ขั้น ตอน การทำกังหัน ไม้ไผ่

กังหัน เป็นของเล่นพื้นบ้านที่เรียกตามวัสดุที่นำมาทำกังหัน เช่น กังหันใบเพกา กังหันใบลาน กังหันใบตาล กังหันดอกไม้ไผ่ กังหันไม้ไผ่ และกังหันกระดาษ เป็นต้น กังหันที่ชาวบ้านเคยเล่นกันมาตั้งแต่เดิม คือ กังหันใบเพกา ส่วนกังหันไม้ไผ่ ชาวบ้านมักจะทำในช่วงฤดูเก็บเกี่ยวข้าว เพราะทำให้รู้แรงลมพัด และทิศทางเพื่อจะเป็นประโยชน์ต่อการนวดข้าวที่กองอยู่ในลาน

 

 

วิธีทำ

 

กังหันใบเพกา

 

1. นำฝักเพกาตัดปลายฝักทั้ง 2 ข้าง แล้วแกะเปลือกออกจากกัน นำเม็ดอยู่ในฝักนั้นทิ้ง

 

2. ใช้มีดปลายแหลมกรีดเพกาซีกหนึ่งให้ทะลุเป็นรอย เพื่อให้ฝักเพกาอีกส่วนหนึ่งสอดรอย ที่เตรียมไว้เป็นรูปกากบาท

 

3. เจาะรูกลมๆ ตรงกึ่งกลางเพื่อใช้ไม้สอดรูหมุน ส่วนไม้อีกด้านหนึ่งใช้จับถือ

 

 

 

กังหันใบลานและกังหันใบตาล

 

1. นำใบลานหรือใบตาลมาขัดเป็นลายสอง สานหักมุมด้านขวา ตลอดปลายใบกังหันที่สานขัดเสร็จแล้วจะมี 8 เส้น

 

2. เจาะรูตรงกลางตัวกังหัน

 

3. เหลาแกนไม้ไผ่สอดรูให้หมุนเมื่อปะทะลม

 

 

 

กังหันไม้ไผ่

 

1. ใช้มีดผ่าไม้ไผ่ให้เป็นซีกบางๆ เหลาให้เรียบร้อย

 

2. เจาะรูขนาดใหญ่ตรงกึ่งกลางของตัวกังหัน เพื่อใช้แกนไม้สอดให้หมุน

 

3. ใช้มีดปาดข้อปล้องปลายไม้ไผ่ทั้ง 2 ข้างออก เพื่อทำหลอดเสียง หรือ ชาวบ้านเรียกว่าหวูดเสียง เมื่อลมพัดกังหันหมุน รูหวูดเสียงจะมีเสียงดัง

 

4. ใช้ครั่งลนไฟ พอกปลายกระบอกหลอดเสียง

 

 

 

วิธีเล่น

 

กังหันใบเพกา กังหันใบลาน และกังหันใบตาล กังหันประเภทนี้จะไม่มีเสียงดัง ซึ่งเด็กๆ มักจะถือวิ่งกันตามถนนหนทางหรือตามท้องไร่ท้องนา ส่วนกังหันไม้ไผ่ที่มีกระบอกหลอดเสียงมักจะตั้งไว้กับแกนไม้ไผ่ หรือนำไปผูกมัดกับต้นไม้กลางทุ่ง เวลาลมพัดจะเกิดเสียงดัง กระบอกหลอดเสียงกังหันไม้ไผ่นั้น หากใช้กระบอกที่เป็นหลอดเสียงใหญ่ เสียงจะดังกังวาน ถ้าเป็นกระบอกหลอดเสียงเล็ก เสียงจะแหลมเล็ก ชาวบ้านใช้หญ้าคาทำเป็นหางกังหัน สามารถหมุนไปโดยรอบทิศทางที่ลมพัดมา 

��Ե�ѳ��ѧ�ѹ�����

1. ����������Ф����Ӥѭ

         �������ѡ��� �ط�Ի�����԰ �������ҵӺ�������§ ������ʹ� �ѧ��Ѵ
��й�������ظ�� �繼����������Ѵ�ӡѧ�ѹ��Өҡ����� ����������ѧ�����
������ʶҹ�֡�������§ ���������������������㹤�ͺ����

2. ��ʴ��ػ�ó�����㹡�ü�Ե

1. �������
2. ��ǹ���������
3. �����
4. 䢤ǧ
5. ����֧���
6. �͡���
7. ����ҧ
8. ������9. ����ǡ
10. ��͵������ҧ
11. �������
12. �л٤ǧ
13. ���
14. ���ҹ
15. �蹡�֧

3. �Ըմ��Թ���

         1. �Ѵ�������� 12, 15, 20, 24 ���� ���ҧ�� 1 ��͹ ����ٴ�ҹ˹�����
��ҹ��ҧ����ӴѺ
         2. �Ѵ�������§ (��ҹ˹�觵Ѵ�ç �ա��ҹ˹�觵Ѵ��§����ҳ 45 ͧ��)
��Ҵ��� 8 ��� 12 ����
         3. �Ѵ����ǡ��� 14 ���� ��� 17 ���� ���ҧ�� 1 ��͹ �����繰ҹ���
��ǹ��Сͺ���
         4. �Ѵ����ǡ��Ҵ��鹼�ҹ�ٹ���ҧ 1.5 ���� ��� 12 ���� ��� 8 ���� ���ҧ��
1��͹
         5. ��֧�����˹ع ��鹼�ҹ�ٹ���ҧ 1.5 ���� ˹� 1.2 ���� ������ͺ�ӹǹ
15 ��
         6. ����᡹��ҹ 6 ���� ���������
         7. �Ѵ����ǡ��� 2 ���� ���ǹ��Ҽ�Ҥ���������������º�Ѻ᡹������Сͺ
��㺾Ѵ�ӹǹ 15 �ѹ
         8. ���º����ҧ��ТѴ�������ҧ��������
         9. ��Сͺ��й�价��ͧ��

4. �ż�Ե

         ����ö��任�дѺ�����ǹ����� ���ͺ���dz��ҹ���ͤ�����§��

5. �ѭ���ػ��ä

         �ѧ�ѹ��������ҹ � �Ҩ�����ʹ������������

6. �Ҿ��Сͺ��鹵͹��ô��Թ�ҹ

ขั้น ตอน การทำกังหัน ไม้ไผ่

�Ѵ�����

ขั้น ตอน การทำกังหัน ไม้ไผ่

���¡ѹ��Сͺ�ѧ�ѹ

ขั้น ตอน การทำกังหัน ไม้ไผ่

��Сͺ�ѧ�ѹ��ͺ��������ó�

ขั้น ตอน การทำกังหัน ไม้ไผ่

�ѧ�ѹ��Өҡ�������ҡ�����ٻẺ

ประกอบอาชีพอะไรอยู่แล้วเกิดปัญหา ก็ไม่ได้หมายความว่าจะประกอบสัมมาอาชีพ อื่น ๆ ต่อไปไม่ได้ หลายคนเหลียวมองสิ่งรอบตัวแล้วก็เกิดไอเดีย-เกิดอาชีพทดแทนใหม่ ๆ ขึ้นมา... ดังเช่น “บุญลือ สืบจากสี” กับสินค้า “กังหันวิดน้ำ” ทำจาก “ไม้ไผ่”  เจ้าของไอเดียงานประดิษฐ์ "กังหันวิดน้ำไม้ไผ่" เล่าว่า เดิมทีมีอาชีพเปิดแผงขายผลไม้ให้กับนักท่องเที่ยวอยู่หน้าแหล่งท่องเที่ยววังตะไคร้ จ.นครนายก แต่พอเกิดเหตุการณ์น้ำป่าไหลหลากจนสถานที่ท่องเที่ยวปิดตัวลง ระหว่างนั้นก็คิดว่าน่าจะหาอะไรทำเพื่อเป็นอาชีพทดแทนไปก่อน พอดีเห็นกังหันวิดน้ำอันมหึมาที่ตั้งอยู่หน้าวังตะไคร้ แล้วเกิดไอเดีย คิดว่าน่าจะลองนำมาจำลองทำเป็น "ของที่ระลึก" ขายนักท่องเที่ยว

"ทดลองทำขาย 10 ตัวช่วงวันเด็ก ปรากฏว่าขายหมด ทำเพิ่มอีกก็ขายหมดอีก จึงคิดว่าน่าจะพอเป็นช่องทางสร้างรายได้ที่ดี ก็เลยทำจริงจังในจำนวนที่มากขึ้น และพยายามปรับปรุงรูปแบบใหม่ ๆ ออกมา"

ต่อมาก็มีการรวมตัวจัดตั้งเป็นกลุ่มขึ้นมา โดยอาศัยเครือญาติคนในครอบครัวเป็นแรงงานภาคผลิต แบ่งหน้าที่กันทำ เพราะสินค้าเริ่มมียอดสั่งซื้อเข้ามามากจนไม่สามารถทำคนเดียวไหว มีลูกค้าสั่งทำและสั่งซื้อจากทั่วประเทศ เรียกว่าจากเหนือจดใต้เลยทีเดียว กังหันวิดน้ำที่ทำนั้น มีอยู่ราว ๆ 30 กว่าแบบ แต่จะเพิ่มแบบมากขึ้นไปเรื่อย ๆ เพราะลูกค้าอาจเบื่อรูปแบบเก่า ๆ และอีกส่วนก็เพราะมีคนลอกเลียนแบบงาน จึงจำเป็นต้องคิดแบบใหม่ ๆ เพื่อหนีกลุ่มที่ชอบก๊อบปี้ "งานของเราไม่ได้จดลิขสิทธิ์ไว้ แต่จุดแข็งของเราคืองานมีความทนทานสูง เนื่องจากวัตถุดิบไม้ไผ่จากแหล่งนครนายกเป็นไม้ไผ่ที่ไม่แตกง่าย"  ราคาขายนั้น บุญลือบอกว่า ขึ้นอยู่กับแบบและขนาดของกังหัน

ขั้นตอนการทำ...

เริ่มจากนำไม้ไผ่มาตัดแบ่งตามขนาดที่ต้องการ โดยขูดผิวให้ผิวสีเขียวให้เหลือแต่ผิวสีเหลืองอย่างเดียว สำหรับส่วนต่าง ๆ ของกังหันนั้นแบ่งออกเป็น - ไม้สำหรับยึดตัวแกนกังหันไว้ตรงกลางทั้ง 2 ข้าง - ไม้สำหรับใช้ทำฐานวางกังหัน ตัวแกนกังหัน ใบพัด และตุ๊กตาวิดน้ำ
ตุ๊กตาวิดน้ำจะใช้ไม้ไผ่และไม้เนื้ออ่อนประกอบกัน กล่าวคือในส่วนลำตัวจะใช้ไม้ไผ่


ขณะที่ส่วนหน้าตาของตุ๊กตาหรือหมวกจะใช้ไม้เนื้ออ่อน ตัดตามรูปทรงที่ต้องการ แล้วนำมาประกบกันด้วยกาวหรือตะปู
ส่วนแกนกังหันให้นำลวดแข็งมาสอดจนทะลุจากปลายด้านหนึ่งถึงอีกด้านหนึ่ง


จากนั้นนำไม้ไผ่ที่ตัดแล้วมาวัดหาเส้นรอบวงเพื่อคำนวณระยะห่าง สำหรับเจาะรูเพื่อใส่แกนของใบพัด ซึ่งใช้สูตรง่าย ๆ คือ... "ความยาวของแกนกังหันมีขนาดเท่าไหร่ก็ให้เอา 8 หาร ได้เท่าไหร่ก็คือระยะห่างระหว่างรูที่เจาะสำหรับใส่แกนใบพัดของกังหัน"
เมื่อได้ส่วนประกอบต่าง ๆ แล้วก็ให้นำมาประกอบกันขึ้นเป็นตัวกังหัน โดยการประกอบก็ใช้กาวร้อนและตะปูยึดติดในส่วนต่าง ๆ ซึ่งเป็นวิธีแบบง่าย ๆ


"หากเป็นงานไม่ละเอียดมากส่วนใหญ่ก็จะใช้กาวและตะปูเป็นตัวยึด แต่สำหรับงานที่ต้องการความละเอียดหรือเป็นงานที่ลูกค้าระบุมาว่าไม่ต้องการให้มีโลหะก็จะใช้วิธีการตอกลิ่มแทน" เมื่อประกอบเป็นกังหันเสร็จ ก็นำมาเคลือบน้ำมันยูริเทนเพื่อรักษาเนื้อไม้ ตั้งทิ้งไว้ให้แห้งก็เป็นอันเสร็จ
ถ้าต้องการให้กังหันวิดน้ำต่อเนื่องเร็วขึ้น หรือไม่ต้องการให้สิ้นเปลืองน้ำ ก็แนะนำว่าให้ใช้ที่ดูดน้ำวน สำหรับใส่ตู้ปลาติดตั้งเพิ่มเข้าไป โดยราคาอุปกรณ์ที่ว่านี้ไม่น่าจะเกิน 100 บาท หาซื้อได้ตามร้านขายปลาตู้ "
และหากต้องการให้กังหันปลอดจากมอดหรือปลวก ก็ให้ทาน้ำยาเคลือบป้องกันปลวกก่อนที่จะเคลือบยูริเทน แต่ต้องแนะนำกับลูกค้าด้วยว่าซื้อไปแล้วหากจะนำไปใส่ในอ่างน้ำที่เลี้ยงปลา ควรตั้งทิ้งไว้ระยะหนึ่งก่อน มิฉะนั้นอาจเป็นอันตรายกับปลาได้"

...เป็นเคล็ดลับที่บุญลือฝากทิ้งท้าย


ใครที่สนใจ "กังหันวิดน้ำ" แบบย่อส่วน ทำจากไม้ไผ่ ต้องการติดต่อกับบุญลือ ก็ติดต่อไปได้ที่ 42/3 หมู่ 9 ต.หินตั้ง อ.เมือง จ.นคร นายก โทร.08-1374-5470, 08-9532-8725 หรือ 0-3738-4030

นอกจากจำหน่ายที่กลุ่มและจำหน่ายแบบส่งเป็นพัสดุแล้ว สำหรับคนที่สนใจอยากฝึกฝนการทำ บุญลือบอกว่า...ไม่หวงวิชา แต่ต้องลองไปพูดคุยกันก่อน ถูกชะตา-คุยกันถูกคอ...ก็ยินดีจะสอนให้ !!.