาจไม่สามารถขับถ่ายออกได้ด้วยตัวเองหากไม่ใช้ยาระบาย (6)

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ยา แคปซูล มะขามแขก ธันยพรสมุนไพร

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

KHAOLAOR ขาวละออ มะขามแขก ชนิดเม็ด

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช


12. ยาแก้เมารถ เมาเรือ หรือการเดินทางอื่น ๆ

การเดินทางไปเที่ยวตามจังหวัดต่าง ๆ ถือเป็นกิจกรรมหนึ่งที่หลายคนชอบทำกัน เพื่อที่จะได้สัมผัสกับธรรมชาติและหลีกหนีความวุ่นวายในตัวเมือง แต่ปัญหาอย่างหนึ่งที่ไม่ทำเอาทริปเที่ยวกร่อยมานักต่อนักแล้วนั่นคืออาการเมารถหรือเมาเรือ ที่ทำให้เกิดอาการเวียนศีรษะอย่างรุนแรง ในบางคนอาจรุนแรงถึงขั้นเกิดการอาเจียนได้เลยทีเดียว ดังนั้นยาที่ผมอยากแนะนำให้เก็บเอาไว้นั่นคือ ‘ไดเมนไฮดริเนท’ สำหรับบรรเทาอาการข้างต้น

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ยาบรรเทาอาการวิงเวียนจากการเดินทาง Dramamine Motion Sickness Relief

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช

ยาแก้เมารถ ป้องกันอาการการเมา Asada Candy Travel

ชุดยาสามัญประจําบ้าน ศิริราช


วิธีการเก็บรักษายาที่ถูกต้อง (7)

1. เก็บยาให้พ้นจากแสงแดด

ไม่ว่าจะเป็นยาอะไรก็แล้วเมื่อโดนกับแสงแดดโดยตรงแล้ว มันจะทำให้ประสิทธิภาพของยาแย่ลง เมื่อรับประทานเข้าไปแล้ว ตัวยาอาจไม่สามารถออกฤทธิ์เข้าไปรักษาอาการต่าง ๆ ได้ ดังนั้นคุณควรเก็บยาให้พ้นจากแสงแดด และไม่ควรแกะยาออกมาจากแผงหากถึงเวลารับประทานยาครับ

2. เก็บยาให้พ้นความชื้น

เมื่อยาโดนเข้ากับความชื้นอาจทำให้ตัวยาละลายไป อีกทั้งตัวเคลือบที่เป็นแคปซูลอาจเกิดการพองตัวขึ้นได้ ดังนั้นคุณควรเก็บไว้ภายในตู้อย่างมิดชิด เพื่อหลีกเลี่ยงไม่ให้ตัวยาสัมผัสกับความชื้น

3. เก็บยาไว้ในอุณหภูมิที่เหมาะสม

โดยปกติแล้วการเก็บยาจะมีคำแนะนำอยู่บนฉลากอยู่แล้ว ดังนั้นคุณสามารถเก็บได้ตามที่ผู้ผลิตบอกเลยครับ ทั้งนี้ส่วนใหญ่แล้วอุณหภูมิที่เหมาะสมจะอยู่ที่ 18 – 25 องศาครับ

4. เก็บยาไม่ให้สัมผัสกับอากาศ

การเก็บยาที่ถูกต้องควรจะต้องเก็บไว้ในภาชนะที่ปิดอย่างแน่นหนาไม่ให้สัมผัสกับอากาศ เนื่องจากภายในอากาศต่าง ๆ จะมีก๊าซซึ่งอาจทำให้ยาหมดอายุเร็วกว่าที่ควรจะเป็นนั่นเองครับ


References :

  1. ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ – ศูนย์การศึกษาต่อเนื่องทางเภสัชศาสตร์ สภาเภสัชกรรม
  2. ความหมายของอักษรย่อและตัวเลขที่แสดงใน เลขทะเบียนตำรับยา – กองพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค
  3. ฉลากยาน่ารู้ ดูให้ดีก่อนซื้อ – คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมหาวิทยาลัยมหิดล
  4. แนะใช้ยาสามัญประจำบ้าน – คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมหาวิทยาลัยมหิดล
  5. ยาน้ำลดกรด อะลูมินา-แมกนีเซีย – สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
  6. ยาระบายมะขามแขกแคปซูลสามารถใช้ขนาดสูงสุดได้กี่เม็ด – คลังข้อมูลยา
  7. การเก็บรักษายา – คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล