การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

ปัญหาคือ “ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นและไม่ตรงกับความคาดหวังหรือสิ่งที่ควรจะเป็น” การแก้ปัญหาเป็นกระบวนการทำความเข้าใจปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น โดยเกี่ยวข้องกับการทำงานของสมอง (การคิด) และพฤติกรรมที่ใช้แก้ปัญหา เมื่อมีปัญหาผ่านเข้ามาสู่ระบบการรับรู้ของมนุษย์ (Sensing) มนุษย์แต่ละคนมีวิธีการจัดการกับปัญหาที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งส่งผลให้เกิดการสะสมเป็นประสบการณ์ที่แตกต่างกันในแต่ละคน ดังนั้นการให้ความสำคัญกับแต่ละปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดประสบการณ์ที่มีประสิทธิภาพ (Effective Experience) ในการแก้ปัญหาจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาก

หนึ่งในการคิดแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพคือ “การคิดเชิงตรรกะ (Logical Thinking) ให้ความสำคัญกับการวิเคราะห์หาเหตุผลแท้จริงของความสำเร็จและล้มเหลว แสดงลำดับขั้นตอนของเรื่องราวอย่างชัดเจน และอื่น ๆ ดังกล่าวข้างต้น เพื่อนำไปสู่การตัดสินใจเลือกวิธีแก้ปัญหาในทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด อาจกล่าวได้ว่าการคิดเชิงตรรกะคือ “การตัดสินใจแบบมีเหตุผลรองรับ” ดังนั้นความคิดเชิงตรรกะถือว่าเป็นกระบวนการสร้างนิสัยการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ การตัดสินใจใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์ และหลีกเลี่ยงการคิดแก้ปัญหาที่ยึดติดกับกรอบความคิดเดิม

วิทยาการคำนวณ ป.4 หน่วย 1 เรื่อง ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย

ระดับชั้น : ประถมศึกษาปีที่ 4
หน่วยที่ : 1
เรื่อง :ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย
สาระ : สาระที่ 4 เทคโนโลยี
ตัวชี้วัด :
ว 4.2 ป. 4/1 ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงานการคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหาอย่างง่าย

การใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหา

(Computational Thinking)  เป็นทักษะการแก้ปัญหาโดยใช้วิธีการคิดอย่างเป็นระบบ โดยต้องรู้จักแยกแยะปัญหา เข้าใจความสำคัญของปัญหา รู้จักวิเคราะห์รูปแบบของปัญหา และออกแบบและแสดงลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหา

 

*เนื้อหาและรูปภาพการ์ตูนลิปดาโพล่านี้คือตัวอย่างหนังสือวิทยาการคำนวณ เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัทอิมเมจิเนียริ่ง เอ็ดดูเคชั่น จำกัด ไม่อนุญาตให้นำภาพประกอบไปใช้ในเชิงธุรกิจหรือแสวงหาผลกำไรต่าง ๆ หากต้องการนำเนื้อหาและรูปภาพไปใช้รบกวนติดต่อทีมงานก่อนทุกครั้ง เพื่อส่งเรื่องให้ทางผู้บริหารพิจารณาอนุมัติ

 

  • การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา
  • แนวคิดเชิงคำนวณ
  • กิจกรรมบูรณาการ
  • กิจกรรมท้าให้ลอง

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา

ในการทำงาน หรือ การแก้ปัญหาใดๆ ในชีวิตประจำวัน ย่อมควรมีเหตุผล หากเราแก้ปัญหาหรือทำงานโดยไม่มีเหตุผลจะเป็นการทำงานหรือแก้ปัญหาที่ไม่มีการคิดไตร่ตรอง การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา จึงเป็นการคิดหา เหตุผล เพื่ออธิบายการทำงาน คาดการณ์ผลลัพธ์ ในการแก้ปัญหา

ตัวอย่างสถานการณ์ : ใกล้ถึงเวลาอาหารเย็นแล้ว โพล่ารู้สึกหิวมากเลย ปัญหาโพล่าควรจะเลือกรับประทานอะไรดี ระหว่างของหวานหรือรับประทานข้าวเย็น

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

จากปัญหานี้ โพล่าได้เลือกการรับประทานอาหารเย็นโดยใช้เหตุผล (เชิงตรรกะ)

ว่าใกล้เวลาอาหารเย็นแล้วควรจะเป็นเวลารับประทานข้าวไม่ควรรับประทานขนมเพราะเดี๋ยวจะรับประทานข้าวไม่ได้ ซึ่งเป็นเหตุผลที่สามารถอธิบายการทำงานและคาดการณ์ผลลัพธ์ได้แต่สำหรับนักเรียนคิดว่าจะแก้ปัญหานี้อย่างไรดีและคาดการณ์ผลลัพธ์อย่างไร

การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ (Logical Thinking) ในการแก้ไขปัญหา

การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหานั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การใช้กฎเกณฑ์ ข้อตกลงมาเป็นเหตุผล และ การใช้ประสบการณ์มาเป็นเหตุผลในการแก้ปัญหา

  1. การใช้กฎเกณฑ์ ข้อตกลง มาอธิบายเหตุผลในการแก้ปัญหา

เป็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้ กฎเกณฑ์มาอ้างอิงเพื่อนำไปอธิบายวิธีการแก้ปัญหา ซึ่งผลลัพธ์ของการแก้ไขปัญหานี้จะเป็นจริงหรือไม่ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์เริ่มต้น ดังตัวอย่าง เช่น

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

  1. การใช้ประสบการณ์มาอธิบายเหตุผลในการแก้ปัญหา

เป็นกระบวนการให้เหตุผลในการแก้ไขปัญหาที่ได้จาก การตั้งสมมติฐาน การสำรวจ หรือการทดลอง จนได้ผลการสังเกตหรือหลักฐานที่นำมาสรุปได้ แต่ข้อสรุปอาจจะเป็นจริงหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยอีกหลายอย่าง เช่น วิธีการสำรวจ จำนวนตัวอย่างในการสำรวจ เป็นต้น

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

  1. สรุป การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ (Logical Thinking) ในการแก้ไขปัญหา คือ การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลที่สามารถอธิบายได้ โดยเหตุผลที่ใช้นั้นจะเป็นเหตุผลที่ได้จากกฎเกณฑ์ ข้อตกลง หรือจากประสบการณ์ มาใช้เป็นเงื่อนไขในการแก้ปัญหา ซึ่งการแก้ปัญหานั้นผู้แก้ปัญหาจะคาดหวังว่าให้ได้ผลลัพธ์ให้ตรงตามเหตุผลที่อธิบายได้

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

  1. ตรรกะ คืออะไรตรรกะ (เขียนได้ 2 แบบ ตรรก และ ตรรกะ) คือ ความคิด การนึกคิด

    ตรรกศาสตร์ คือ ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการคิดหาเหตุผลว่าจะสมเหตุสมผลหรือไม่

    การนำกฎเกณฑ์หรือเงื่อนไขในทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการแก้ปัญหา

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

  1. การใช้กฎเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้พิจารณาในการแก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน หรือการคาดการณ์ผลลัพธ์                     ปัญหาในชีวิตประจำวันมีหลากหลาย การวางแผนการแก้ปัญหาโดยคำนึงถึงเงื่อนไขที่อาจจะเกิดขึ้นกับการทำงานหรือการแก้ปัญหา จะช่วยทำให้การแก้ปัญหาหรือการทำงานของเราดียิ่งขึ้น มีรูปแบบที่ชัดเจน ถ้าพูดในความหมายง่ายๆ คือ ถ้าเกิดเหตุการณ์ขึ้นมาเหตุการณ์หนึ่งจะต้องแก้ปัญหาอย่างไร มีเหตุผลหรือเงื่อนไขใด และถ้าเหตุการณ์เปลี่ยนไปเป็นอีกแบบหนึ่งจะแก้ปัญหาอย่างไร หรือถ้าไม่เกิดเหตุการณ์ใดขึ้นมาเลย จะต้องทำอย่างไร การใช้กฎเกณฑ์หรือเงื่อนไขที่ครอบคลุมทุกกรณีจะทำให้สามารถคาดการณ์ผลลัพธ์ได้  เช่น

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

  1. ตัวอย่างสถานการณ์ : วันนี้ลิปดาตื่นสายกว่าปกติ 15 นาที ซึ่งโดยปกติ ลิปดาจะตื่น 6 โมงเช้า รถโรงเรียนจะมารับลิปดาทุกวันในเวลา 6:40 ลิปดาจะแก้ปัญหานี้อย่างไรเพื่อให้ได้ผลลัพธ์คือไปทันรถโรงเรียนเหมือนปกติในสถานการณ์ปกติลิปดาตื่น 6 โมงเช้า ลิปดามีลำดับขั้นตอนการทำกิจกรรมตอนเช้าดังต่อไปนี้
    1. ล้างหน้า แปรงฟัน 5 นาที
    2. อาบน้ำ 5 นาที
    3. แต่งตัว 10 นาที
    4. เก็บของใส่กระเป๋า  5 นาที
    5. ทานอาหาร 10 นาที
    6. ใส่ถุงเท้า รองเท้า 2 นาที
    7. เดินไปรอรถโรงเรียนซึ่งทั้งหมดใช้เวลา 37 นาที

    จะไปรอทันรถโรงเรียนก่อน 3 นาที

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

  1. ในสถานการณ์เริ่มต้นที่เปลี่ยนไป ลิปดาตื่นนอนเวลา 6.15 นาที ทำให้เกิดเงื่อนไขด้านเวลาที่น้อยลง เนื่องจากตื่นสายกว่าเดิม 15 นาที จึงต้องแก้ปัญหาปรับเวลากิจกรรม เพื่อให้ได้ผลลัพธ์คือไปทันรถโรงเรียน ดังต่อไปนี้
    1. ล้างหน้า แปรงฟัน 4 นาที
    2. อาบน้ำ 4 นาที
    3. แต่งตัว 5 นาที
    4. เก็บของใส่กระเป๋า 3 นาที
    5. ทานอาหาร 5 นาที
    6. ใส่ถุงเท้า รองเท้า 1 นาที
    7. เดินไปรอรถโรงเรียน

    ซึ่งทั้งหมดใช้เวลา 22 นาที

    จะไปรอทันรถโรงเรียนก่อน 3 นาที

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

  1. สถานะเริ่มต้นของการทำงานที่แตกต่างกันจะให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันในการแก้ปัญหาบางครั้งสถานะเริ่มต้นของการทำงานที่แตกต่างกันจะให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน โดยเงื่อนไขหรือตัวแปรที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ต่างๆ นั้นจะเป็นตัวกำหนดให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

  1. สถานะเริ่มต้นของการทำงานที่แตกต่างกันจะให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันในการแก้ปัญหาบางครั้งสถานะเริ่มต้นของการทำงานที่แตกต่างกันจะให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน โดยเงื่อนไขหรือตัวแปรที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ต่างๆ นั้นจะเป็นตัวกำหนดให้เกิดการเปลี่ยนแปลง

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

  1. สถานะเริ่มต้นของการทำงานที่แตกต่างกันจะให้ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันสถานการณ์วันนี้เป็นวันฝนตก ทำให้จราจรติดขัดและต้องใช้เวลามากในการเดินทางไปโรงเรียน ผลลัพธ์ที่แตกต่างกันคือ การเดินทางมาโรงเรียนไม่ทัน 8 โมงเช้า

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

การใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ไขปัญหา

เป็นการแก้ปัญหาโดยใช้วิธีการคิดอย่างเป็นระบบ ซึ่งผู้เรียนต้องเรียนรู้การแยกส่วนประกอบและการย่อยของปัญหา การคิดเชิงนามธรรม หารูปแบบของปัญหา และนำมาออกแบบและแสดงลำดับขั้นตอนการแก้ไขปัญหา

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

แนวคิดเชิงคำนวณประกอบส่วนสำคัญ 4 ส่วน ดังต่อไปนี้

การแยกส่วนประกอบและการย่อยของปัญหา

เป็นกระบวนการแบ่งแยกส่วนประกอบของปัญหา ออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อง่ายต่อการแก้ไขปัญหา

การหารูปแบบของปัญหา

เป็นกระบวนการหาความสัมพันธ์ของปัญหา โดยการเปรียบเทียบ จัดกลุ่ม การเรียงลำดับ

การคิดเชิงนามธรรม

เป็นการพิจารณารายละเอียดที่สำคัญของปัญหา  แยกแยะสาระสำคัญออกจากส่วนที่ไม่สำคัญ

การออกแบบขั้นตอนการแก้ปัญหา

เป็นการแสดงขั้นตอนการวางแผนการแก้ไขปัญหาซึ่งสามารถทำได้โดยเขียนข้อความ, วาดภาพ หรือการใช้สัญลักษณ์

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

  1. การคิดเชิงนามธรรม การหารูปแบบของตำแหน่งสัมพันธ์กับภาพสัตว์และสีของสัตว์อย่างไร

(การพิจารณาสาระสำคัญของปัญหา)

  1. การแยกส่วนประกอบปัญหา ให้แบ่งแยกตำแหน่งและคุณสมบัติของภาพแต่ละตำแหน่งออกเป็นส่วนๆ

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

  1. การหารูปแบบของปัญหา

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

4. การออกแบบลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหาโดยการใช้ข้อความ
1. สังเกตลำดับตำแหน่งภาพที่ 1, 3, 7, 9 เป็นภาพไก่
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าตำแหน่งที่ 5 ควรเป็น ไก่
สำหรับสีของไก่จะเป็นการสลับกันไปมาระหว่าง สี ส้ม-เขียว กับสี ส้ม-ส้ม
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าตำแหน่งที่ 5 เป็นไก่ สี ส้ม-เขียว
2. สังเกตลำดับตำแหน่งภาพที่ 2, 4, 8, 10 เป็นภาพเพนกวิน
ดังนั้นจึงควรสรุปได้ว่าตำแหน่งที่ 6 ควรเป็นเพนกวิน
สำหรับสีเพนกวินเหมือนกันทุกตัว
ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าสีเพนกวินในตำแหน่งที่ 6 เป็นสีดำขาว
โจทย์ปัญหา : ให้ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการอธิบายหรือแสดงลำดับขั้นตอนการเล่นเกม OX
1. การคิดเชิงนามธรรม การวาง X หรือ O อย่างไรให้ได้เป็นแนวตรงหรือแนวทะแยงก่อนผู้เล่นอีกฝ่าย
(การพิจารณาสาระสำคัญของปัญหา)
2. การแยกส่วนประกอบปัญหา ให้แบ่งแยกตำแหน่งการวางและหาโอกาสที่จะชนะของแต่ละตำแหน่ง

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

3. การหารูปแบบของปัญหา ควรเลือกทำเครื่องหมายในตำแหน่งที่โอกาสชนะมากที่สุดและควรป้องกันไม่ให้ผู้เล่นอีกฝ่ายมีโอกาสชนะ
4. การออกแบบลำดับขั้นตอนการแก้ไขปัญหาโดยการใช้ข้อความ
1. ให้เลือกทำเครื่องหมายในตำแหน่งที่มีโอกาสชนะมากที่สุดก่อน
2. รอให้ผู้เล่นอีกฝ่ายวางเครื่องหมาย
3. สังเกตการวางเครื่องหมายของผู้เล่นอีกคนหนึ่งว่ามีการวางเรียงเป็นแนวตั้ง แนวนอน หรือ แนวเฉียง ติดกัน 2 ตัว
หรือไม่
4. ถ้ามีการวางแนววางเครื่องหมายเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้เล่นอีกฝ่ายชนะ
5. ถ้าไม่มีให้เลือกทำเครื่องหมายในตำแหน่งที่มีโอกาสชนะมากที่สุดที่เหลืออยู่อันดับต่อไป
6. ให้กลับไปที่ข้อที่ 2 ถึง 4 จนกว่าจะมีผู้ชนะ แพ้ หรือ เสมอ หรือจนกว่าตำแหน่งการวางเต็มแล้วทั้งหมด

จากภาพให้นักเรียน ให้อธิบายเหตุผลว่า ทำไมถึงเกิดเหตุการณ์นี้ขึ้น เพราะเหตุผลใด (ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหาหรือการทำงานอย่างไร)

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

จากเกมภาพที่หายไป 2 ข้อด้านล่าง ให้นักเรียนหาภาพที่หายไปและเขียนลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหา

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี กี่ ขั้น ตอน อะไร บ้าง

ทุกๆ วันคุณพ่อจะไปส่งลิปดาไปโรงเรียนโดยตื่นตั้งแต่ 6 โมงเช้า และออกจากบ้านไม่เกิน 7 โมงเช้า ซึ่งวิธีการเดินทางของลิปดาต้อง ขี่จักรยานออกจากบ้านไปทิ้งไว้หน้าหมู่บ้าน เพื่อไปนั่งรถประจำทางลงหน้าซอยทางเข้าโรงเรียน ซึ่งถ้าลิปดาไม่สายมากก็จะเดินเข้าไปในโรงเรียนแต่ถ้าสายมากก็จะนั่งรถจักรยานยนต์เข้าไป

ภารกิจ :

  1. ให้นักเรียนเขียนลำดับขั้นตอนวิธีการเดินทางไปโรงเรียนของตนเองพร้อมแสดงลำดับเวลาการเดินทาง
  2. ให้คุณครูสร้างเงื่อนไข และ เปลี่ยนสถานะเริ่มต้น เช่น ฝนตกรถติด ตื่นสาย รถยนต์ส่วนตัวเสีย มีกิจกรรมตอนเช้า
  3. ให้นักเรียนเขียนลำดับขั้นการแก้ไขปัญหาใหม่ตามเงื่อนไขที่คุณครูกำหนดให้ในแต่ละกลุ่ม พร้อมนำเสนอหน้าชั้นเรียน

วัสดุอุปกรณ์ : โจทย์ปัญหาเงื่อนไขเพิ่มเติมที่คุณครูกำหนด

รวบรวมข้อมูล : การใช้ฎกเกณฑ์หรือเงื่อนไขในการแก้ไขปัญหาคืออะไร

วางแผน ออกแบบ : ให้นักเรียนร่วมกันพิจารณาปัญหาและหาแนวทางการแก้ไขปัญหาและเขียนลำดับขั้นตอนการแก้ไขปัญหา

การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหามีกี่ประเภท อะไรบ้าง

การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ (Logical Thinking) ในการแก้ไขปัญหา การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหานั้นสามารถแบ่งออก พ เป็น 2 ประเภท คือ การใช้กฎเกณฑ์ ข้อตกลงมาเป็นเหตุผล และ การใช้ ประสบการณ์มาเป็นเหตุผลในการแก้ปัญหา

การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ มี ขั้น ตอน ใด บ้าง

การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ (Logical Thinking) ในการแก้ไขปัญหา การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหานั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ การใช้กฎเกณฑ์ ข้อตกลงมาเป็นเหตุผล และ การใช้ประสบการณ์มาเป็นเหตุผลในการแก้ปัญหา การใช้กฎเกณฑ์ ข้อตกลง มาอธิบายเหตุผลในการแก้ปัญหา

การแก้ปัญหาเชิงตรรกะมีกี่ขั้นตอน

1. การระบุปัญหาที่แท้จริง 2. ระบุสาเหตุที่อาจทาให้เกิดปัญหา ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง 3. การเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล 4. ประเมินสาเหตุที่เป็นไปได้มากที่สุด 5. ระบุแนวทางแก้ไข 6. ตรวจสอบและประเมินผล

การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะคืออะไร

การใช้เหตุผลเชิงตรรกะ (Logical Thinking) ในการแก้ไขปัญหา คือ การแก้ไขปัญหาโดยการนากฎเกณฑ์หรือเงื่อนไขมาใช้พิจารณา โดยจะใช้เหตุผลหรือใช้ประสบการณ์มาอธิบายวิธีการแก้ไขปัญหา โดยคาดหวังว่าจะได้ผลลัพธ์ตามที่คาดการณ์ไว้