รูป แบบ การ ใช้ วัสดุ อุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานของ อาจารย์ เฉลิม ชัย

รูป แบบ การ ใช้ วัสดุ อุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานของ อาจารย์ เฉลิม ชัย

หากให้เราพูดชื่อศิลปินมาสัก 1 คน เชื่อว่าชื่อของ อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ต้องเป็นหนึ่งในนั้นอย่างแน่นอนทั้งผลงานการวาดภาพที่สวยงามมีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง คาแรกเตอร์ของอาจารย์ที่เป็นตรง โผงผาง จนหลายคนคาดไม่ถึงเลย แต่อาจารย์เองเป็นคนใจดี ท่านมักจะออกไปวาดภาพช่วยเหลือเสมอหากทางการขอความร่วมมือ เรามาดูกันบ้างว่ามีภาพใดบ้างของอาจารย์ที่แฝงเรื่องราวเอาไว้ด้วย

ภาพชุด HERO

ภาพชุดนี้ เป็นชิ้นงานที่อาจารย์เฉลิมชัย ร่วมมือกับศิลปินในเขตภาคเหนืออีกจำนวนหนึ่ง สร้างภาพชุด HERO ขึ้นมา ภาพชุดนี้เป็นอีกหนึ่งงานที่แตกต่างจากงานทั่วไปของอาจารย์พอสมควร เพราะจะเป็นการวาดภาพเกี่ยวกับบุคคลที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับภารกิจช่วยเหลือ ทีมหมูป่า อะคาเดมี่ ที่ติดอยู่ในถ้ำ ตั้งแต่ต้นจนถึงช่วงเวลาของการส่งตัวเด็กๆกลับบ้าน หากใครอยากดูภาพชุดทั้งหมดต้องไปดูด้วยตัวเองที่ ขัวศิลปะ บ้านขัวแคร่ จังหวัดเชียงราย

พระผู้เสด็จสู่สวรรคาลัย

ผลงานชิ้นต่อไป เป็นผลงานที่ท่านทำออกมาเพื่อส่งเสด็จในหลวงรัชกาลที่ ๙ ภาพตรงกลางเป็นรูปในหลวงรัชกาลที่ ๙ อยู่ตรงกลาง จากนั้นเป็นคลื่นพลังลอยขึ้นไปบนสุดขอบบนของภาพ เป็นนัยว่าพระองค์ท่านได้พักผ่อนขึ้นสู่สวงสวรรคาลัย โดยมีสรรพสิ่งโดยรอบแสดงความโศกเศร้า เป็นภาพสุดท้ายที่อาจารย์เฉลิมชัยทำเพื่อถวายพระองค์ท่าน ภาพนี้ยังถูกนำไปขึ้นปกหนังสือพิมพ์ฉบับหนึ่งวันที่ 13 ตุลาคม 2560 ด้วย

ผืนผ้าหนุมาน

ยังอยู่ในเหตุการณ์ 13 หมูป่าติดถ้ำหลวง ตอนนั้นมีอีกหนึ่งงานจากอาจารย์เฉลิมชัย นั่นคือ ผ้าใบหนุมาน ผ้าใบสีดำ ตรงกลางมีรูปหนุมาน ล้อมรอบด้วยวงจักรลายไทย ความพิเศษของงานชิ้นนี้ท่านทำขึ้นเพื่อมอบให้กับชาวต่างชาติที่มาช่วยเหลือทีมงานหมูป่าอะคาเดมี่ อีกหนึ่งจุดก็คือ ลายเซ็นของท่านในชิ้นงานทั่วไปมักจะเป็นภาษาไทย แต่งานชิ้นนี้ท่านลงลายมือชื่อเป็นภาษาอังกฤษ เป็นสิ่งที่ไมได้เห็นกันบ่อยนัก ท่านทำเพียงแค่ 99 ชุดเท่านั้นแถมติดตลกด้วยว่า ใครมาซื้อก็จะไม่ขาย

รางวัลแด่ตำรวจ

ภาคเหนือให้ความเคารพ ต่อท่านอาจารย์เฉลิมชัยมาก รางวัลจากผลงานการวาดภาพของท่านเป็นสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยและหาไม่ได้ง่ายๆ เมื่อสองปีก่อน ได้มีการมอบรางวัลจากผลงานการวาดภาพของท่านให้กับตำรวจพื้นที่ที่มีความสามารถในการบริหารจัดการจราจรช่วงสงกรานต์ได้ ภาพดังกล่าวเป็นภาพพระพิฆเนศ ตอนกลางคืน จนกลายเป็นรางวัลที่หาได้ยาก

จะเห็นว่าผลงานของท่านอาจารย์เฉลิมชัยนั้นทรงคุณค่าและมีเรื่องราวในตัวเอง หากเรามีโอกาสลองไปชมภาพผลงานของท่านได้ที่วัดร่องขุ่น จังหวัดเชียงราย

รูป แบบ การ ใช้ วัสดุ อุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานของ อาจารย์ เฉลิม ชัย

บริษัท อินทัช โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหาชน)
เลขที่ 349 อาคารเอสเจ อินฟินิท วัน บิสซิเนส คอมเพล็กซ์ ชั้น 29 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900

ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม

062-5932224

การส่งใบสมัครบนเว็บไซต์

082-796-1670 หรือ 02-118-6953

ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับโครงการ

ประวัติ : ศิลปินแห่งชาติ อาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ศิลปินแห่งชาติ

รูป แบบ การ ใช้ วัสดุ อุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานของ อาจารย์ เฉลิม ชัย

อาจารย์ เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ (เกิด 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2498) เป็นชาวหมู่บ้านบ้านร่องขุน ต.ป่าอ้อดอนชัย อ.เมือง จังหวัดเชียงราย เป็นบุตรคนที่ 3 ของนายฮั่วชิว แซ่โค้ว ​(ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นนายไพศาล) และนางพรศรี อยู่สุข​ ทำคลอดด้วยหมอตำแยชื่อยายตุ่น ชีวิตตอนเด็ก ๆ เป็นคนเกเร ไม่ตั้งใจเรียน แต่มีความชอบวาดรูป จึงพยายามเข้าเรียนที่เพาะช่างและมหาวิทยาลัยศิลปากร ภาควิชาศิลปไทยรุ่นแรก 2521 เคยได้รับเหรียญทองจากการประกวดผลงานระดับชาติ ในตอนที่เรียนอยู่ตอนปีที่ 4 มีผลงานรูปวาดตามผนังของวัดไทยมากมาย ผลงานปัจจุบัน เฉลิมชัยสร้างวัดร่องขุ่น ซึ่งเป็นวัดบ้านเกิดของเขา ด้วยศิลปะไทยประยุกต์ หรือศิลปะสมัยใหม่

ชีวิตด้านครอบครัว

อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ได้สมรสกับ กนกวัลย์ โฆษิตพิพัฒน์ เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2535 และมีลูกชายด้วยกัน 1 คน น้องแทน หรือ ณภัส โฆษิตพิพัฒน์

รูป แบบ การ ใช้ วัสดุ อุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานของ อาจารย์ เฉลิม ชัย

รูป แบบ การ ใช้ วัสดุ อุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานของ อาจารย์ เฉลิม ชัย

อาจารย์ เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ ได้จัดแสดงผลงานเดี่ยว และร่วมแสดงผลงานในนิทรรศการสำคัญต่าง ๆ ทั้งในและต่างประเทศ ตั้งแต่ พ.ศ. 2520 จนถึงปัจจุบัน

พ.ศ. 2523 เป็นประธานก่อตั้งกลุ่ม "ศิลปไทย 23" เพื่อต้านอิทธิพลศิลปะจากยุโรป อเมริกา

พ.ศ. 2527 เริ่มโครงการจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธประทีป กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ และเดินทางไปเขียนภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดพุทธปทีป โดยไม่คิดค่าจ้าง

พ.ศ. 2539 เริ่มดำเนินการออกแบบก่อสร้างอุโบสถ วัดร่องขุ่น จังหวัดเชียงรายบ้านเกิดของตนถวายเป็นพุทธบูชาจนถึงปัจจุบัน

พ.ศ. 2548 เริ่มดำเนินการออกแบบและก่อสร้างหอนาฬิกาเชียงรายขึ้น ณ ถนนบรรพปราการ

รูป แบบ การ ใช้ วัสดุ อุปกรณ์ ในการสร้างสรรค์ผลงานของ อาจารย์ เฉลิม ชัย

ทุกวันนี้อาจารย์ เฉลิมชัย เลือกใช้ชีวิตอย่างมีความสุข ออกกำลังกายให้แข็งแรงเพื่อจะได้ขับขี่ และนั่งสมาธิภาวนาเพื่อให้จิตใจยอมรับกับทุกเรื่อง และสิ่งที่จะเกิดขึ้นในวันข้างหน้านั่นก็คือ “ความตาย” ส่วนวาดรูปก็วาดเล่นๆ เพลินๆ เท่านั้นเมื่อยามว่าง

ความสุขของแต่ละคนไม่เท่ากัน และมาไม่พร้อมกันจริงๆนะคะ วันนี้อาจารย์คงอิ่มตัวกับผลงานที่ท่านได้สร้างสรรค์มาหลายสิบปี ถึงวันหนึ่งที่ตั้งเป้าอยากทำตามฝัน ก็แค่ปล่อยวางสิ่งที่ถืออยู่ แล้วไปสร้างความสุขเพื่อสานอีกหนึ่งฝันให้สำเร็จเท่านั้นเอง

ขอบคุณภาพ แฟนเพจ ผู้ชื่นชอบอาจารย์เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์

คลิปแนะนำอีจัน

เลิกวาดรูป จะเที่ยวจนกว่าจะตาย! อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์