สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2

Public Transit to สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ปทุมธานีเขต 1 in Muang Pathum Thani

Wondering how to get to สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ปทุมธานีเขต 1 in Muang Pathum Thani, Thailand? Moovit helps you find the best way to get to สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ปทุมธานีเขต 1 with step-by-step directions from the nearest public transit station.

Moovit provides free maps and live directions to help you navigate through your city. View schedules, routes, timetables, and find out how long does it take to get to สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ปทุมธานีเขต 1 in real time.

Looking for the nearest stop or station to สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ปทุมธานีเขต 1? Check out this list of stops closest to your destination: ซอยบ้านกลาง 3/2 Soi Banklang 3/2.

You can get to สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ปทุมธานีเขต 1 by Bus. These are the lines and routes that have stops nearby - Bus: 90

Want to see if there’s another route that gets you there at an earlier time? Moovit helps you find alternative routes or times. Get directions from and directions to สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ปทุมธานีเขต 1 easily from the Moovit App or Website.

We make riding to สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ปทุมธานีเขต 1 easy, which is why over 930 million users, including users in Muang Pathum Thani, trust Moovit as the best app for public transit. You don’t need to download an individual bus app or train app, Moovit is your all-in-one transit app that helps you find the best bus time or train time available.

For information on prices of Bus, costs and ride fares to สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ปทุมธานีเขต 1, please check the Moovit app.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2

รายละเอียดของบริษัท
ด้วยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อคัดเลือกเป็นพนักงานราชการทั่วไป จึงประกาศรับสมัครบุคคล ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้

ที่อยู่
เลขที่ 99 หมู่ ที่ 16 ถนน วิภาวดีรังสิต ตำบลคูคต อำเภอลำลูกกา

เขตพื้นที่
(ธัญบุรี ) ปทุมธานี 12130

โทรศัพท์
02-523-3348

Fax
0 2532-4829

สวัสดิการ

ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน และส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลาย โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดอบรมสั่งสอนและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน และงานวิ�

ตรวจสอบระบบทั้งหมดพบ 1 งาน


Copyright 2008-2022, All Rights Reserved.

ผู้แต่ง

  • อรุณศรี เทวโรทร นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาการบริหารการศึกษาและอุดมศึกษา
  • ชนมณี ศิลานุกิจ รองศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • รัตนา กาญจนพันธุ์ รองศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • อำนวย ทองโปร่ง รองศาสตราจารย์ คณะศึกษาศาตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

คำสำคัญ:

ความคิดเห็นของครู, การบริหารงานวิชาการ, ผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ตามวุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ครูผู้สอน ในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา ปีการศึกษา 2560 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต 2 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 22 โรงเรียน จำนวน 254 คน โดยการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 52 ข้อ ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ .97 ของครอนบาค (Cronbach’s Alppha Coefficient) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและเมื่อพบความแตกต่างผู้วิจัยใช้การทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า

  1. 1. ความคิดเห็นของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนขยาย-โอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับดังนี้ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ รองลงมา ด้านการวัดผล ประเมินผล ด้านการแนะแนวการศึกษา ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านการพัฒนาหลักสูตร
  2. 2. ครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา-ปทุมธานี เขต 2 ในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
  3. 3. ครูที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา-ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
  4. 4. ครูที่ปฏิบัติงานในโรงเรียนขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา-ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการพัฒนาหลักสูตร ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการวัดผล ประเมินผลและเทียบโอนผลการเรียน และด้านการนิเทศการศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และด้านแนะแนวการศึกษาไม่แตกต่าง

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biography

อรุณศรี เทวโรทร, นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาการบริหารการศึกษาและอุดมศึกษา

นักศึกษาปริญญาโท ภาควิชาการบริหารการศึกษาและอุดมศึกษา

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

References

เจษฎา บุญมาโฮม. (2559). หลักการแนะแนวและพัฒนาผู้เรียน. นครปฐม: โรงพิมพ์สไมล์ พริ้นติ้ง แอนด์ กราฟิกดีไซน์.

ประสิทธิ์ สุวรรณรักษ์. (2542). ระเบียบวิธีวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชา ทดสอบและ วิจัยทางการศึกษา. บุรีรัมย์: สถาบันราชภัฎบุรีรัมย์.

เพ็ญนภา กุลวงศ์. (2560). การประเมินโครงการพัฒนาความรู้ด้านการวัดและประเมินผล ของครู วิทยาศาสตร์ ระดับประถมศึกษา. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 34(96), 55-64.

พรศิริ ประสพบุญ. (2561). สภาพการบริหารงานวิชาการตามความคิดเห็นของครูในโรงเรียนสังกัดเทศบาล จังหวัดกระบี่. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 10(1), 14–24.

สุลักขณา ใจองอาจ และปวีณา อ่อนใจเอื้อ. (2561). ผลของโปรแกรมกิจกรรมแนะแนว ตามแนวการเรียนรู้แบบร่วมมือ เพื่อพัฒนาการรู้เท่าทันสื่อ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านแพรกประชาสรรค์. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 35(97), 38-53.

เสาวลักษณ์ พรหมณะ ดร.รอยพิมพ์ใจ เพชรกุล และ นายกรีฑา วีระพงศ์. (2560). การบริหารงานวิชาการของ โรงเรียนเอกชนระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. ปีที่14 (65), 187-196.

วรรณา ยีซัน, เพียงพิศ ศรีประเสริฐ และสุภาพ เต็มรัตน์. (2561). สภาพการบริหารงานวิชาการของ สถานศึกษา ในสังกัดนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 13(1), 131-138.

สำนักงานเขตพี้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 .(2559). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2559-2563). กลุ่มนโยบายและแผนสำนักงานเขตพี้นที่การศึกษา ประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2. ปทุมธานี.

อัครเดช นีละโยธิน, พระราชรัตนมงคล, พระมหาศุภชัย สุภกิจฺโจ, พระณัฐวุฒิ สัพโส, วิทูล ทาชา และภัทราพร อรัญมาลา. (2560). การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดขอนแก่น. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 11(2), 133-142.

อังค์วรา สุวรรณเสน, บรรจง เจริญสุข และวรรณะ บรรจง. (2559). บทบาทของผู้บริหารในการบริหารงาน วิชาการในโรงเรียนเอกชน ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุราษฎร์ธานี เขต 1.

วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 8(2), 139-153.

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2