หลักฐานชั้น ปฐม ภูมิ มี อะไร บาง

               2.5 หลักฐานประเภทบอกเล่า แบ่งออกเป็นประเพณีจากการบอกเล่า และประวัติศาสตร์จากการบอกเล่า ข้อจำกัดคือ อาจคลาดเคลื่อนได้ง่าย ตามอคติของผู้เล่าจึงต้องมีการตรวจสอบกับเอกสารอื่น ๆ อย่างเป็นระบบ

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ หรือลึกไปกว่าที่ปรากฏอยู่ภายนอก คือ ความคิดอ่าน โลกทัศน์ ความรู้สึก ประเพณีปฏิบัติของมนุษย์ในอดีต ความรู้สึกของคนในปัจจุบัน สิ่งที่มนุษย์จับต้องและทิ้งร่องรอยไว้ กล่าวได้ว่าอะไรก็ตามที่มาเกี่ยวพันกับมนุษย์ หรือมนุษย์เข้าไปเกี่ยวพันสามารถใช้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้ทั้งสิ้น

หลักฐานชั้น ปฐม ภูมิ มี อะไร บาง


ประโยชน์ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ คือ เป็นเครื่องมือในการสืบค้นร่องรอยของอดีต เป็นแหล่งค้นคว้าข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยนำเอาไปประกอบกับวิธีการทางประวัติศาสตร์ เพื่อสร้างความเข้าใจ ในเหตุการณ์ต่าง ๆ ทั้งในอดีตและปัจจุบัน

ในการศึกษาเรื่องราวในอดีตของมนุษย์สมัยโบราณที่ผ่านมา จำเป็นต้องอาศัยสิ่งที่
หลงเหลือจากการที่มนุษย์สร้างขึน้ ไม่ว่าเป็นที่อยู่อาศัย เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องประดับ
อาหาร และสงิ่ อื่น ๆ ที่มนุษย์สร้างขึน้ มาเพื่ออำนวยความสะดวก หรือเพื่อใช้ในพิธีกรรมความ
เชื่อต่าง ๆ 
การแบ่งลำดับความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์เป็น 2 ประเภท คือ
1.หลักฐานชั้นต้น(หลักฐานปฐมภูมิ) เป็นหลักฐานที่มาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ โดยมีการบันทึกของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง ดังนั้นหลักฐานชั้นต้นจึงเป็นหลักฐานที่มีความสำคัญและน่าเชื่อถือมากที่สุด หลักฐานชั้นต้น(ปฐมภูมิ) เช่น จดหมายเหตุ คำสัมภาษณ์ กฎหมาย วีดิทัศน์ โบราณวัตถุ ฯลฯ เป็นต้น
หลักฐานชั้น ปฐม ภูมิ มี อะไร บาง
ศิลาจารึก
2.หลักฐานชั้นรอง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 
2.1หลักฐานชั้นรอง(หลักฐานทุติยภูมิ) หมายถึง หลักฐานที่เกิดจากการนำหลักฐานชั้นต้นมาวิเคราะห์ ตีความเมื่อเวลาผ่านพ้นไปแล้ว ได้แก่ ตำนาน พงศาวดาร
หลักฐานชั้น ปฐม ภูมิ มี อะไร บาง
พงศาวดาร
2.2หลักฐานชั้นที่สาม(ตติยภูมิ) หมายถึง หลักฐานที่เขียนหรือรวบรวมขึ้น จากหลักฐานปฐมภูมิและทุติยภูมิ เพื่อประโยชน์ในการศึกษาอ้างอิง เช่น สารานุกรม หนังสือแบบเรียน และบทความทางประวัติศาสตร์ต่างๆ
หลักฐานชั้น ปฐม ภูมิ มี อะไร บาง
หนังสือแบบเรียน
แหล่งข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาปรกฏการณ์ที่เกิดขึ้นมนสังคมไทยแต่ละยุคสมัยอาจจำแนกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
1.หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่หลักฐานที่มนุษย์ได้ทิ่งร่องรอยเป้นตัวหนังสือประเภทต่างๆ เช่น หลักศิลาจารึก พงศาวดาร จดหมายเหตุ กฎหมาย และตำนาน
หลักฐานชั้น ปฐม ภูมิ มี อะไร บาง
จดหมายเหตุ
2.หลักฐานที่ไม่เป้นลายลักษณ์อักษร ได้แก่หลักฐานที่เป็นวัตถุไม่มีร่องรอยการจารึกหรือบันทึกเป็นตัวหนังสือ เช่น โบราณสถาน เช่น วัด เจดีย์ เป็นต้น และโบราณวัตถุ เช่น หม้อ อุปกรณ์ใช้สอยต่างๆ อาวุธ เป็นต้น 
หลักฐานชั้น ปฐม ภูมิ มี อะไร บาง
โบราณสถาน
หลักฐานชั้น ปฐม ภูมิ มี อะไร บาง
โบราณวัตถุ

ขอขอบคุณแหล่งที่มา

http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/malaiwan_c/historym1/unit01_03.html


http://orawan1967.wordpress.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3/

http://orawan1967.wordpress.com/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3/%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87/


http://406dmsu.exteen.com/20120220/entry-9


https://www.google.co.th/search?q=%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ei=BN8tUpj8HImzrAfwt4CgDw&ved=0CAkQ_AUoAQ&biw=1024&bih=610#q=%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B9%8C&tbm=isch&facrc=_&imgdii=_&imgrc=O14bejuTFnIMxM%3A%3BjsH3xTpAz7KN9M%3Bhttp%253A%252F%252Fkanchanapisek.or.th%252Fkp6%252FNew%252Fpictures33%252Fl33-128.jpg%3Bhttp%253A%252F%252Fkanchanapisek.or.th%252Fkp6%252FNew%252Fsub%252Fbook%252Fbook.php%253Fbook%253D33%2526chap%253D4%2526page%253Dt33-4-detail.html%3B530%3B198

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ชั้นต้น (ปฐมภูมิ) มีลักษณะสําคัญอย่างไร

1. หลักฐำนชั้นต้นหรือหลักฐำนปฐมภูมิ เป็นหลักฐานที่มาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ โดยมีการบันทึกของผู้ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์โดยตรง หรือผู้ที่รู้เหตุการณ์นั้นด้วยตนเอง ดังนั้นหลักฐานช่วง ต้น จึงเป็นหลักฐานที่มีความสาคัญและน่าเชื่อถือมากที่สุด เพราะบันทึกของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ หรือผู้อยู่ในเหตุการณ์ ...

หลักฐานต้นรองมีอะไรบ้าง

1. หลักฐานชั้นต้น คือ หลักฐานที่มีอยู่ในสมัยที่เกิดเหตุการณ์ หรือหลักฐานที่เขียนหรือสร้างโดยผู้ร่วมเหตุการณ์ 2. หลักฐานชั้นรอง คือ หลักฐานที่เกิดขึ้นมาหลังจากเหตุการณ์นั้น เช่น อนุสาวรีย์ของบุคคลสำคัญ

สิ่งใดที่ทำให้หลักฐานปฐมภูมิและหลักฐานทุติยภูมิมีความแตกต่างกัน

1.ข้อมูลปฐมภูมิ(Primary Data) คือ ข้อมูลที่ได้จากการเก็บรวบรวม หรือบันทึกจากแหล่งข้อมูล โดยตรงด้วยวิธีต่างๆ เช่น จากการสอบถาม การสัมภาษณ์การสารวจการจดบันทึก 2.ข้อมูลทุติยภูมิ(Secondary Data) คือ การนาข้อมูลที่ผู้อื่นได้เก็บ รวบรวมหรือบันทึกไว้มาใช้งาน ความหมายของสารสนเทศ

ข้อใดเป็นหลักฐานชั้นต้นที่เป็นลายลักษณ์อักษร

1. หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานที่เป็นตัวหนังสือโดยมนุษย์ได้ทิ้งร่องรอยขีดเขียนเป็นตัวหนังสือประเภทต่างๆ ในรูปของการจารึกในศิลาจารึกและการจารึกบนแผ่นโลหะ นอกจากนี้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรประเภทอื่น เช่น พงศาวดาร จดหมายเหตุ ตำนาน และกฎหมาย