ขวด pp ทนความร้อนได้กี่องศา

-เนื้อพลาสติก PP มีจุดหลอมตัวที่ 165C สามารถทนต่อความร้อนได้สูง จึงสามารถทนต่อการ ฆ่าเชื้อที่อุณหภูมิ 100C ได้ มีความทนทานต่อสารเคมี ซึ่งรวมถึงน้ำมันชนิดต่างๆ ด้วย

-มีน้ำหนักเบา สามารถลอยน้ำได้
-พลาสติกจะสามารถทนต่อแรงกระแทกได้ดี สามารถทนต่อรอยขีดข่วนได้ เเละมีความคงตัวไม่เสียรูปง่าย มีความแข็งแรง


ติดต่อฝ่ายขายโทร. 02 037 2299, 094 496 9847

หรือไลน์ไอดี Line ID:@wallerchem

เป็นพลาสติกที่เรานิยมใช้มากที่สุด เนื่องจากคุณสมบัติของพลาสติกประเภทนี้ มีจุดหลอมเหลวที่ต่ำ จึงทำให้ต้นทุนที่ใช้ในการผลิตนั้นถูกลงไปด้วย เมื่อเปรียบเทียบกับพลาสติกประเภทอื่นๆแล้ว จึงทำให้พลาสติกประเภท PE นั้นมีราคาที่ถูกที่สุด จึงเป็นที่นิยมมากที่สุดเช่นกัน

พลาสติก PE ยังสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่

  1. HDPE หรือ โพลีเอทิลินชนิดความหนาแน่สูง (High Density Polyethylene)
  2. LDPE หรือ โพลีเอทิลินชนิดความหนาแน่ต่ำ (Low Density Polyethylene)
  3. LLDPE หรือ โพลีเอทิลินชนิดความหนาแน่ต่ำเชิงเส้นตรง (Linear Low Density Polyethylene)

ส่วนประเภทที่เรานำมาใช้ผลิตบรรจุภัณฑ์คือ HDPE หรือ โพลีเอทิลินชนิดความหนาแน่สูง (High Density Polyethylene) นั่นเอง

นิยมนำมาใช้ทำเป็น ขวดแชมพู หรือขวดน้ำยาต่างๆ เพราะมีความทนทานต่อสารเคมี ตัวทำลาย ความเป็นกรดและด่างได้ดี แต่ทนความร้อนได้ต่ำเมื่อเทียบกับพลาสติกประเภทอื่น (ทนอุณหภูมิได้ที่ -50 ถึง 80 องศาเซลเซียส) มีความแข็งแรง คงรูปได้ดี มีความเหนียวยื่นยุ่น สีขุ่น และโปร่งแสง

ขวด pp ทนความร้อนได้กี่องศา

 

พลาสติกประเภท PP หรือ โพลีโพพีลิน (Polypropylene)

คุณสมบัติของพลาสติกประเภท PP นั้นค่อนข้างใกล้เคียงกับพลาสติกประเภท PE แต่มีความสามารถในการทนความร้อนได้สูงกว่า (ทนอุณหภูมิได้ถึง 120 องศาเซลเซียส) เนื้อใสกว่า และมีราคาสูงกว่าเล็กน้อย

ขวด pp ทนความร้อนได้กี่องศา

ต่อมาเป็นพลาสติกประเภท PA โพลีแอไมค์ (Polyamide) หรืออีกชื่อที่เราคุ้นหูมากกว่าก็คือ ไนลอน (Nylon)

พลาสติกประเภทนี้สามารถแบ่งย่อยไปได้อีกหลายชนิด แต่ที่เรานำมาใช้ผลิตบรรจุภัณฑ์ คือ Nylon6 มีคุณสมบัติเด่นคือ มีความเหนียวสูง เนื้อนิ่ม ทนต่อสารเคมี ตัวทำละลาย ความกรดและด่างได้ แต่ไม่สูงเท่า PE หรือ PP เราจึงนำมาใช้ผลิตจำพวก ขวดยาหยอดตา

ขวด pp ทนความร้อนได้กี่องศา

สุดท้ายพลาสติกประเภท PET โพลีเอทิลีน เทเรฟทาเลต (Polyethylene terephthalate)

ขวด pp ทนความร้อนได้กี่องศา

 

เป็นพลาสติกที่มีคุณสมบัติเด่นในด้านความใส มีความเหนียวสูง และป้องกันการซึมผ่านของไอน้ำ ก๊าซ และไขมันได้ดี เรามักพบเห็นพลาสติกประเภทนี้ได้เสมอในรูปแบบของขวดน้ำดื่ม

ขวด pp ทนความร้อนได้กี่องศา

 

และด้วยความใส ที่เป็นลักษณะเด่นของพลาสติกประเภทนี้ เราจึงนำมาผลิตเป็นบรรจุภัณฑ์เครื่องสำอาง สวยงามได้หลากหลายประเภท

ขวด pp ทนความร้อนได้กี่องศา

ไม่ว่าจะเป็น ขวดหัวปั๊ม ขวดสเปรย์ หรือกระปุกครีม แต่จะมีราคาสูงกว่าพลาสติกประเภทอื่นอยู่พอสมควร

ขวด pp ทนความร้อนได้กี่องศา

เป็นอย่างไรกันบ้างค่ะ กับสาระความรู้ ที่เรานำเสนอในวันนี้ เกี่ยวกับความแตกต่างของพลาสติกแต่ละประเภทหวังว่าจะเป็นประโยชน์ ให้กับทุกคนไม่มากก็น้อย นะคะ

พลาสติก pp กับ pe ต่างกันอย่างไร วันนี้เรามีคำตอบให้คุณ – พลาสติกทั้ง 2 ชนิดนี้เป็นเทอร์โมพลาสติกที่นิยมใช้ในหลายๆ อุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมอาหาร เป็นต้น เนื่องจากว้ามันเป็นพลาสติกคนละชนิด มันก็ย่อมมีข้อดี และข้อเสียที่ต่างกัน วันนี้เราจึงมาเปรียบเทียบกันให้ดูชัดๆ 

ความแตกต่างระหว่างพลาสติก PP และ PE 

1. ความสามารถในการทนต่อสารเคมีและความร้อน

อุณหภูมิสูง : พลาสติก PP จะทนต่ออุณหภูมิสูงได้ดีกว่า PE ค่อนข้างมาก โดยที่ PP นั้นสามารถทนต่อความร้อนได้สูงถึง 140ºC และ 170ºC ในขณะที่ PE สามารถทนต่อความร้อนได้สูงที่สุดแค่ประมาณ 105ºC เท่านั้นเอง

อุณหภูมิต่ำ :  PE สามารถที่จะจะทนต่ออุณหภูมิต่ำได้ดีกว่า โดยสามารถทนต่ออุณหภูมิต่ำๆได้สูงสุดถึง -80ºC ในขณะที่ PP นั้น เมื่อเจอกับอุณภูมิที่ต่ำกว่าจุดเยือกแข็งเล็กน้อย ก็จะเริ่มเปราะแล้ว ลองสังเกตุเวลาคุณนำถุง PP ไปแช่ช่องฟรีช ตัวถุงจะเปราะแตกได้ง่ายมาก

ความสามารถในการทนต่อสารเคมี: แม้ว่า PE จะได้เปรียบเรื่องความทนทาน แข็งแรงมากกว่า แต่ PP นั้นทนทานต่อสารเคมีต่างๆ ได้ดีกว่าพลาสติก PE

2.ความเบาและสีสัน

พลาสติก PP เป็นวัสดุที่มีน้ำหนักเบากว่า PE ค่อนข้างมาก เกี่ยวกับสี สีตั้งต้นของ PP จะเป็นสีขาว และโปร่งแสง ในขณะที่ PE นั้นจะมีความใสที่มากกว่า แต่ว่าพวกมันก็ต้องถูกนำไปผ่านกระบวนการอัดรีดทางอุตสาหกรรมต่างๆ เพื่อพัฒนาคุณสมบัติของมัน เช่น เพิ่มความโปร่งใส และความเหนียว เป็นต้น

 3. ความยืดหยุ่น

พลาสติก pp กับ pe ต่างกันอย่างไรด้านความยืดหยุ่น? PE เป็นพลาสติกที่มีความยืดหยุ่นสูง ยืดได้ง่าย ทำให้เป็นวัสดุที่เหมาะสำหรับการทำเป็นบรรจุภัณฑ์อาหาร และฟิลม์ห่ออาหารมากกว่า ส่วน PP นั้นมีความยืดหยุ่นน้อยกว่า PE ค่อนข้างมาก

4. ความสามารถในการรีไซเคิล

 บรรจุภัณฑ์อาหารที่ทำจากโพลีโพรพีลีนและโพลิเอทิลีนนั้นง่ายต่อการรีไซเคิล เนื่องจากวัสดุทั้งสองเป็นเทอร์โมพลาสติก  ซึ่งก็คือพลาสติกที่สามารถนำไปหลอมละลาย และนำมาทำเป็นวัสดุใหม่ซ้ำๆได้  ดังนั้นถ้าคุณมีเศษถุงที่ใช้งานแล้ว คุณสามารถขายต่อให้โรงงานรับรีไซเคิล

ขวด pp ทนความร้อนได้กี่องศา

5. คุณสมบัติอื่นๆ

บรรจุภัณฑ์ที่เข้าไมโครเวฟได้ : เนื่องจากพลาสติก PP สามารถทนต่ออุณหภูมิสูงๆได้ จึงเหมาะสำหรับการนำมาทำเป็นบรรจุภัณฑ์ที่เข้าไมโครเวฟได้

บรรจุภัณฑ์ PP เป็นวัสดุสามารถนำไปผ่านกระบวนการที่ใช้ความร้อนได้ เช่น การฆ่าเชื้อและการพาสเจอร์ไรส์  อย่างไรก็ตาม PE สามารถทนต่อการพาสเจอร์ไรส์เท่านั้น

จะเห็นได้ว่า พลาสติกทั้งสองชนิดต่างก็มีข้อดี และข้อเสียที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับว่าคุณจะใช้มันทำอะไร จบกันไปแล้วสำหรับบทความ “พลาสติก pp กับ pe ต่างกันอย่างไร” แล้วพบกันใหม่

แก้ว PET ทนความร้อน กี่องศา

4.การใช้ขวดพลาสติกชนิด PET ตามสเปคเนื้อพลาสติกทุกบริษัทเม็ดพลาสติกจะมีการระบุว่าเม็ดพลาสติกประเภท PET นั้น จะสามารถทนความร้อนได้ประมาณ 67 องศาเซลเซียส หลังจากนั้นขวดพลาสติก PET จะเริ่มเสียรูปทรง ดังนั้น ทางเราแนะนำให้ใช้บรรจุผลิตภัณฑ์ที่อุณหภูมิต่ำกว่า 67 องศาเพื่อให้ขวดพลาสติกยังสามารถคงรูปเดิมอยู่ได้ 100%

พลาสติก PP ทนความร้อนไหม

ทนความร้อนได้ 110 ℃ จึงสามารถใช้ใส่อาหารเข้าไมโครเวฟเพื่ออุ่นร้อนได้ ถาด PP สามารถนำไปรีไซเคิล และใช้ในอุตสาหกรรมที่ไม่ต้องสัมผัสอาหารได้อีกด้วย

พลาสติกทนได้กี่องศา

โดยทั่วไปแล้ว พลาสติกจะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) และเทอร์โมเซ็ตติ้ง (Thermo Setting) โดยพลาสติกที่สามารถทนต่อความร้อนได้ จะอยู่ในหมวดเทอร์โมพลาสติก ซึ่งพลาสติกทนความร้อน (ที่มากกว่า 100 องศาขึ้นไป) ได้แก่พลาสติกประเภท ABS , SAN/AS , PC , PP และ POM.

กล่องพลาสติก ทนความร้อนได้กี่องศา

ประเภทที่ 6 PS เนื้อใส แข็งแต่เปราะแตกง่าย ทนอุณหภูมิได้ในช่วง -20 ถึง 80 องศาเซลเซียส ใช้ทำกล่องและถาดโฟมถ้วยไอศกรีม และภาชนะประเภทใช้ครั้งเดียวแต่จะปล่อยสารสไตรีน (Styrene) ลงในอาหารเมื่อได้รับความร้อนจึงไม่ควรใช้กับเตาไมโครเวฟและใส่อาหารร้อนๆ โดยเฉพาะอาหารที่มีไขมันสูงซึ่งจะละลายสไตรีนออกมามากขึ้น อีกทั้งไม่ควรใช้ ...