จบ คณะ มนุษยศาสตร์ ทํา งาน อะไร ได้ บ้าง

จบ คณะ มนุษยศาสตร์ ทํา งาน อะไร ได้ บ้าง
คณะมนุษยศาสตร์ หนึ่งในคณะยอดฮิตของน้องๆ มาดูกันค่ะว่า4 ปี เรียนอะไรบ้าง แล้วถ้าจบมาจะสามารถทำงานอะไรได้บ้างไปดูกันค่ะ 
จบ คณะ มนุษยศาสตร์ ทํา งาน อะไร ได้ บ้าง

คณะมนุษยศาสตร์
เรียนเกี่ยวกับอะไร?
เรียนเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ วิวัฒนาการของมนุษย์ การปรับตัวของมนุษย์ รวมถึงวัฒนธรรมด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับภาษาและมนุษย์
สาขาที่เรียนก็มีความหลากหลาย เช่น ด้านภาษา ด้านสังคม ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ครอบครัว การเมือง โบราณคดี
จบ คณะ มนุษยศาสตร์ ทํา งาน อะไร ได้ บ้าง

ปี 1 เรียนวิชาพื้นฐานทั่วไป เรียนเหมือนกันทุกสาขา เช่น จิตวิทยา ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย
ในด้านภาษาและการสื่อสาร เน้นการ ฟัง พูด อ่าน เขียน
จบ คณะ มนุษยศาสตร์ ทํา งาน อะไร ได้ บ้าง

ปี 2  เริ่มเรียนในหมวดวิชาเฉพาะ 
เข้าสู่วิชาด้านมนุษยศาสตร์ เช่น วิชาวรรณคดี การเขียนเรียงความ ภาษาอังกฤษเพื่อการพูดนำเสนอ
และเรียนวิชาเอกของสาขาที่ได้เลือกไว้ เช่นเรียนมนุษยศาสตร์สาขาภาษาอังกฤษ ก็จะเน้นเรียนเกี่ยวกับภาษาอังกฤษมากขึ้น
จบ คณะ มนุษยศาสตร์ ทํา งาน อะไร ได้ บ้าง

ปี 3 เรียนลึกลงไปเกี่ยวกับภาษาศาสตร์
ยกตัวอย่างมนุษยศาสตร์สาขาอังกฤษ เน้นศึกษาทักษะการเขียนเชิงวิชาการระบบไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ
รวมถึงวิชาวรรณคดีเพิ่มเติม ทั้งร้อยแก้ว ร้อยกรอง บทละคร
จบ คณะ มนุษยศาสตร์ ทํา งาน อะไร ได้ บ้าง

ปี 4 เรียนวิชาการวิจัยและกระบวนวิชาเลือก
เทอมแรกจะได้เรียนวิชาวิจัย และกระบวนวิชาเลือกตามความถนัดและความสนใจในด้านทักษะการสื่อสาร ภาษาศาสตร์ วรรณคดี 
เทอมสอง ทำวิจัย ค้นคว้า นำเสนอผลงาน
จบ คณะ มนุษยศาสตร์ ทํา งาน อะไร ได้ บ้าง

เรียนมนุษยศาสตร์ จบมาทำงานอะไรได้บ้าง?
สามารถทำงานที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาและความเข้าใจด้านวัฒนธรรมได้หลากหลายประเภทดังนี้
1. สายวิชาการ เช่น ครู อาจารย์ ผู้ช่วยวิจัย
2. สายบริการ เช่น มัคคุเทศก์ เลขานุการ แอร์โฮสเตส พนักงานต้อนรับ
3. สายงานธุรกิจ เช่น ผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ ผู้แทนฝ่ายขาย 
ผู้จัดการฝ่ายขาย เจ้าหน้าที่การศึกษา เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
พนักงานฝ่ายต่างประเทศ เจ้าหน้าที่ฝึกอบรม เจ้าหน้าที่แปลเอกสาร
เจ้าหน้าที่พิสูจน์อักษร เจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ ฯลฯ

เรียนคณะมนุษยศาสตร์ ทำงานอะไรได้บ้าง?

 คณะมนุษยศาสตร์เรียนอะไร?

  • คณะนี้ศึกษาเกี่ยวกับผู้คน ตั้งแต่เกิดจนถึงตาย
  • เรียนประวัติศาสตร์การวิวัฒนาการของมนุษย์
  • เรียนการปรับตัวของมนุษย์ในสภาพแวดล้อมต่างๆ

แบ่งเป็นสาขาย่อยๆอีกไหม?

คณะนี้มีความหลากหลายมากๆ มีการศึกษาหลายด้านแล้วแต่ว่าจะเลือกเรียนสาขาอะไร เช่น

ภาษา สังคม ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม การเมือง โบราณคดี ครอบครัว เป็นต้น

จบมาแล้ว มีงานอะไรรองรับบ้าง?

  • นักแปลและล่าม

          ผู้ที่มีความชอบและความถนัดด้านภาษา สามารถประกอบอาชีพเป็นเป็นล่ามตามหน่วยงานรัฐบาลและเอกชน เป็นนักแปลหนังสือหรือละคร เป็นล่ามตามหน่วยงานรัฐบาลและเอกชน หรือทำเป็นอาชีพอิสระก็ได้ ยิ่งได้ภาษาที่คนส่วนใหญ่ไม่ค่อยได้ รับรองงานเพียบจ้า

  • อาจารย์หรือนักวิจัย

          ส่วนผู้ที่จบมาแล้วมีความรู้ความชำนาญ สามารถไปสมัครเป็นอาจารย์สอนในสาขาวิชานั้นๆได้ ตามสถาบันการศึกษาต่างๆ หรือเป็นนักวิจัยในสาขาที่เกี่ยวข้องกับวิชาที่เราถนัดได้

  • นักประวัติศาสตร์

          นักประวัติศาสตร์จะเป็นผู้ที่ศึกษาและวิจัย รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของบุคคล สถานที่ ประเทศ และเหตุการณ์ต่าง ๆ

  • รับราชการ

          ผู้ที่เรียนจบคณะมนุษยศาสตร์สามารถประกอบอาชีพในหน่วยงานราชการ กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ได้ มีหลายตำแหน่งที่เปิดรับผู้ที่จบจากคณะนี้ 

  • นักเขียน

          นักเขียนในปัจจุบันไม่ใช่เขียนผ่านกระดาษเท่านั้น ตอนนี้อาชีพนักเขียนบทความบนเว็ปไซต์กำลังเป็นที่นิยม น้องๆสามารถเขียนผ่านหน้าเว็ปได้เลย โดยคนที่จบคณะมนุษยศาสตร์มาจะได้เปรียบ เนื่องจากน้องๆได้เรียนเกี่ยวกับคนมา ย่อมเข้าใจความคิด พฤติกรรม และความแตกต่างของคน นอกจากนี้ด้วยนิสัยที่ถูกปลูกฝังเรื่องการค้นคว้า การหาไอเดียใหม่ๆ จะยิ่งทำให้น้องๆเป็นนักเขียนที่ดีเลยทีเดียว

  • พนักงานโรงแรมหรือไกด์

          หากเรียนจบสาขาการท่องเที่ยวและการโรงแรม และมีใจรักในงานบริการ งานไกด์นำเที่ยว หรืองานโรงแรมก็เป็นทางเลือกที่น่าสนใจสำหรับผู้ที่สนใจ

  • นักโบราณคดี

          นักโบราณคดีจะศึกษาประวัติศาสตร์ของมนุษย์ในแง่กายภาพ โดยศึกษาจากหลักฐานต่างๆ ที่ถูกค้นพบ เพื่อให้เข้าใจความเป็นมาของมนุษย์ได้มากยิ่งขึ้น

  • แอร์โฮสเตสและสจ๊วต

          เรียนจบคณะนี้มาสามารถทำงานกับสายการบินได้ สำหรับผู้ที่ชอบและมีความถนัดทางภาษาสมัครเป็นพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินได้ เป็นงานที่ได้รายได้ดีที่น่าสนใจอีกงานนึงเลยทีเดียว

  • ทำงานกับเอกชนต่างชาติ

         ในประเทศไทยมีบริษัทต่างชาติจำนวนมาก ต้องการคนที่ได้เรื่องภาษา จบคณะนี้สามารถสมัครบริษัทต่างชาติได้ โดยเฉพาะบริษัทที่ทำพวก Import/Export 

  • เลขานุการ

          การเรียนมนุษยวิทยาคือการศึกษาเกี่ยวกับผู้คน งานเลขานุการ จึงเป็นงานเกี่ยวกับคนที่สำคัญ เป็นหน้าที่หนึ่งที่ช่วยแบ่งเบาภาระของผู้บริหาร และทำให้องค์กรดำเนินไปได้อย่างราบรื่น 

  • นักจิตวิทยา

          เนื่องจากผู้ที่เรียนคณะนี้ จะเน้นเรียนรู้เกี่ยวกับคน อาชีพนักจิตวิทยาจึงเป็นอีกหนึ่งทางเลือกค่ะ

  • บรรณารักษ์

          บรรณารักษ์ คือ ผู้ที่มีอาชีพในการจัดการข้อมูลในด้านบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ บรรณารักษ์จะทำงานตามห้องสมุดของหน่วยงาน องค์กร และสถาบันต่างๆ

  • งานด้านสื่อสารมวลชน

          ด้วยความสามารถทางภาษาและความรู้ความเข้าใจในมนุษย์ ทำให้ผู้ที่เรียนจบคณะนี้มีความสามารถสื่อสารกับผู้อื่น ซึ่งอาจจะได้เปรียบกว่าผู้ที่เรียนจบจากคณะอื่นๆ สามารถสมัครเป็นนักข่าว ผู้ประกาศข่าว และ copywriterได้

และสำหรับน้องๆที่กำลังเตรียมตัวสอบ หรือเล็งคณะมนุษยศาสตร์ไว้ ที่มีตัวช่วยมาแนะนำพาน้องๆไปถึงฝั่งฝัน คอร์สติว TCAS บุฟเฟต์ เรียนกับติวเตอร์ชั้นนำ ยาวไม่อั้น จนถึงสอบ อย่าลืมไปทดลองเรียนฟรีกันนะคะ

คณะมนุษยศาสตร์ ภาษาไทย ทํางานอะไร

อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา 1. นักวิชาการ อาจารย์ นักวิจัยทางภาษาไทย 2. นักเขียน นักวิจารณ์ บรรณาธิการ 3. นักสื่อสารมวลชน มัคคุเทศก์ ล่าม ประชาสัมพันธ์ 4. ประกอบอาชีพ อิสระตามความถนัดของตน

คณะมนุษยศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ทํางานอะไรได้บ้าง

แนวทางการประกอบอาชีพ สามารถประกอบอาชีพได้ทั้งในองค์กรภาครัฐและภาคเอกชน เช่น เป็นนักแปล ล่าม พนักงานสายการบิน เลขานุการ พนักงานฝ่ายต่างประเทศ พนักงานบริษัท พนักงานประชาสัมพันธ์ พนักงานต้อนรับ มัคคุเทศก์ อาจารย์สอนภาษาอังกฤษ และอาชีพอื่นฯ ที่เกี่ยวข้อง

คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ทำงานเกี่ยวกับอะไร

รับราชการ ผู้ที่เรียนจบคณะมนุษยศาสตร์สามารถประกอบอาชีพในหน่วยงานราชการ กระทรวง ทบวง กรมต่าง ๆ ได้ เช่น กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา เป็นต้น

คณะมนุษยศาสตร์ สาขาไหนดี

10 สาขาวิชา คณะมนุษยศาสตร์ / อักษรศาสตร์ / ศิลปศาสตร์ ที่น่าเรียน....
1. สาขาวิชาจิตวิทยา ... .
2. สาขาวิชาประวัติศาสตร์ ... .
3. สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา ... .
4. สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา ... .
5. สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ... .
6. สาขาวิชาภาษาไทย ... .
7. สาขาวิชาภาษาจีน ... .
8. สาขาวิชาภาษาเกาหลี.