รายงานสุขศึกษา พลศึกษา ทช31002

โครงสร้างรายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(ทช31002) สาระสําคัญ ศึกษา ฝึกปฏิบัติ และประยุกต์ใช้เกี่ยวกับสุขศึกษา พลศึกษา เรื่องเกี่ยวกับระบบต่าง ๆ ของร่างกายเป้าหมายชีวิต ปัญหาเกี่ยวกับเพศศึกษา อาหารและโภชนาการ เสริมสร้างสุขภาพ โรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ปลอดภัยจากการใช้ยา ผลกระทบจากสารเสพติด อันตรายรอบตัว และทักษะชีวิตเพื่อสุขภาพจิต เพื่อใช้ประโยชน์ในการวางแผนพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว นําไปประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจําวันในการดําเนินชีวิตของตนเอง และครอบครัวไดอยางเหมาะสม ปลอดภัย ผลการเรียนที่คาดหวัง

  1. อธิบายการทํางานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายได้ถูกต้อง
  2. วางแผนเป้าหมายชีวิต ตลอดจนเรื่องปัญหาเกี่ยวกับเพศศึกษาได้
  3. เรียนรู้เรื่องการวางแผนในการสร้างเสริมสุขภาพเกี่ยวกับอาหาร
  4. อธิบายถึงโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้
  5. วางแผนป้องกันเกี่ยวกับอุบัติเหตุ อุบัติภัยได้อย่างถูกต้อง
  6. มีความรู้ในการพัฒนาทักษะชีวิตให้ดีได้ ขอบข่ายเนื้อหา บทที่ 1 เรื่อง การทํางานของระบบในร่างกาย บทที่ 2 เรื่อง ปัญหาเพศศึกษา บทที่ 3 เรื่อง อาหารและโภชนาการ บทที่ 4 เรื่อง การเสริมสร้างสุขภาพ บทที่ 5 เรื่อง โรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม บทที่ 6 เรื่อง ความปลอดภัยจากการใช้ยา บทที่ 7 เรื่อง ผลกระทบจากสารเสพติด บทที่ 8 เรื่อง ทักษะชีวิตเพื่อสุขภาพจิต บทที่ 9 อาชีพจําหน่ายอาหารสําเร็จรูปตามสุขาภิบาล

1

2

เอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรู

รายวชาสุขศกษา พลศึกษา

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

รหัส ทช31002

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พุทธศักราช 2551

สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

กระทรวงศึกษาธิการ

หามจําหนาย

หนังสือเรียนนี้จัดพิมพดวยเงินงบประมาณแผนดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน

ลิขสิทธิ์เปนของสํานักงาน กศน.สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

ĵijļĵ

ˬ øூ Б ijͭ ͘ ໨ ˬ Ĝĵúˬ Б ij຋ļijļļБ ļļˬ üÿˬ О ˬ ૑ ĵБ ᶝ ˬ Б ͎ ߴ ĵļБ ϋ øூ ĵijđˬ øø݄ ˬ О Б ͗ Б ߣ ˬ ͘ Б ೼
Б
ˬ ĵ˙ õø˙ ļூ ༧ О ॗ ˬ ìĖijijijļˬ Б ͎ ɺ ęˬ øɺߴ ˬ ļБijσऀ ļˬ ͠ ΋ Б З ĕБ ļʯ ɺ ூ ìБ ˙ ˙ Б Б Ļʯ σ ÷ʯ ˙ ɻ ˬ øூ ijđĜ
ijБ Ϳ Ķؔ
ijij͘ Г ĻĻļļççijˬ ÿøΠЗ ͟ ˬ ĨĴijˬ Б ijԿ ˬ О Б ˙ Ķˬ øÿøøО üூ ˬ Ĝˬ Б üݞ ˬ О Б ˙ ˙ ଱ ࢹ ᝔ ø˙ ᶝ Б ü᝷ ˬ ʋ Б ˙ ùüüø

øļĵБ ij० ˬ ˬ Б ɺ Կ ˬ О Б ijࡁ ˅ ijijˬ Ĩĕē΋ Б Ь ĻĻБçļˬ ͘ ˬ ĨĵĶçĻĻĨĻĻĻथ Ķ͠ ø˙ ˬ øøޱ ĖçĐđçĨ˙ Ķ͘ ļijļijijБ ļ˙ ÷͘

ĵijூБ ijͬ ͘ ಉ ˬ ļБúˬ ijİijļˬ Б ij೔ ˬ øூ ˬ ijđĻĻĨĨĻĻĘБ Įᶜ ij͘ ˬ Б ɺ ø߸ ļļ߶ Ķ͘ ĻĻĻĜļˬ ĵļõЗ Ĩˬ ಇ ɺ ˬ Б ij໨ ˬ О Б ˙ ÷ˬ
А ႄ
ʋ ÿĜО ijூ ĵijđˬ Б ɺ ೔ ˬ ļ˙߶ ļᶜऽ İĵ˙ ཨ Б úĵˬɺ Б ìùüüøøξ Ĩ͘͏ ļˁБ ߣ ˬ ͘ Б ļˬԿ ˙ õø͘Ļ੪͏ ˬ σ ĵĨijʯ ͠ ԧ ĶЬБ

σ ݙ ú͘ ৱ ͘ ̊ ூ β ijijσ ā߸ Ĝݱ ͠ ΋ Б Β ͘ ͕ ÷ø੪Ĩூ ˬ Б ˬ āĘˬ ͠ ø÷üጫ ० ூ ī͘ Ҽ Ĩijᕸ Г ཛྷ ĻĻļࢹ һ Ҽ ĨijĻĻБ ᶜ ıБ Б ͘ ˬ Б İĻijĜļ
͞ Ϳ
ˬ۟˙
Ĩijʯ ͠ ĖĶЗ Б σ ੪ ÷͘ ຋ ҙ ēĤĖЬ Б ĻĻБ̊ Б ˬ ˬ Б ijʱ Ь Б ͣ ࢠ ĘĨɻ øøÿõìĶijϏ Б ߣ ˬ ͘ Б ļˬĵļõ५Б Ĩijʯ ē౗ ĶЬБ

ʯ øூ ēˬ ļúøˬ ଆ ᶜ ĨĶˬ ˬ ĨĶ͘ ĴБ ٭ Ҽ ͘ ˬ Б ø÷÷ˬ ߶ ĖĨĖОijļēēĴĨூ ijБ ļБ ìБ ߶ ÷͘ Ĩĵ˙ ˬ ͘ Б ˙ ˬ ᝷ ˙ õĨĵЬ ijijđ

ĸσ
ēĖˬ Ĩĵøúøʯ ē͏ ĶᶜБσ੪ Ķ͘А౗ˁБ ߣ ˬ͘ БļçĨĵ˙ õø౼ϛ øøøļٷ ìБጬગ σĘĨ˙ üçĨĵijூ ijĶøçûùçüБ ļýìБ
ړ౗ˁБߣˬ͘Б ˙ˬ˙õø੪ēĚཱུ Г ०
ి
ĻĻĜĘìБ ˬ БļĻø÷ᶜ ij೔ˬ ОБĘ͠ᶜԿ όβˬýìБ ˬБ ͎ĨĵОБˬøॗĨĖ˙ ēēĨூ
ʠ
А øʯ İij˙ ijБ ĜýìБ ДĘˬ͗ББ
ГόĜͭ΋ú͘ ా Б ি Г౗ĶЬБσ੪ ÷͘
ˁ Б ߣ ˬ ͘ Б ࢹ ˬ Կ ˙ õᶜͭ ͘ ēij੍ ĖđБ ͘ ͮ ͘ ͮ Б ० ூ ēij˙ ʯ øூøÿìʯ ˅ О ೔ ˬ ĵ໌ õЗ ˁ ˬ Ĵijˬ Б ij໨ ˬ ļij
ĻĻē߸ ᝔
ɾ
˙ ÷ˬ øூ ijijijøøூ ˬ О ˬ øüĵˬ О Б ĻĻļᶝ ˙ üБ ऽ ᶝ Б üĵˬ ijБìùüüøçĴБ ĻĻĨ५ ˬ Б ijç ͘ Б ˙ ĶĖđĖО ĵĨđçúĶБ ļ˙ ˬ Կ ļõ
ĵБ ˬ Б ˬ ĵБ ˬ ĮĨĵļ˙ ˬ Б ijĨĵОБ ᶜ Б ͘ ijˬ ĨͿ ēİļБ ìБ ՙ ి ĵ˙ Г ʯ ĖЬ Б ߴ ˬ О Б Ęēᶜ ĵό ˙ Ĩü˙ ijĵijøýˬ ļБ

ˬ ͜ ࿨ ÷ɾ ൺ Ĩூ ό ; ĜĘِ͘ ĕБçĻĻçijĶˬ ĵĨİ

ēĨ० øüˬ Б üˬ Կ ˙ õ

ú͘ ĝБ ˬ ५ ùüüĀ

3

สารบัญ

หนา

คํานํา

คําแนะนําการใชเอกสารสรุปเนื้อหาที่ตองรู

โครงสรางรายวิชา

บทที่ 1 ระบบตาง ๆ ของรางกาย 1

เรื่องที่ 1 โครงสราง หนาที่ และการทํางานและการดูแลรักษาระบบ 2

อวัยวะที่สําคัญของรางกาย

เรื่องที่ 2 การวางแผนและปฏิบัติตนเพื่อการเสริมสรางพัฒนาการ 3

ดานสุขภาพของตนเองและครอบครัว

กิจกรรมทายบท 16

บทที่ 2 ปญหาเพศศึกษา 18

เรื่องที่ 1 การสื่อสาร ตอรองและการขอความชวยเหลือเกี่ยวกับปญหา 19
ทางเพศ

เรื่องที่ 2 การจัดการกับอารมณและความตองการทางเพศ 20
เรื่องที่ 3 ความเชื่อที่ผิด ๆ ทางเพศที่สงผลตอสุขภาพทางเพศ 21

เรื่องที่ 4 อิทธิพลของสื่อตาง ๆ ที่สงผลใหเกิดปญหาทางเพศ 23

เรื่องที่ 5 กฎหมายที่เกี่ยวของกับการละเมิดทางเพศและกฎหมาย 24

คุมครองเด็กและสตรี

กิจกรรมทายบท 30

บทที่ 3 อาหารและโภชนาการ 31

เรื่องที่ 1 โรคขาดสารอาหาร 32

เรื่องที่ 2 การสุขาภิบาลอาหาร 35

เรื่องที่ 3 การจัดโปรแกรมอาหารใหเหมาะสมกับบุคคลกลุมตาง ๆ 38

กิจกรรมทายบท 42

4

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทที่ 4 การเสริมสรางสุขภาพ 43

เรื่องที่ 1 การรวมกลุมเพื่อเสริมสรางสุขภาพในชุมชน 44

เรื่องที่ 2 การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ 47

กิจกรรมทายบท 53

บทที่ 5 โรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม 54
เรื่องที่ 1 โรคที่ถายทอดทางพันธุกรรม 55

เรื่องที่ 2 การวางแผนรวมกับชุมชนเพื่อปองกันและหลีกเลี่ยงโรคติดตอ 59

และโรคที่เปนปญหาสาธารณสุข
เรื่องที่ 3 ผลกระทบของพฤติกรรมสุขภาพที่มีตอการปองกันโรค 61

เรื่องที่ 4 ขอมูลขาวสารและแหลงบริการเพื่อการปองกันโรค 62

กิจกรรมทายบท 64

บทที่ 6 ความปลอดภัยจากการใชยา 66

เรื่องที่ 1 หลักการและวิธีการใชยา 67

เรื่องที่ 2 ความเชื่อเกี่ยวกับการใชยา 71

เรื่องที่ 3 วิเคราะหอันตรายจากการใชยาการปองกันและการชวยเหลือ 75

เรื่องที่ 4 การแนะนําในการเลือกใชขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการใชยา 80

กิจกรรมทายบท 82

บทที่ 7 ผลกระทบจากสารเสพติด 83

เรื่องที่ 1 การวิเคราะหปญหา สาเหตุ และผลกระทบจากการแพร 84

ระบาดของสารเสพติด

เรื่องที่ 2 การมีสวนรวมในการปองกันสารเสพติดในชุมชน 86

เรื่องที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวของกับสารเสพติด 88

กิจกรรมทายบท 91

5

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทที่ 8 ทักษะชีวิตเพื่อสุขภาพจิต 92

เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคัญของทักษะชีวิต 10 ประการ 93

เรื่องที่ 2 ทักษะชีวิตที่จําเปน 3 ประการ 94

เรื่องที่ 3 การประยุกตใชทักษะชีวิตในการทํางาน การปรับตัวและ 98

การแกปญหาชีวิต
เรื่องที่ 4 การแนะนํากระบวนการทักษะชีวิตในการแกปญหากับผูอื่น 98

กิจกรรมทายบท 100
บทที่ 9 อาชีพจําหนายอาหารสําเร็จรูปตามสุขาภิบาล 101

เรื่องที่ 1 ลักษณะธุรกิจผลิตอาหารสําเร็จรูป 102

เรื่องที่ 2 วิธีการดําเนนงานของธุรกิจผลิตและจําหนายอาหารสําเร็จรูป 103

เรื่องที่ 3 คุณสมบัติรานอาหารหรือสถานที่จําหนายอาหารสําเร็จรูป 108

ตามหลักสุขาภิบาล

กิจกรรมทายบท 109

เฉลยกิจกรรมทายบท 110

บรรณานุกรม 124

คณะผูจัดทํา 126

6


คําแนะนําในการใชเอกสารสรปเนื้อหาที่ตองรู

ื้
ี้
หนังสือสรุปเนื้อหารายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา เลมนเปนการสรุปเนอหาจาก หนงสือ


เรียน สาระทักษะการดําเนนชีวิต รายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา ทช 31002 ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาชนพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ั้
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) เพื่อใหผูเรียน กศน. ทําความเขาใจและเรียนรูในสาระสําคัญ

ของเนื้อหารายวิชาสําคัญ ๆ ไดสะดวก และสามารถเขาถึงแกนของเนื้อหาไดดีขึ้น

ี้
ื้

ในการศึกษาหนงสือสรุปเนอหารายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา เลมน ผูเรียน
ควรปฏิบัติ ดังนี้

1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา จากหนังสือเรียนสาระทักษะการดําเนิน

ชีวิต รายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา ทช 31002 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หลักสูตรการศึกษา

ั้
นอกระบบระดับการศึกษาชนพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) ใหเขาใจ
กอน

2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของหนังสือสรุปเนื้อหารายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา ใหเขาใจ

อยางชัดเจน ทีละบท จนครบ 9 บท

ื้
3. หากตองการศึกษารายละเอียดเนอหารายวิชาสุขศึกษา พลศึกษา เพิ่มเติม ผูเรียน
กศน. สามารถ ศึกษาหาความรูเพิ่มเติมจากตํารา หนงสือเรียนที่มีอยูตามหองสมุดหรือราน

จําหนายหนังสือเรียน หรือครูผูสอน

1

บทที่ 1

ระบบตาง ๆ ของรางกาย

สาระสําคัญ

อวัยวะตางๆ ทุกสวนของรางกายคนเรา ทํางานสัมพันธกันเปนระบบ ทุกระบบ ตางมี

ความสําคัญตอรางกายทั้งสิ้น หากระบบใดทํางานผิดปกติจะสงผลกระทบตอระบบ อื่นๆ ดวย

เราจึงควรรูจักปองกัน บํารุงรักษาอวัยวะตาง ๆ ในทุกระบบ ใหสมบูรณแข็งแรงทํางานได

ตามปกติอยูเสมอ จะชวยใหเรามีสุขภาพที่ดี

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

1. อธิบายความสําคัญของระบบอวัยวะแตละระบบได

2. บอกโครงสรางของระบบอวัยวะแตละระบบได

3. อธิบายหนาที่และการทํางานของอวัยวะแตละระบบได

4. บอกวิธีการดูแลปองกันความผิดปกติของระบบอวัยวะ 6 ระบบได

5. อธิบายวิธีการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพของระบบอวัยวะ 6 ระบบได

6. วางแผนการเสริมสรางพัฒนาการของตนเองและครอบครัวได

7. ปฏิบัติตนเพื่อการเสริมสรางพัฒนาการของตนเองและครอบครัวได

ขอบขายเนื้อหา


เรื่องที่ 1 โครงสราง หนาที่ และการทํางานและการดูแลรักษาระบบอวัยวะที่สําคัญ
ของรางกาย

- ระบบหายใจ

- ระบบยอยอาหาร

- ระบบขับถาย

- ระบบสืบพันธุ

- ระบบตอมไรทอ

- ระบบประสาท

เรื่องที่ 2 การวางแผนและปฏิบัติตนเพื่อการเสริมสรางพัฒนาการดานสุขภาพ

ของตนเองและครอบครัว

2

เรื่องที่ 1 โครงสราง หนาที่ และการทํางานและการดูแลรักษาระบบอวัยวะที่สําคัญ

ของรางกาย

ระบบอวัยวะของรางกาย ทําหนาที่แตกตางกันและประสานกันอยางเปนระบบ

ซึ่งระบบที่สําคัญของรางกาย มีโครงสราง หนาที่และการทํางาน ดังนี้

1. ระบบหายใจ


การหายใจเปนกระบวนการนา
ออกซิเจนในอากาศเขาสูปอด โดย

ออกซิเจนจะไปสลายสารอาหารและได

พลังงานออกมารวมถึงการกําจัด

คารบอนไดออกไซดซึ่งเปนของเสียออก

จากรางกาย

ทางเดินหายใจ ประกอบดวยอวัยวะตางๆ

ดังน ี้
1. จมูก (Nose) ภายในจะมีเยื่อบุจมูก และขนจมูก ซึ่งชวยกรองฝุนละออง

2. คอหอย (Pharynx) หลอดอาหารและหลอดลมจะมาพบกันที่คอหอย

3. กลองเสียง (Larynx) อยูโคนลิ้นเขาไป ในผูชายเรียกวาลูกกระเดือก

4. หลอดลม (Trachea) อยูตอจากกลองเสียง ผนังดานในจะมีเมือกคอยกักฝุนละออง

ไมใหผานเขาไปถึงปอด

5. ขั้วปอด (Bronchus) มี 2 ขางอยูปลายสุดของหลอดลม

6. ปอด (Lung) จะอยูภายในทรวงอกทั้ง 2 ขาง ลักษณะคลายฟองน้ํามีความยืดหยุนมาก

ภายในปอดจะมีถุงลมซึ่งเปนจุดและเปลี่ยนอากาศดีและอากาศเสีย

กระบวนการหายใจ



รางกายของเราตองการออกซิเจน เพื่อการดํารงชวิต โดยกลไกลของการหายใจเขา และ
หายใจออก ดังนี้

1. การหายใจเขา เกิดจากกลามเนื้อกะบังลมหดตัว ซึ่งทําใหความดันภายในปอดลดลง

อากาศภายนอกจึงเขามาแทนที่ได

3

ื้
2. การหายใจออก เริ่มขึ้นเมื่อกลามเนอกะบังลมคลายตัว ทําใหความดันภายในปอด
เพิ่มสูงขึ้นกวาความดันบรรยากาศ อากาศจึงไหลจากปอดสูบรรยากาศภายนอก

การดูแลปองกันความผิดปกติของระบบหายใจ

1. หลีกเลี่ยงที่ที่อากาศไมบริสุทธิ์ เพราะจะทําใหไดรับสารพิษ

2. หาโอกาสไปอยูที่ที่อากาศบริสุทธิ์หายใจ เชน ตามทุงนา ปาเขา ชายทะเล เปนตน

3. ไมสูบบุหรี่ และไมอยูใกลคนสูบบุหรี่

4. ควรตรวจสภาพปอดดวยการเอกซเรยอยางนอยปละ 1 ครั้ง


5. หลีกเลี่ยงการอยูใกลชิดคนที่เปนโรคติดตอทางลมหายใจ
6. เมื่ออากาศเปลี่ยนแปลง ควรรักษาความอบอุนของรางกายอยูเสมอ

7. ออกกําลังกายใหรางกายแข็งแรงอยูเสมอ จะทําใหความจุปอดดีขึ้น

8. ถามีความผิดปกติเกี่ยวกับระบบหายใจควรรีบพบแพทย

2. ระบบยอยอาหาร

หลังจากกินอาหารเขาไป อาหารจะถูก

ยอยสลายเปนสารที่มีโมเลกุลขนาดเล็กไมซับซอน เชน
กลูโคสหรือกรดอะมิโน การยอยอาหารทําไดโดยการ



เคี้ยวบด และใชสารเคมีพวกเอนไซนตาง ๆ เขาชวยเพื่อ
เรงปฏิกิริยาการยอยอาหารใหรวดเร็วขึ้น อาหารที่ยอย

แลวจะถูกขับออกจากรางกาย

โครงสรางและหนาที่ของอวัยวะในระบบยอยอาหาร

1. ปาก ใชฟนบดเคี้ยวอาหารใหละเอียด

2. คอหอย เปนทอที่อยูระหวางดานหลังของปากและหลอดลม

3. หลอดอาหาร จะลําเลียงอาหารไปยังกระเพาะอาหาร

4. กระเพาะอาหาร มีลักษณะเปนถุงขนาดใหญ ผนังในกระเพาะจะเปนลูกคลื่น

น้ํายอยในกระเพาะอาหารจะชวยยอยและละลายขนาดของอาหารใหมีอนุภาคเล็กลง

5. ลําไสเล็ก ทําหนาที่ดูดซึมสารอาหารเขาสูกระแสเลือด

4

6. ลําไสใหญ เปนที่รับกากอาหารจากลําไสเล็กและกลายเปนอุจจาระ ลําไสใหญ

สวนตนจะมีไสติ่งยื่นออกมา ลําไสใหญสวนกลางเรียกวาไสตรง
7. ตับ เปนอวัยวะที่เกี่ยวของกับการยอยอาหารและกระบวนการเมตาบอลิซึมของ

้ํ
รางกาย ทําหนาที่ผลิตนาดีออกสูลําไส เพื่อชวยใหไขมันถูกยอยและดูดซึมงายขึ้น สรางเม็ด


เลือดในวัยทารก ควบคุมปริมาณเลือด ควบคุมเมตาบอลิซึมของคารโบไฮเดรต ไขมัน และ
โปรตีน เปนแหลงสะสมแรเหล็ก ทองแดง วิตามินเอ วิตามินดี และวิตามินบีสอง นอกจากนตับยัง
ี้
เปนแหลงผลิตความรอนที่สําคัญของรางกาย

8. ถุงน้ําดี สรางจากตับ น้ําดีจําเปนตอการยอยอาหารประเภทไขมัน ขับสีและของ


้ํ
เสียอื่น ๆ ออกจากรางกาย ดูดซึมวิตามินเอและเค เกลือนาดี ทําหนาที่ดูดซึมไขมันและ
ควบคุมคอเลสเตอรอล ใหอยูในสภาพสารละลาย

9. ตับออน เปนอวัยวะที่ตั้งอยูใตตับและกระเพาะอาหาร ทําหนาที่ผลิตน้ํายอย

ฮอรโมนอินซูลินและกลูคากอน

การดูแลปองกันความผิดปกติของระบบยอยอาหาร

1. รับประทานอาหารใหครบทุกประเภทในแตละมื้อ และรับประทานอาหาร

แตพอควร ไมมากหรือนอยจนเกินไป โดยเคี้ยวอาหารใหละเอียด

2. รับประทานอาหารที่สะอาด และปรุงสุกใหม ๆ
3. ไมรับประทานอาหารพร่ําเพรื่อ จุกจิก และทานใหตรงเวลา

4. อยารีบรับประทานอาหารขณะกําลังเหนื่อย
5. ไมควรรับประทานอาหารที่มีรสจัดจนเกินไป

6. ถายอุจจาระใหเปนเวลาและสม่ําเสมอ

3. ระบบขับถาย

การขับถายเปนกระบวนการกําจัดของเสียที่รางกายไมตองการออกมาภายนอกรางกาย


เรียกวา การขับถายของเสีย อวัยวะที่เกี่ยวของกับการกําจัดของเสีย ไดแก ปอด ผิวหนง
กระเพาะปสสาวะ และลําไสใหญ เปนตน

5

การกําจัดของเสียทางปอด

้ํ
การกําจัดของเสียทางปอด กําจัดออกมาในรูปของนาและกาซคารบอนไดออกไซด
ซึ่งเปนผลที่ไดจากกระบวนการหายใจ โดยนาและกาซคารบอนไดออกไซดจะแพรออก
้ํ


จากเซลลเขาสูหลอดเลือด และเลือดจะทําหนาที่ลําเลียงไปยังปอด แลวแพรเขาสูถุงลมที่ปอด
หลังจากนั้นจึงเคลื่อนผานหลอดลมแลวออกจากรายกายทางจมูก

การกําจัดของเสียทางผิวหนัง

ผิวหนังนอกจากจะทําหนาที่กําจัดของเสียออกจากรางกายในรูปของเหงื่อแลว ยังมีสวน

ระบายความรอนใหแกรางกายเพื่อขับเหงื่อออกสูภายนอก เหงื่อที่รางกายขับออกมานนประกอบ
ั้
ไปดวยน้ําเปนสวนใหญ และจะมีเกลือบางชนิดถูกขับปนออกมาดวย จึงทําใหเหงื่อมีรสเค็ม

ระบบขับถายปสสาวะ

อวัยวะที่เกี่ยวของกับระบบขับถายปสสาวะมี ดังนี้
1. ไต (Kidneys) มีอยู 2 ขาง รูปรางคลายเมล็ดถั่วแดง อยูทางดางหลังของชองทอง

บริเวณเอวในไตจะมีหลอดไต ทําหนาที่กรองปสสาวะออกจากเลือด ดังนนไตจึงเปนอวัยวะ
ั้

้ํ
สําคัญที่ใชเปนโรงงานสําหรับขับถายปสสาวะดวยการกรองของเสีย เชน ยูเรีย เกลือแร และนา
ออกจากเลือดที่ไหลผานเขามาใหเปนน้ําปสสาวะแลวไหลผานกรวยไตลงสูทอไตเขาไปเก็บไว

ที่กระเพาะปสสาวะ

2. กรวยไต (Pelvis) คือ ชองกลวงภายในที่มีรูปรางเหมือนกรวย สวนของกนกรวย

จะติดตอกับกานกรวย

3. ทอไต (Useter) มีลักษณะเปนทอออกมาจากไตทั้ง 2 ขาง เชื่อมตอกับกระเพาะ

ปสสาวะจะเปนทางผานของปสสาวะจากไตไปสูกระเพาะปสสาวะ

4. กระเพาะปสสาวะ (Urinary Bladder) เปนที่รองรับน้ําปสสาวะจากไตที่ผานมา

ทางทอไต สามารถขยายได ขับปสสาวะไดประมาณ 1 ลิตร แตถาเกิน 700 ซีซี (ลูกบาศก

เซนติเมตร) อาจเปนอันตรายได เมื่อมีน้ําปสสาวะมาอยูในกระเพาะปสสาวะมากขึ้นจะรูสึกปวด

ปสสาวะ

5. ทอปสสาวะ (Urethra) เปนทอที่ตอจากกระเพาะปสสาวะไปสูอวัยวะเพศ ซึ่งทอนี้

จะเปนทางผานของปสสาวะเพื่อที่จะไหลออกสูภายนอก ปลายทอจึงเปนทางออกของปสสาวะ

6

การดูแลปองกันความผิดปกติของระบบขับถายปสสาวะ

1. ดื่มน้ําสะอาด อยางนอยวันละ 6 – 8 แกว
2. ไมควรกลั้นปสสาวะนานเกินไป

3. ไมควรรับประทานอาหารรสเค็มมาก
4. ควรปองกันการเปนนิ่วในระบบทางเดินปสสาวะ โดยหลีกเลี่ยงการรับประทานผัก

ที่มีสารออกซาเลตสูง เชน หนอไม ชะพลู ผักแพว ผักกระโดน เปนตน


ิ่
5. ควรรับประทานอาหารประเภทโปรตีน เพื่อชวยลดอัตราการเกิดนวในระบบ
ทางเดินปสสาวะ

6. เมื่อมีความผิดปกติเกี่ยวกับระบบทางเดินปสสาวะควรปรึกษาแพทย

ระบบขับถายของเสียทางลําไสใหญ

ื่
การยอยอาหารจะสิ้นสุดลงบริเวณรอยตอระหวางลําไสเล็กกับลําไสใหญ เนองจาก
อาหารที่ลําไสเล็กยอยแลวจะเปนของเหลว หนาที่ของลําไสใหญครึ่งแรก คอ ดูดซึมของเหลว


น้ํา เกลือแรและนาตาลกลูโคสที่ยังเหลืออยูในกากอาหาร สวนลําไสใหญครึ่งหลังจะเปนที่พัก
้ํ
กากอาหารซึ่งมีลักษณะกึ่งของแข็ง ลําไสใหญ จะขับเมือกออกมาหลอลื่นเพื่อใหอุจจาระเคลื่อน

้ํ
ื่
ไปตามลําไสใหญไดงายขึ้น ถาลําไสใหญดูดนามากเกินไป เนองจากอาหารตกคางอยูในลําไส
ใหญหลายวัน จะทําใหกากอาหารแข็ง เกิดความลําบากในการขับถาย ซึ่งเรียกวา ทองผูก

4. ระบบสืบพันธุ


การสืบพันธุเปนสิ่งที่ทําใหมนษยดํารงเผาพันธุอยูได ซึ่งตองอาศัยองคประกอบสําคัญ
เชน เพศชายและเพศหญิง แตละเพศจะมีโครงสรางของเพศ และการสืบพันธุ ซึ่งแตกตางกัน

ดังนี้

ระบบสืบพันธุของเพศชาย

อวัยวะสืบพันธุของเพศชายสวนใหญจะ

อยูภายนอกลําตัว ประกอบดวยสวนที่สําคัญ ๆ

ดังนี้

1. ลึงคหรือองคชาต (Penis) เปนอวัยวะ

สืบพันธุของเพศชาย รูปทรงกระบอกอยูดานหนา

7

ื้
ของหัวเหนา บริเวณดานหนาตอนบนถึงอัณฑะ มีลักษณะยื่นออกมา ประกอบดวยกลามเนอที่
เหนียว แตมีลักษณะนุม และอวัยวะสวนนี้สามารถยืดและหดได ที่บริเวณตอนปลายลึงคจะมี
เสนประสาทและหลอดเลือดมาเลี้ยงอยูเปนจํานวนมาก ลึงคจะแข็งตัวและเพิ่มขนาดขึ้น

ั้
ี้
ประมาณเทาตัว เนื่องมาจากการไหลคั่งของเลือดที่บริเวณนมีมาก และในขณะที่ลึงคแข็งตัวนน


้ํ
จะพบวาตอมเล็ก ๆ ที่อยูในทอปสสาวะจะผลิตนาเมือกเหนยว ๆ ออกมา เพื่อชวย ในการหลอลื่น
และทําใหตัวอสุจิสามารถไหลผานออกสูภายนอกได
2. อัณฑะ (Testis) ประกอบดวย ถุงอัณฑะ เปนถุงที่หอหุมตอมอัณฑะไว มีลักษณะเปน


ผิวหนงบาง ๆ สีคล้ําและมีรอยยน จะหดหรือหยอนตัวเมื่ออุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลง
เพื่อชวยรักษาอุณหภูมิภายในถุงอัณฑะใหเหมาะสมกับการสรางตัวอสุจิ ตอมอัณฑะมีอยู 2 ขาง


ื้
ทําหนาที่ผลิตเซลลสืบพันธุเพศชายหรือเชออสุจิ มีลักษณะรูปรางคลายกับไขไกฟองเล็ก ๆ ตอม
อัณฑะทั้งสองจะบรรจุอยูภายในถุงอัณฑะ

3. ทอนําตัวอสุจิ (Vas deferens) อยูเหนออัณฑะ ตอมาจากทอพักตัวอสุจิ ทอนจะเปน

ี้
ชองทางใหตัวอสุจิ ไหลผานจากทอพักตัวอสุจิไปยังทอของถุงเก็บอสุจิ



4. ทอพักตัวอสุจิ (Epidymis) อยูเหนอทอนาตัวอสุจิ ทอนมีลักษณะคลายรูปดวงจันทรครึ่ง
ี้
ซีก ซึ่งหอยอยูติดกับตอมอัณฑะ ประกอบดวยทอที่คดเคี้ยวจํานวนมาก เมื่อตัวอสุจิถูกสรางขึ้น
มาแลว จะถูกสงเขาสูทอนี้ เพื่อเตรียมที่จะออกมาสูทอปสสาวะ

5. ตอมลูกหมาก (Prostate gland) มีลักษณะคลายลูกหมาก เปนตอมที่หุมสวนแรก

ของทอปสสาวะไวและอยูใตกระเพาะปสสาวะ ทําหนาที่หลั่งของเหลวที่มีลักษณะคลายนม

้ํ
มีฤทธิ์เปนดางอยางออน ซึ่งขับออกไปผสมกับนาอสุจิที่ถูกฉีดเขามาในทอปสสาวะ ของเหลว
ดังกลาวนี้จะเขาไปทําลายฤทธิ์กรดจากน้ําเมือกในชองคลอดเพศหญิง เพื่อปองกันไมใหตัวอสุจิ

ถูกทําลายดวยสภาพความเปนกรดและเพื่อใหเกิดการปฏิสนธิขึ้น

ระบบสืบพันธุของเพศหญิง

อวัยวะสืบพันธุของเพศหญิงสวนใหญจะ

อยูภายในลําตัว ประกอบดวยสวนที่สําคัญๆ

ดังนี้



1. ชองคลอด (Vagina) อยูสวนลางของทอง มีลักษณะเปนโพรง ผนงดานหนาของ


ชองคลอดจะติดอยูกับกระเพาะปสสาวะ สวนผนงดานหลังจะติดกับสวนปลายของลําไสใหญ

8

ซึ่งอยูใกลทวารหนัก ที่ชองคลอดนั้น มีเสนประสาทมาเลี้ยงเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง

ที่บริเวณรอบรูเปดชองคลอด

2. คลิทอริส (Clitoris) เปนปุมเล็ก ๆ ซึ่งอยูบนสุดของรูเปดชองคลอด มีลักษณะ

เหมือนกับลึงคของเพศชายเกือบทุกอยาง แตขนาดเล็กกวาและแตกตางกันตรงที่ทอปสสาวะ
ของเพศหญิงจะไมผานผากลางคลิตอริสเหมือนกับในลึงค ประกอบดวย หลอดเลือดและ

เสนประสาทตางๆ มาเลี้ยงมากมายเปนเนื้อเยื่อที่ยืดไดหดไดและไวตอความรูสึกทางเพศ

3. มดลูก (Uterus) เปนอวัยวะที่ประกอบดวยกลามเนื้อ และมีลักษณะภายในกลวง


มีผนังหนาอยูระหวางกระเพาะปสสาวะซึ่งอยูขางหนาและสวนปลายลําไสใหญ (อยูใกลทวาร
หนัก) ซึ่งอยูขางหลังไขจะเคลื่อนตัวลงมาตามทอรังไข เขาไปในโพรงของมดลูก ถาไขไดผสมกับ

อสุจิแลวจะมาฝงตัวอยูในผนงของมดลูกที่หนาและมีเลือดมาเลี้ยงเปนจํานวนมาก ไขจะ

เจริญเติบโตเปนตัวออนตรงบริเวณนี้


4. รังไข (Ovary) มีอยู 2 ตอม ซึ่งอยูในโพรงของอุงเชงกราน มีรูปรางคอนขางกลมเล็ก
ขณะที่ยังเปนตัวออนตอมรังไขจะเจริญเติบโตในโพรงของชองทองและเมื่อคลอดออกมาบางสวน


จะอยูในชองทอง และบางสวนจะอยูในอุงเชิงกราน ตอมาจะคอย ๆ เคลื่อนลดลงต่ําลงมาอยูในอุง

เชิงกราน นอกจากนี้ ตอมรังไขจะหลั่งฮอรโมนเพศหญิงออกมาทําใหไขสุก และเกิดการตกไข

5. ทอรังไข (Fallopain tubes) ภายหลังที่ไขหลุดออกจากสวนที่หอหุมแลวไขจะผาน

เขาสูทอรังไข ปลายขางหนงมีลักษณะคลายกรวยซึ่งอยูใกลกับรังไข สวนปลายอีกขางหนงนน
ึ่
ึ่
ั้
จะเรียวเล็กลงและไปติดกับมดลูก ทอรังไขจะทําหนาที่นาไขเขาสูมดลูก โดยอาศัยการพัดโบก


ิ้

ของขนที่ปากทอ ซึ่งทําหนาที่คลายกับนวมือจับไขใสไปในทอรังไขและอาศัยการหดตัวของ
กลามเนื้อเรียบ
การดูแลปองกันความผิดปกติของระบบสืบพันธุ

1. อาบน้ําอยางนอยวันละ 2 ครั้ง ควรเช็ดใหแหงและอยาปลอยใหอวัยวะเพศเปยกชื้น

2. ควรเลือกชุดชั้นในที่สวมใสสบายและสะอาด

3. ขับถายในหองสวมที่ถูกสุขลักษณะ และไมกลั้นปสสาวะ เพราะจะเกิดอาการติดเชื้อ

ในระบบทางเดินปสสาวะได

4. ควรใชถุงยางอนามัยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ

5. ทํากิจกรรมตาง ๆ เพื่อไมใหหมกมุนในเรื่องเพศ เชน ออกกําลังกาย เลนดนตรี เปนตน

9



6. ควรประพฤติและปฏิบัติตนตามประเพณีไทย เชน การรักนวลสงวนตัว ไมชงสุกกอนหาม
เพื่อปองกันปญหาเรื่องเพศ
7. เมื่อมีความผิดปกติใด ๆ เกิดขึ้นเกี่ยวกับอวัยวะสืบพันธุ ควรรีบไปพบแพทยทันที

5. ระบบตอมไรทอ

ในรางกายของมนุษยมีตอมในรางกาย 2 ประเภท คือ

1. ตอมมีทอ (Exocrine gland) เปนตอมที่สรางสารเคมีออกมาแลวสงไปยังตําแหนงออก

้ํ

ฤทธิ์ โดยอาศัยทอลําเลียงของตอมโดยเฉพาะ เชน ตอมนาลาย ตอมสรางเอนไซมยอยอาหาร
ตอมน้ําตา ตอมสรางเมือก ตอมเหงื่อ เปนตน

2. ตอมไรทอ (Endocrine gland) เปนตอมที่สรางสารเคมีขึ้นมาแลวสงไปออกฤทธิ์ยัง
อวัยวะเปาหมาย โดยอาศัยระบบหมุนเวียนเลือด เนองจากไมมีทอลําเลียงของตอมโดยเฉพาะ
ื่

สารเคมีนี้เรียกวา ฮอรโมน ตอมไรทอมีอยูหลายตอมกระจายอยูในตําแหนงตางๆ ทั่วรางกาย

ฮอรโมนที่ผลิตขึ้นจากตอมไรทอมีหลายชนิด แตละชนิดทํางานแตกตางกัน โดยจะควบคุมการ

ทํางานของอวัยวะตาง ๆ อยางเฉพาะเจาะจง เพื่อใหเกิดการเจริญเติบโต กระตุนหรือยับยั้งการ

ทํางาน ฮอรโมนสามารถออกฤทธิ์ได โดยใชปริมาณเพียงเล็กนอย ตอมไรทอที่สําคัญ มี 7 ตอม


ไดแก

2.1 ตอมใตสมอง (Pituitary gland) เปนตอมไรทอ อยูตรงกลางสวนลางของ

ี้
สมอง ตอมนขับสารที่มีลักษณะขุนขาวคลายเสมหะ จึงเรียกวา ตอมพิทูอิตารี ตอมใตสมอง
ประกอบ ดวยเซลลที่มีรูปรางแตกตางกันมากชนิดที่สุด แบงออกเปน 3 สวน คือ ตอมใตสมอง

สวนหนา ตอมใตสมองสวนกลาง และตอมใตสมองสวนหลัง ตอมใตสมองทั้งสามสวนนี้ตางกันที่

โครงสราง และการผลิตฮอรโมน

2.2 ตอมไทรอยด (thyroid) มีลักษณะเปนพู 2 พู อยูสองขางของคอหอย โดยมี

เยื่อบาง ๆ เชื่อมติดตอถึงกันได ตอมนี้ถือไดวาเปนตอมไรทอที่ใหญที่สุดในรางกายมีเสนเลือดมา

หลอเลี้ยงมากที่สุด ตอมไทรอยดผลิตฮอรโมนที่สําคัญ ไดแก


2.2.1 ฮอรโมนไธรอกซิน (thyroxin hormone) ทําหนาที่ควบคุมการเผา
ผลาญสารอาหารกระตุนการเปลี่ยนไกลโคเจนไปเปนกลูโคสและเพิ่มการนํากลูโคสเขาสูเซลล

บุทางเดินอาหาร จึงเปนตัวเพิ่มระดับน้ําตาลกลูโคสในเลือด

10


2.2.2 ฮอรโมนแคลซิโทนน (Calcitonin) ทําหนาที่ลดระดับแคลเซียมใน

เลือดที่สูงเกินปกติ ใหเขาสูระดับปกติ โดยดึงแคลเซียมสวนเกินไปไวที่กระดูก

2.3 ตอมพาราไธรอยด (parathyroid gland) อยูติดกับเนื้อของตอมไธรอยดทาง
ดานหลังในคน มีลักษณะรูปรางเปนรูปไขขนาดเล็กมีสีนาตาลแดงหรือนาตาลปนเหลือง
้ํ
้ํ
ฮอรโมนที่สําคัญที่สรางจากตอมน คือ พาราธอรโมน ทําหนาที่รักษาสมดุลของแคลเซียม และ

ี้
ฟอสฟอรัสในรางกายใหคงที่ โดยทํางานรวมกับแคลซิโตนิน เนื่องจากระดับแคลเซียมในเลือด

ื้
มีความสําคัญมาก เพราะจําเปนตอการทํางานของกลามเนอประสาทและการเตนของหัวใจ
ดังนั้นตอมพาราธอรโมนจึงจัดเปนตอมไรทอที่มีความจําเปนตอชีวิต

2.4 ตอมหมวกไต (adrenal gland) อยูเหนือไตทั้ง 2 ขาง ลักษณะตอม

ี้
ื้
ทางขวาเปนรูปสามเหลี่ยม สวนทางซายเปนรูปพระจันทรครึ่งเสี้ยว ตอมนประกอบดวยเนอเยื่อ
2 ชนิด คือ อะดรีนัลคอรเทกซ และอะดีนัลเมดุลลา

2.5 ตับออน ภายในเนื้อเยื่อตับออนจะมีไอสเลตออฟแลงเกอรฮานสเปนตอมเล็ก

ื้
ๆ ประมาณ 2,500,000 ตอม หรือมีจํานวนประมาณรอยละ 1 ของเนอเยื่อ ตับออนทั้งหมด
ฮอรโมนผลิตจากไอสเลตออฟแลงเกอรฮานสที่สําคัญ 2 ชนิดคือ

2.5.1 อินซูลิน (Insulin) สรางมาจากเบตาเซลลที่บริเวณสวนกลางของไอส

้ํ
เลตออฟแลงเกอรฮานส หนาที่สําคัญของฮอรโมนนี้ คือ รักษาระดับนาตาลในเลือดใหเปนปกติ
้ํ
เมื่อรางกายมีนาตาลในเลือดสูงอินซูลินจะหลั่งออกมามากเพื่อกระตุนเซลลตับ และเซลล
กลามเนื้อนํากลูโคสเขาไปในเซลลมากขึ้น และเปลี่ยนกลูโคสใหเปนไกลโคเจนเพื่อเก็บสะสมไว

้ํ

ี้
นอกจากนอินซูลินยังกระตุนใหเซลลทั่วรางกายมีการใชกลูโคสมากขึ้น ทําใหระดับนาตาลใน
เลือดลดลงสูระดับปกติ ถากลุมเซลลที่สรางอินซูลินถูกทําลายระดับนาตาลในเลือดจะสูงกวา
้ํ
ปกติทําใหเปนโรคเบาหวาน

2.5.2 กลูคากอน (Glucagon) เปนฮอรโมนที่สรางจากแอลฟาเซลล
ซึ่งเปนเซลลอีกประเภทหนงของไอสเลตออฟแลงเกอรฮานส กลูคากอนจะไปกระตุนการ
ึ่
สลายตัวของไกลโคเจนจากตับและกลามเนื้อใหน้ําตาลกลูโคสปลอยออกมาในเลือดทําใหเลือดมี

กลูโคสเพิ่มขึ้น

2.6 รังไข (Ovaries) ตอมอวัยวะสืบพันธุของเพศหญิงซึ่งอยูที่รังไขจะสราง

ฮอรโมนที่สําคัญคือ เอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรน

11

2.7 อัณฑะ (Testis) ตอมอวัยวะสืบพันธุของเพศชายซึ่งอยูที่อัณฑะจะสราง

ฮอรโมนที่สําคัญที่สุดคือ เทสโตสเตอโรน ซึ่งจะสรางขึ้นเมื่อเริ่มวัยหนุม

การดูแลปองกันความผิดปกติของระบบตอมไรทอ

1. เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชนตอรางกาย และมีปริมาณที่เพียงพอ

2. หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง อาหารขยะและอาหารที่มีรสจัด

3. ดื่มน้ําอยางนอยวันละ 6 – 8 แกว และหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล

4. อาศัยในสภาพแวดลอมที่ไมมีพิษ เพื่อปองกันผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น

5. ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ และพักผอนใหเพียงพอ

6. มองโลกในแงดี และหลีกเลี่ยงความเครียด

7. สํารวจความเจริญเติบโตของรางกาย โดยการชงนาหนกและวัดสวนสูง หากพบวา
ั่
้ํ

ผิดปกติควรปรึกษาแพทย

6. ระบบประสาท (Nervous System)

การทํางานของระบบประสาทเปนกระบวนการที่สลับซับซอนมาก และเปนระบบที่มี

ื้
ความสัมพันธกับการทํางานของระบบกลามเนอ เพื่อใหรางกายสามารถปรับตัวใหเขากับ
สภาพแวดลอม ทั้งภายในภายนอกรางกาย ระบบประสาทนี้สามารถแบงแยกออก 3 สวน ดังนี้

1. ระบบประสาทสวนกลาง (Central nervous system : CNS) ประกอบดวยสมอง

และไขสันหลัง ซึ่งมีหนาที่ดังตอไปนี้

1.1 หนาที่ของสมอง


1.1.1 ควบคุมความจําความคิด การใชไหวพริบ
ื้
1.1.2 ควบคุมการเคลื่อนไหวของกลามเนอ โดยศูนยควบคุมสมองดานซาย
จะไป ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อดานขวาของรางกาย สวนศูนยควบคุมสมองดานขวาทํา

หนาที่ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อดานซายของรางกาย

1.1.3 ควบคุมการพูด การมองเห็น การไดยิน

1.1.4 ควบคุมการเผาผลาญอาหาร ความหิว ความกระหาย
1.1.5 ควบคุมการกลอกลูกตา การปดเปดมานตา


1.1.6 ควบคุมการทํางานของกลามเนอใหทํางานสัมพันธกัน และชวยการ
ื้
ทรงตัว

12

1.1.7 ควบคุมกระบวนการหายใจ การเตนของหัวใจ การหดตัวและขยายตัว

ของเสนเลือด
1.1.8 สําหรับหนาที่ของระบบประสาทที่มีตอการออกกําลังกายตองอาศัย



สมองสวนกลางโดยสมองจะทําหนาที่นกคิดที่จะออกกําลังกาย แลวออกคําสั่งสงไปยังสมอง
เพื่อวางแผนจัดลําดับการเคลื่อนไหว แลวจึงสงคําสั่งตอไปยังประสาทกลไก ซึ่งเปนศูนยที่จะสง
คําสั่งลงไปสูไขสันหลัง

1.2 หนาที่ของไขสันหลัง

1.2.1 ทําหนาที่สงกระแสประสาทไปยังสมอง เพื่อตีความและสั่งการ และใน

ขณะเดียวกันก็รับพลังประสาทจากสมองซึ่งเปนคําสั่งไปสูอวัยวะตาง ๆ

1.2.2 เปนศูนยกลางของปฏิกิริยาสะทอน คือ สามารถที่จะทํางานไดทันที

เพื่อปองกันและหลีกเลี่ยงอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับรางกาย เชน เมื่อเดินไปเหยียบหนาม

ที่แหลมคม เทาจะยกหนีทันทีโดยไมตองรอคําสั่งจากสมอง

1.2.3 ควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะตาง ๆ ที่มีเสนประสาทไขสันหลังไปสู

อวัยวะตาง ๆ

2. ระบบประสาทสวนปลาย (Peripheral nervous system : PNS) ประกอบดวย

2.1 เสนประสาทสมอง มี 12 คู ทอดมาจากสมองผานรูตาง ๆ ของกะโหลกศีรษะ

ทําหนาที่รับความรูสึก บางคูทําหนาที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและบางคูจะทําหนาที่ทั้งรับ



ความรูสึกและการเคลื่อนไหว

ู
2.2 เสนประสาทไขสันหลัง มี 31 ค ถาหากเสนประสาทไขสันหลังบริเวณใด
ไดรับอันตราย จะสงผลตอการเคลื่อนไหวและความรูสึกของอวัยวะที่เสนประสาทไขสันหลัง

ตัวอยางเชน เสนประสาทไขสันหลังบริเวณเอวและบริเวณกนไดรับอันตราย จะมีผลตออวัยวะ
สวนลาง คือ ขาเกือบทั้งหมดอาจจะมีอาการของอัมพาตหมดความรูสึกและเคลื่อนไหวไมได


2.3 ระบบประสาทอัตโนมัติ สวนใหญจะทําหนาที่ควบคุมการทํางานของอวัยวะ
ภายในและทํางานอยูนอกอํานาจจิตใจ

การดูแลปองกันความผิดปกติของระบบประสาท

1. ตรวจรางกายเกี่ยวกับระบบประสาทอยางสม่ําเสมอ

2. รับประทานอาหารที่มีประโยชนตอรางกายและอาหารที่ชวยบํารุงสายตา

3. ไมควรรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลและน้ําอัดลม

13

4. การใชสายตาควรมีแสงสวางเพียงพอ เชน การอานหนังสือ การดูโทรทัศนเปนตน

5. การทํางานหนาจอคอมพิวเตอร ควรมีการหยุดพักเปนระยะ ๆ เพื่อไมใหรางกาย
และตาเกิดอาการเมื่อยลา

6. พักผอนใหเพียงพอ และออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ
7. ทํากิจกรรมเพื่อคลายความเครียด เชน เลนดนตรี รองเพลง การทํางานอดิเรก

การนั่งสมาธิ เปนตน

8. หากมีอาการผิดปกติเกี่ยวกับระบบประสาทควรรีบปรึกษาแพทยทันที

เรื่องที่ 2 การวางแผนและปฏิบัติตนเพื่อการเสริมสรางพัฒนาการดานสุขภาพของ

ตนเองและครอบครัว

หลักการของกระบวนการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบ

ตางๆ ในรางกาย มีแนวทางในการปฏิบัติ ดังน ี้

1. รักษาอนามัยสวนบุคคล

2. บริโภคอาหารใหถูกตองและเหมาะสม

3. ออกกําลังกายสม่ําเสมอ

4. ทําจิตใจใหราเริงแจมใสอยูเสมอ

5. หลีกเลี่ยงอบายมุขและสิ่งเสพติดใหโทษ

6. ตรวจเช็ครางกายอยูเสมอ

การวางแผนเสริมสรางพัฒนาการดานสุขภาพของตนเองและครอบครัว

ั้
การที่จะมีสุขภาพดีไดนน ไมวาจะเปนสุขภาพของตนเองหรือของบุคคลในครอบครัว
ไมใชเปนสิ่งเกิดขึ้นไดดวยความบังเอิญหากแตจําเปนที่จะตองมีการวางแผนในการดูแลสุขภาพ

ลวงหนาซึ่งจะชวยใหเกิดผลดี ดังนี้



1. สามารถที่จะกําหนดวิธีการ หรือเลือกรูปแบบที่เหมาะสมกับการดําเนนชวิตของ
ตัวเราเองหรือบุคคลในครอบครัวไดอยางเหมาะสม


2. สามารถที่จะกําหนดชวงเวลาในการดูแลสุขภาพไดอยางเหมาะสม อาจจะมีกิจกรรมการ


ออกกําลังกายในชวงเชาหรือในบางครอบครัวอาจจะมีเวลาวางในชวงเย็น ก็อาจจะกําหนด

กิจกรรมการสงเสริมสุขภาพในชวงเย็นก็ไดหรืออาจจะกําหนดชวงเวลาในการตรวจสุขภาพ


ประจําปของบุคคลในครอบครัวไดอยางเหมาะสม

14

3. เปนการเฝาระวังสุขภาพทั้งของตนเองและบุคคลในครอบครัว ไมใหปวยดวยโรคตาง ๆ

นับวาเปนการสรางสุขภาพ ซึ่งจะดีกวาการที่จะตองมาซอมสุขภาพ หรือการรักษาพยาบาลใน
ภายหลัง

ื่

4. ชวยในการวางแผนเรื่องของเศรษฐกิจและการเงินในครอบครัว เนองจากไมตองใช 
จายเงินไปในการรักษาพยาบาล
5. สงเสริมสุขภาพทั้งของตนเองและบุคคลในครอบครัว

6. ทําใหคุณภาพชีวิตทั้งของตนเองและสมาชิกในครอบครัวดีขึ้น

การปฏิบัติตนเพื่อการเสริมสรางพัฒนาการของตนเองและครอบครัว

1. ออกกําลังกายสม่ําเสมอ ปฏิบัติอยางนอย 2-3 ครั้งใน 1 สัปดาห แตละครั้งใชเวลาใน

การออกกําลังกายไมนอยกวา 30 นาที ใหปฏิบัติตามหลักของการออกกําลังกาย โดยยึดหลัก


หนก นาน บอย จะเปนการออกกําลังกายที่ดีมาก การออกกําลังกายตองปฏิบัติตาม
ความสามารถของบุคคล ตามวัย ตามความ เหมาะสม ทั้งเวลา สถานที่ เพศ วัย การออก

กําลังกายจะชวยใหเกิดประโยชนตอการทํางานของระบบตางๆ ในรางกาย สงผลใหสุขภาพ

แข็งแรง

2. รับประทานอาหารตองใหครบ 5 หมูและเหมาะสมกับวัย โดยเฉพาะวัยที่กําลังเติบโต

มีการพัฒนาทางรางกาย ควรรับประทานอาหารใหเพียงพอ เชน วัยรุนยังอยูในวัยของการ
เจริญเติบโตและตองออกกําลังกาย จึงตองชดเชยดวยคารโบไฮเดรต สรางเสริม

การเจริญเติบโตดวยอาหารประเภท โปรตีน
3. พักผอนใหเพียงพอ ระยะเวลาในการนอนหลับพักผอนของแตละวัย มีความแตกตาง

เชน วัยเด็ก ตองพักผอนนอนหลับใหมาก ๆ ในวัยผูใหญ การนอนอาจนอยลงแตตองไมนอยกวา

6-8 ชวโมง และชวงของการนอนหลับใหหลับสนทเพื่อใหการหลั่งของสารแหงความสุข

ั่
อยางเต็มที่ ใชเวลาวางในวันหยุดทํากิจกรรมหรือไปเที่ยวพักผอนยังสถานที่ทองเที่ยวรวมกับ

ครอบครัว เพื่อผอนคลายและสรางสัมพันธภาพในครอบครัว

4. เห็นความสําคัญของการตรวจสุขภาพรางกายและไดรับการตรวจสุขภาพรางกาย

อยางนอยปละ 1 ครั้ง และในการตรวจสุขภาพรางกาย ตองตรวจทุกระบบอยางละเอียด เชน

การตรวจเลือด เพื่อตรวจหา ความผิดปกติในเลือด การตรวจปสสาวะ การตรวจมวลกระดูกใน

วัยผูใหญ ตรวจการทํางานของระบบ สําคัญๆ ในรางกาย

15

5. หลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงตอรางกาย โดยเฉพาะพฤติกรรมเสี่ยงที่กอใหเกิดอันตราย

ตอตนเอง ในชวงการเปนวัยรุน เชน การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล การสําสอน
ทางเพศ ตลอดจนการทดลองหรือใกลชิดกับผูที่ติดสารเสพติด

6. อยูในสิ่งแวดลอมที่ดี ซึ่งเราสามารถหลีกเลี่ยง หรือเลือกที่จะอยูในบริเวณที่มี
สิ่งแวดลอมที่ดีได เพราะสิ่งแวดลอมมีผลกระทบตอสุขภาพ การมีที่อยูอาศัยที่ปราศจากพาหะ

นําโรค เชน ไขเลือดออก อุจจาระรวง การที่เราอยูในบริเวณที่มีสิ่งแวดลอมดี สะอาด ทําใหเรา

มีอากาศหรือสถานที่ผักผอนหยอนใจที่ดี มี น้ําสะอาดบริโภค มีหองน้ํา หองสวมที่ดี ปราศจาก

ขยะมูลฝอย จะทําใหสุขภาพของเราดีไปดวย การจัดเก็บสิ่งของเครื่องใชใน บานใหเปนระเบียบ

เรียบรอย ทําความสะอาดบาน ควรทําอยางสม่ําเสมอ เพื่อไมใหเปนที่อยูของแมลงสาบ หรือ

ทําใหเกิดโรคภูมิแพ หอบหืดและโรคในระบบทางเดินอาหาร

16

กิจกรรมทายบทที่ 1

กิจกรรมที่ 1 จงตอบคําถามตอไปนี้

1. จงบอกโครงสรางของระบบอวัยวะในรางกายมา 1 ระบบ พรอมทั้งยกตัวอยางวิธีการดูแล

ปองกันความผิดปกติของระบบอวัยวะนั้น ๆ

2. จงอธิบายวิธีการเสริมสรางและดํารงประสิทธิภาพของระบบอวัยวะในรางกาย

กิจกรรมที่ 2 จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงคําตอบเดียว

1. ถาถุงน้ําดีถูกตัดออก ขอใดจะเกิดผลกระทบตอระบบทางเดินอาหารอยางไร

ก. เบื่ออาหาร

ข. อาหารไขมันไมถูกยอย

ค. ไมสามารถสรางเอนไซมไลเปสได

ง. เปนแผลที่กระเพาะอาหารและลําไส

2. ขอใดเปนการดูแลปองกันความผิดปกติของระบบขับถายปสสาวะ

ก. ไมควรกลั้นปสสาวะนานเกินไป

ข. ดื่มน้ําสะอาด อยางนอยวันละ 6 – 8 แกว

ค. หลีกเลี่ยงการรับประทานผักที่มีสารออกซาเลตสูง

ง. ถูกทุกขอ

3. หากทานมีปญหาเกี่ยวกับระบบยอยอาหาร ไมควร ปฏิบัติอยางไร

ก. เคี้ยวอาหารใหละเอียด

ข. ถายอุจจาระใหเปนเวลาและสม่ําเสมอ

ค. รับประทานอาหารที่สะอาด และปรุงสุกใหม ๆ

ง. รับประทานอาหารพร่ําเพรื่อ จุกจิก และทานใหตรงเวลา
4. ขอใดคือหนาที่ของถุงอัณฑะ

ก. สรางฮอรโมน

ข. สรางตัวอสุจิ

ค. เปนที่พักอสุจิ

ง. ทําใหตัวอสุจิสามารถไหลผานออกสูภายนอกได

17

5. ขอใดไมใช หลักการของกระบวนการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบ

ตาง ๆ ในรางกาย
ก. รักษาอนามัยสวนบุคคล

ข. ออกกําลังกายสม่ําเสมอ
ค. รับประทานยาบํารุงรางกาย

ง. บริโภคอาหารใหถูกตองและเหมาะสม

18

บทที่ 2

ปญหาเพศศึกษา

สาระสําคัญ

มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับปญหาทางเพศ มีทักษะในการสื่อสารและตอรองเพื่อทํา


ความชวยเหลือเกี่ยวกับปญหาทางเพศได สามารถอธิบายวิธีการจัดการกับอารมณและความ
ื่
ตองการทางเพศไดอยางเหมาะสม เขาใจถึงความเชอที่ผิดเกี่ยวกับเรื่องเพศที่สงผลตอสุขภาพ
ทางเพศ อิทธิพลของสื่อที่สงผลใหเกิดปญหาทางเพศ ตลอดจนเรียนรูถึงกฎหมายที่เกี่ยวของ

กับการลวงละเมิดทางเพศ และกฎหมายคุมครองเด็กและสตรี

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

1. บอกชื่อหนวยงานที่ใหความชวยเหลือเกี่ยวกับปญหาทางเพศได

2. อธิบายขั้นตอนการสื่อสารเพื่อหาความชวยเหลือเกี่ยวกับปญหาทางเพศ

3. อธิบายการจัดการกับอารมณและความตองการทางเพศไดอยางเหมาะสม

4. วิเคราะหความเชื่อผิด ๆ เรื่องเพศที่สงผลตอสุขภาพทางเพศ

5. วิเคราะหสถานการณสมมุติปญหาทางเพศที่ไดรับอิทธิพลจากสื่อตาง ๆ ได

6. ระบุกฎหมายที่เกี่ยวของกับการลวงละเมิดทางเพศ และกฎหมายคุมครองเด็ก

และสตรี

ขอบขายเนื้อหา

เรื่องที่ 1 การสื่อสาร ตอรองและการขอความชวยเหลือเกี่ยวกับปญหาทางเพศ

เรื่องที่ 2 การจัดการกับอารมณ และความตองการทางเพศ

เรื่องที่ 3 ความเชื่อที่ผิด ๆ ทางเพศที่สงผลตอสุขภาพทางเพศ

เรื่องที่ 4 อิทธิพลของสื่อตาง ๆ ที่สงผลใหเกิดปญหาทางเพศ

เรื่องที่ 5 กฎหมายที่เกี่ยวของกับการละเมิดทางเพศและกฎหมายคุมครองเด็ก และสตรี

19

เรื่องที่ 1 การสื่อสาร ตอรองและการขอความชวยเหลือเกี่ยวกับปญหาทางเพศ

แหลงบริการที่ใหความชวยเหลือปญหาจากการมีเพศสัมพันธในปจจุบัน มีหลาย
หนวยงานที่เขามาดําเนินงานในดานนี้ ซึ่งเปนบริการที่ดี เชื่อถือได และอํานวยประโยชนในการ



ใหความรู ความเขาใจที่ถูกตอง หรือแนะนาใหคําปรึกษาสําหรับนาไปใชแกปญหาจากการมี

เพศสัมพันธ ดังนี้
1. คลินิกใหบริการปรึกษาปญหาสุขภาพ (คลินิกนิรนาม) ในกรุงเทพมหานคร และ

ปริมณฑล ไดแก (1) กองกามโรค  0 2286 0108, 0 2286 0531, 0 2285 6382 ตอ 41


(2) หนวยกามโรคและโรคเอดส นางเลิ้ง  0 2281 0651, 0 2281 7398 (3) หนวย

กามโรคและโรคเอดสบานชีวี  0 2245 7194 (4) หนวยกามโรคและโรคเอดสพระปนเกลา

 0 2460 1449 (5) หนวยกามโรคและโรคเอดส ทาเรือ  0 2249 2141,

0 2249 7574 (6) หนวยกามโรคและโรคเอดสวชิระ  0 2243 0151 ตอ 2631 (7) หนวย

กามโรคและโรคเอดส บางเขน  0 2521 0819, 0 2972 9609 ตอ 30 (8) โรงพยาบาล

บําราศนราดูร  0 2590 3737, 0 2590 3506, 0 2590 3510 (9) คลินิกนิรนามสภากาชาดไทย

 0 2256 4107 9 หรือโรงพยาบาล/ศูนยบริการสาธารณสุขของรัฐทั่วประเทศ

2. คลินิกใหบริการปรึกษาปญหาสุขภาพ (คลินิกนิรนาม) ในตางจังหวัด ไดแก หนวย


กามโรคและโรคเอดสสํานกงานสาธารณสุขจังหวัด ศูนยหนวยงานกามโรคและโรคเอดส


สํานกงานควบคุมโรคติดตอ ศูนยสงเสริมสุขภาพเขต หรือโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวง
สาธารณสุขของรัฐทั่วประเทศ
3. หนวยบริการปรึกษาปญหาที่เกิดขึ้นจากการมีเพศสัมพันธทางโทรศัพท ไดแก (1)

มูลนิธิศูนยฮอตไลน  0 2277 7699, 0 2277 8811 (ฟรี) (2) โครงการเขาถึงเอดส  0

2372 2222 ทุกวัน เวลา16.00-20.00 น. (3) โรงพยาบาลบําราศนราดูร  0 2590 3737,


0 2590 3506, 0 2590 3510 ในวันจันทร - ศกร เวลา 8.30 - 16.30 น. (4) สมาคมวางแผน
ครอบครัวแหงประเทศไทย  0 2245 7382 5, 0 2245 1888 ในวันจันทร - ศุกร เวลา

9.00 - 17.00 น. และวันเสาร - อาทิตย เวลา 9.00 - 15.00 น. และ (5) สายดวนชวนรูเอดส

 1654, 0 2219 2400 (ระบบโทรศัพทอัตโนมัติ)

4. หนวยงานบริการดานสวัสดิการและสังคมสงเคราะห จะใหคําปรึกษาและ

หาแนวทางแกไขปญหาแกผูที่ไดรับความเดือดรอนจากการมีเพศสัมพันธที่ไมถูกตองเหมาะสม

เชน หญิงที่ถูกขมขืน การตั้งครรภไมพึงประสงค เด็กถูกทอดทิ้ง ดังนี้

20

4.1 ดานการศึกษา ไดแก (1) มูลนิธิราชประชาสมาสัยในพระบรมราชูปถัมภ



 0 2588 3720 4 (2) กลุมปญาภิวัฒน  0 2951 0450 2 ตอ 307 และ (3) มูลนธิ
หมอเสมพริ้งพวงแกว จ.เชียงใหม  0 5343 8017

4.2 ดานที่พักอาศัยและใหการดูแล ไดแก (1) สถานสงเคราะหเด็กออนพญาไท
 0 224 5635, 0 2246 4092 (2) สถานสงเคราะหเด็กบานเวียงพิงค จ.เชียงใหม



 0 5321 1877 (3) มูลนธิเกื้อดรุณ จ.เชยงใหม  0 5340 8424 (4) สมาคมสงเสริม
สถานภาพสตรีในพระอุปถัมภพระเจาวรวงศเธอพระองคเจาโสมสวลีพระวรราชา ทินดดามาตุ

 0 2929 2301 10 (5) เมอรซีเซ็นเตอร  0 2381 1821, 0 2392 7981, 0 2671 5313

(6) บานพักใจ  0 2234 2381, 0 2234 8258 (7) สวนสันติธรรม จ.ปทุมธานี

 08 1212 0840, 0 2563 1203 และ (8) วัดพระบาทนาพุ จ.ลพบุรี
้ํ
 08 1403 0836, 08 1406 6547, 08 1948 0634, 08 1948 3604

4.3 ดานการดูแลรักษาที่บาน ไดแก (1) องคกรหมอไรพรมแดน  0 2375 6491


(2) องคการสยามแคร  0 2539 5299, 0 2530 5902 และ (3) มูลนธิดวงประทีป
 0 2671 4045-8


4.4 ดานการสงเคราะหเงินและทุนประกอบอาชพ ไดแก (1) กรมประชาสงเคราะห
 0 2281 3199, 0 2281 3517, 0 2281 3767 (2) กองสวัสดิการและคุมครองแรงงาน

 0 2221 7587, 0 2223 1689 (3) สํานกงานประชาสงเคราะหจังหวัดทุกจังหวัดและ

สํานักงานสวัสดิการและคุมครอง แรงงานจังหวัดทุกจังหวัด

เรื่องที่ 2 การจัดการกับอารมณและความตองการทางเพศ

ถึงแมวาอารมณทางเพศเปนเพียงอารมณหนึ่ง ซึ่งเมื่อเกิดขึ้นแลวหายไปได แตถาหาก
ไมรูจักจัดการกับอารมณเพศแลว อาจจะทําใหเกิดการกระทําที่ไมถูกตอง กอใหเกิดความเสียหาย

เดือดรอนแกตนเองและผูอื่น ดังนั้นผูเรียนควรจะไดเรียนรูถึงวิธีการจัดการกับอารมณทางเพศอยาง

เหมาะสม ไมตกเปนทาสของอารมณเพศ ซึ่งการจัดการกับอารมณทางเพศอาจแบงตามความ

รุนแรงไดเปน 3 ระดับ ดังนี้

ระดับที่ 1 การควบคุมอารมณทางเพศ อาจทําได 2 วิธี คือ

1. การควบคุมจิตใจตนเอง พยายามขมใจตนเอง มิใหเกิดอารมณทางเพศได หรือถาเกิด

อารมณทางเพศใหพยายามขมใจไว เพื่อใหอารมณทางเพศคอยๆ ลดลงจนสูสภาพอารมณที่ปกติ

21

2. การหลีกเลี่ยงจากสิ่งเรา สิ่งเราภายนอกที่ยั่วยุอารมณทางเพศหรือยั่วกิเลสยอมทําให

เกิดอารมณทางเพศได ดังนน การตัดไฟเสียแตตนลม คือหลีกเลี่ยงจากสิ่งเราเหลานนเสียจะ
ั้
ั้
ชวยใหไมเกิดอารมณได เชน ไมดูสื่อลามกตาง ๆ ไมเที่ยวกลางคืน เปนตน

ระดับที่ 2 การเบี่ยงเบนอารมณทางเพศ

ถาเกิดอารมณทางเพศจนไมอาจควบคุมไดควรใชวิธีการเบี่ยงเบนใหไปสนใจสิ่งอื่น

แทนที่จะหมกมุนอยูกับอารมณทางเพศ เชน ไปออกกําลังกาย ประกอบกิจกรรมนนทนาการ


ตางๆ ใหสนุกสนาน เพลิดเพลิน ไปทํางานตางๆ เพื่อใหจิตใจมุงที่งาน ไปพูดคุยสนทนากับคน

อื่น เปนตน

ระดับที่ 3 การปลดปลอยหรือระบายอารมณทางเพศ

ถาเกิดอารมณทางเพศระดับมากจนเบี่ยงเบนไมได หรือสถานการณนนอาจทําใหไมมี
ั้
โอกาสเบี่ยงเบน อารมณทางเพศก็ปลดปลอย หรือระบายอารมณทางเพศดวยวิธีการที่
เหมาะสมกับสภาพของวัยรุนซึ่งสามารถทําได 2 ประการ คือ

1. การฝนเปยก (Wet Dream) ในเพศชาย ซึ่งการฝนนี้เราไมสามารถบังคับใหฝนหรือ
ไมใหฝนได แตจะเกิดขึ้นเองเมื่อเราสนใจหรือมีความรูสึกในทางเพศมากจนเกินไปหรืออาจเกิด

้ํ
การสะสมของน้ําอสุจิมีมากจนลนถุงเก็บนาอสุจิ ธรรมชาติจะระบายนาอสุจิออกมาโดยการให
้ํ
ฝนเกี่ยวกับเรื่องเพศจนถึงจุดสุดยอด และมีการหลั่งน้ําอสุจิออกมา

2. การสําเร็จความใครดวยตนเอง หรืออาจเรียกอีกอยางหนึ่งวาการชวยเหลือตัวเอง

(Masturbation) ทําไดทั้งผูหญิงและผูชาย ซึ่งผูชายแทบทุกคนมักมีประสบการณในเรื่องนแต
ี้
ผูหญิงนนมีเปนบางคนที่มีประสบการณในเรื่องน การสําเร็จความใครดวยตนเองเปนเรื่อง
ี้
ั้
ธรรมชาติของคนเรา เมื่อเกิดอารมณทางเพศจนหยุดยั้งไมได เพราะการสําเร็จความใครดวย

ตนเองไมทําใหตนเอง และผูอื่นเดือดรอน

เรื่องที่ 3 ความเชื่อที่ผิดๆ ทางเพศที่สงผลตอสุขภาพทางเพศ

ความคิดผิด ๆ นั้น ความจริงเปนแคความคิดเทานั้น ถายังไมไดกระทํา ยอมไมถือวาเปน

ั้
ความผิด เพราะการกระทํายังไมเกิดขึ้น โดยเฉพาะความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับเรื่องเพศนน ถาคิดใหม
ทําใหม ก็จะไมเกิดผลรายในการดําเนนชีวิตประจําวัน ความเขาใจผิด ๆ ทางเพศ ที่องคการ

อนามัยโลกไดตีพิมพไว มีดังนี้

22

1. ผูชายไมควรแสดงอารมณและความรูสึกเกี่ยวกับความรัก

คําสั่งสอนในอดีตที่วา ผูชายไมควรแสดงอารมณและความรูสึกเกี่ยวกับความรักใหออก
นอกหนา ไมอยางนั้นจะไมเปนชายสมชาย ผูชายจึงแสดงออกถึงความรักผานการมีเพศสัมพันธ

จนเหมือนวาผูชายเกิดมาเพื่อจะมีเซ็กส ทั้งๆ ที่ตองการจะระบายความรักออกไปเทานนเอง
ั้
แทจริงแลว ผูชายสามารถจะแสดงอารมณรักออกมาทางสีหนาแววตา การกระทําอะไรตอมิ

อะไรได

2. การถูกเนื้อตองตัวจะนําไปสูการมีเซ็กส

เพราะความเชื่อที่วา ถาผูหญิงยอมใหผูชายถูกเนื้อตองตัวแลว แสดงวาตัวเองมีใจกับเขา

ั้
เขาจึงพยายามตอไปที่จะมีสัมพันธสวาทที่ลึกซึ้งกวานนกับเธอ เปนความเขาใจผิด เพราะ
ั้
บางครั้งผูหญิงแคตองการความอบอุน และประทับใจกับแฟนของเธอเทานน โดยไมไดคิดอะไร
ั้
เลยเถิดไปขนาดนน การจับมือกัน การโอบกอดสัมผัสกายของกันและกัน แทที่จริงเปนการ
ถายทอดความรักที่บริสุทธิ์ ที่สามารถจะสัมผัสจับตองได โดยไมจําเปนจะตองมีการรวมรักกัน

ตอไปเลย และไมควรที่ฝายใดฝายหนึ่ง จะกดดันใหอีกฝายตอง มีเซ็กสดวย

3. การมีเพศสัมพันธที่รุนแรงจะนําไปสูการสุขสมที่มากกวา

ความเชื่อที่วาผูชายที่มีพละกําลังมาก ๆ จะสามารถมีเพศสัมพันธกับหญิงสาวไดรวดเร็ว

รุนแรง และทําใหเธอไปถึงจุดสุดยอดไดงาย รวมทั้งมีความเขาใจผิดเสมอ ๆ วาอาวุธประจํากาย

ของฝายชายที่ใหญเทานั้นที่จะทําใหผูหญิงมีความสุขได แทจริงแลว การมีสัมพันธสวาทที่อบอุน

เนิ่นนานเขาใจกัน ชวยกันประคับประคองความรักได

4. การมีความสัมพันธทางเพศก็คือการรวมรัก

การรวมรักเปนการแสดงความรักผานภาษากาย เปนสัมผัสรักที่คนสองคนถายทอดใหแก

กันจากการสัมผัสทางผิวกายสวนไหนก็ไดไมใชเฉพาะสวนนั้นเทานั้น
5. ผูชายควรเปนผูนําในการรวมรัก

คนทั่วไปมักจะคิดเสมอ ๆ วาการจะมีอะไรกันนั้นผูชายตองเปนคนกระทํา และผูหญิงเปน
ั้
ฝายรองรับการกระทํานนแทจริงแลวการรวมรักเปนกระบวนการที่คนสองคนสามารถ
ปรับเปลี่ยนเปนฝายนํา ในการกระทําไดโดยเสมอภาคซึ่งกันและกัน

6. ผูหญิงไมควรจะเปนฝายเริ่มตนกอน

เซ็กสเปนการสื่อสาร 2 ทางระหวางคน 2 คน ที่จะรวมมือกันบรรเลงบทเพลงแหงความ

พิศวาส ซึ่งตองผลัดกันนาผลัดกันตามและตองชวยกันโล ชวยกันพายนาวารักไปยังจุดหมาย



ปลายทางแหงความสุขสมรวมกัน

23

7. ผูชายนึกถึงแตเรื่องเซ็กสตลอดเวลา

มีคํากลาวผิดๆ ที่พูดกันตอเนื่องมาวา ผูชายนึกถึงแตเรื่องของการมีเพศสัมพันธที่เรียกกัน
สั้นๆ วาเซ็กส อยูตลอด ทั้ง ๆ ที่ความเปนจริงคือ ผูชายไมไดคิดถึงเรื่องเซ็กสอยูตลอดเวลา



เขาคิดถึงเรื่องอื่นอยูเหมือนกัน ไมวาจะเปนเรื่องงาน เรื่องครอบครว เพียงแตผูชายพรอมจะมี
เซ็กสเสมอและไมไดหมายความวา เมื่อเขาพรอมที่จะมีเซ็กสแลว เขาจําเปนจะตองมีเสมอไป
8. ผูหญิงตองพรอมเสมอที่จะมีเซ็กสเมื่อสามีตองการ

ในยุคปจจุบันผูชายและผูหญิงเทาเทียมกัน การจะมีเซ็กสกันก็เปนกิจกรรมรวมที่

คนสองคนจะตองใจตรงกันกอน ไมใชแคฝายใดฝายหนึ่งตองการแลวอีกฝายจะตองยอม

9. เซ็กส เปนเรื่องธรรมชาติไมตองเรียนรู


ผูเฒาผูแกมักจะพยายามพูดเสมอ ๆ วา เพศศึกษาไมสําคัญ ทาไมรุนกอน ๆ ไมตอง

เตรียมตัวในการเรียนรูเลย แตการเตรียมตัวที่ดียอมมีชยไปกวาครึ่ง เรื่องราวเกี่ยวกับ
ความสัมพันธของคนสองคนก็เชนกัน สามารถเรียนรูวิธีการที่จะเพิ่มความสุขใหแกกันและกันได

กอนที่จะเกิดเหตุการณนั้น

เรื่องที่ 4 อิทธิพลของสื่อตาง ๆ ที่สงผลใหเกิดปญหาทางเพศ

ปจจุบันสื่อมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตทุกดานรวมถึงดานปญหาทางเพศดวย เพราะสื่อมี

ผลตอพฤติกรรมการตัดสินใจของคนในสังคม ทุกคนจึงตองบริโภคขาวสารอยูตลอดเวลา เชน


การชมรายการขาวทางทีวีทุกเชา การอานหนังสือพิมพ หรือเลนอินเตอรเนต ซึ่งบางคนอาจจะ

ใชบริการรับขาวสารทาง SMS เปนตน สื่อจึงกลายเปนสิ่งที่มีอิทธิพลตอความคิดและความรูสึก
และการตัดสินใจที่สําคัญของคนในสังคมอยางหลีกเลี่ยงไมได

จากปจจัยดังกลาวอิทธิพลของสื่อจึงยอมที่จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไดในทุกๆ

ภาคสวนของสังคมไมวาจะเปนสังคมเมืองหรือแมแตในสังคมชนบทก็ตาม ซึ่งการเปลี่ยนแปลง

นั้นยอมที่จะเกิดขึ้นไดทั้งทางที่ดีขึ้นและทางที่แยลง และสิ่งสําคัญสื่อคือสิ่งที่มีอิทธิพลโดยตรง


ตอทุก ๆ คนในสังคมไมวาจะเด็ก วัยรุนหรือกระทั่งผูใหญ อิทธิพลของสื่อที่นบวันจะรุนแรงมาก
ื่
ขึ้น ไมวาจากสภาพเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงของสังคม เนองมาจากความพยายามในการ
พัฒนาประเทศใหมีความเจริญกาวหนาในดานตาง ๆ เพื่อใหทัดเทียมกับนานาประเทศ


กอใหเกิดวัฒนธรรมที่หลั่งไหลเขามาในประเทศไทย โดยผานสื่อทั้งวิทยุ โทรทัศน สิ่งพิมพและ


อินเตอรเนต สื่อจึงกลายเปนสิ่งที่มีอิทธิพลตอการดําเนนชวิต และนาพาไปสูปญหาและ


ผลกระทบหลาย ๆ ดาน ของชวิตแบบเดิม ๆ ซึ่งลวนมาจากการรับสื่อและอิทธิพลสื่อยังทําให

24


เกิดพฤติกรรมเลียนแบบ เชน ขาวอาชญากรรม ภาพยนตรหรือละครที่เนอหารุนแรง ตอสูกัน
ื้
ตลอดจนสื่อลามกอนาจาร ซึ่งสงผลใหเด็กและคนที่รับสื่อ จิตนาการตามและเกิดการ
เลียนแบบ โดยจะเห็นไดจากการที่เด็กหรือคนที่กออาชญากรรมโดยบอกวาเลียนแบบมาจาก

ั่

หนง จากสื่อตาง ๆ แมกระทั่งการแตงกายตามแฟชนของวัยรุน การใชความรุนแรงในการ

แกปญหา ความรุนแรงทางเพศ ที่เกิดขึ้นอยูในสังคมไทยขณะนี้สวนใหญเปนผลมาจากอิทธิพล
ของสื่อ


สื่อมวลชนจึงมีความสําคัญอยางยิ่งตอการเขาไปมีบทบาทและมีอิทธิพลตอการดําเนน
ชีวิตของคนในสังคม มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นตลอดเวลา บางสิ่งเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว

แตบางสิ่งคอย ๆ จางหายไปทีละเล็กละนอย จนหมดไปในที่สุด เชน การที่ประเทศกาวหนาทาง

เทคโนโลยีการสื่อสารทําใหขนบธรรมเนยมวัฒนธรรมคนไทย ทั้งสังคมเมืองและสังคมชนบท

มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว แตจากการที่เราไมสามารถปฏิเสธการรับขาวสาร ความบันเทิง

จากสื่อได แตเราสามารถเลือกรับสื่อที่ดีมีประโยชน ไมรุนแรงและไมผิดธรรมนองคลองธรรมได

เรื่องที่ 5 กฎหมายที่เกี่ยวของกับการลวงละเมิดทางเพศและกฎหมายคุมครองเด็กและ

สตรี

คดีความผิดเกี่ยวกับเพศ โดยเฉพาะความผิดฐานขมขืนกระทําชาเรา ถือเปนความผิด

ที่รุนแรงและเปนที่หวาดกลัวของผูหญิงจํานวนมาก รวมทั้งผูปกครองของเด็ก ไมวาจะเปน

เด็กหญิงหรือเด็กชาย ยิ่งปจจุบันจากขอมูลสถิติตาง ๆ ทําใหเราเห็นกันแลววา การลวงละเมิด

ทางเพศนั้นสามารถเกิดขึ้นไดกับคนทุกเพศ ทุกวัย กฎหมายที่บัญญัติไวเพื่อคุมครองผูหญิงและ

ผูเสียหายจากการลวงละเมิดทางเพศมีบัญญัติอยูในลักษณะความผิดเกี่ยวกับเพศ ดังนี้


มาตรา 276 ผูใดขมขืนกระทําชําเราหญิงซึ่งมิใชภริยาตน โดยขูเข็ญประการใดๆ โดยใช 
กําลังประทุษราย โดยหญิงอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได หรือโดยทําใหหญิงเขาใจผิดคิดวา

ตนเปนบุคคลอื่น ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสี่ปถึงยี่สิบปและปรับตั้งแต แปดพันบาทถึงสี่หมื่น

บาท ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรกได กระทําโดยมีหรือใชอาวุธปนหรือวัตถุระเบิด หรือ
โดยรวมกระทําความผิดดวยกัน อันมีลักษณะเปนการโทรมหญิงตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสิบหาป

ถึงยี่สิบปและปรับตั้งแตสามหมื่นถึงสี่หมื่นบาทหรือจําคุกตลอดชีวิต

มาตรา 277 ผูใดกระทําชําเราเด็กหญิงอายุไมเกินสิบหาป ซึ่งมิใชภริยาตน โดยเด็กหญิง


นั้นจะยินยอมหรือไมก็ตาม ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสี่ปถึงยี่สิบปและปรับตั้งแตแปดพันบาท
ถึงสี่หมื่นบาท ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรกเปนการกระทําแกเด็กหญิงอายุยังไมถึงสิบ

25

สามป ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตเจ็ดปถึงยี่สิบปและปรับตั้งแตหนึ่งหมื่นสี่พันบาทถึงสี่หมื่นบาท


หรือจําคุกตลอดชวิต ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรกหรือวรรคสองไดกระทําโดยรวม
ั้
กระทําความผิดดวยกันอันมีลักษณะเปนการโทรมหญิงและเด็กหญิงนนไมยินยอม หรือได


กระทําโดยมีอาวุธปนและวัตถุระเบิด หรือโดยใชอาวุธ ตองระวางโทษจําคุกตลอดชวิต ความผิด
ตามที่บัญญัติไวในวรรคแรก ถาเปนการกระทําที่ชายกระทํากับหญิงอายุต่ํากวาสิบสามป แตยัง


ั้
ั้
ไมเกินสิบหาป โดยเด็กหญิงนนยินยอมและภายหลังศาลอนญาตใหชายและหญิงนนสมรสกัน
ผูกระทําผิดไมตองรับโทษ ถาศาลอนญาตใหสมรสในระหวางที่ผูกระทําผิดกําลังรับโทษใน

ความผิดนั้นอยู ใหศาลปลอยผูกระทําผิดนั้นไป

มาตรา 277 ทวิ ถาการกระทําความผิดตามมาตรา 276 วรรคแรก หรือมาตรา 277

วรรคแรก หรือวรรคสอง เปนเหตุใหผูถูกกระทํา

(1) รับอันตรายสาหัส ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสิบหาปถึงยี่สิบปและปรับ

ตั้งแตสามหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือจําคุกตลอดชีวิต

(2) ถึงแกความตาย ผูกระทําตองระวางโทษประหารชีวิต หรือจําคุกตลอดชีวิต

มาตรา 277 ตรี ถาการกระทําความผิดมาตรา 276 วรรคสองหรือมาตรา 277 วรรค

สาม เปนเหตุใหผูถูกกระทํา

(1) รับอันตรายสาหัส ผูกระทําตองระวางโทษประหารชีวิต หรือจําคุกตลอดชีวิต

(2) ถึงแกความตาย ผูกระทําตองระวางโทษประหารชีวิต

โดยสรุป การจะมีความผิดฐานกระทําชําเราได ตองมีองคประกอบความผิด ดังนี้

1. กระทําชําเราหญิงอื่นที่มิใชภรรยาตน

2. เปนการขมขืน บังคับใจ โดยมีการขูเข็ญ หรือใชกําลังประทุษราย หรือปลอมตัว

เปนคนอื่นที่หญิงชอบและหญิงไมสามารถขัดขืนได
3. โดยเจตนา

ขอสังเกต
กระทําชําเรา = ทําใหของลับของชายลวงล้ําเขาไปในของลับของหญิง ไมวาจะลวงล้ํา

เขาไปเล็กนอยเพียงใดก็ตามและไมวาจะสําเร็จความใครหรือไมก็ตาม

การขมขืน = ขมขืนใจโดยที่หญิงไมสมัครใจ

การขมขืนภรรยาของตนเองโดยที่จดทะเบียนสมรสแลวไมเปนความผิด

การรวมเพศโดยที่ผูหญิงยินยอมไมเปนความผิด แตถาหญิงนั้นอายุไมเกิน 13 ป

แมยินยอมก็มีความผิด

26


การขมขืนกระทําชําเราผูที่อยูภายในปกครองของตนเอง เชน บุตร หลาน ลูกศิษยที่อยู
ในความดูแล ตองรับโทษหนักขึ้น
มาตรา 278 ผูใดกระทําอนาจารแกบุคคลอายุต่ํากวาสิบหาป โดยขูเข็ญดวยประการใด

ๆ โดยใชกําลังประทุษราย โดยบุคคลนนอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนไดหรือโดยทําใหบุคคล
ั้
นั้นเขาใจผิดวาตนเปนบุคคลอื่น ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท

หรือทั้งจําทั้งปรับ

มาตรา 279 ผูใดกระทําอนาจารแกเด็กอายุไมเกินสิบหาป โดยเด็กนั้นจะยินยอมหรือไม

ก็ตาม ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสิบป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจํา ทั้งปรับ

ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรก ผูกระทําไดกระทําโดยขูเข็ญดวยประการ ใด ๆ โดยใช 

กําลังประทุษรายโดยเด็กนั้นอยูในภาวะที่ไมสามารถขัดขืนได หรือโดยทําใหเด็กนนเขาใจผิดวา
ั้
ตนเปนบุคคลอื่น ตองระวางโทษจําคุก ไมเกินสิบหาป หรือปรับไมเกินสามหมื่นบาท หรือทั้งจํา

ทั้งปรับ

มาตรา 280 ถาการกระทําความผิดตามมาตรา 278 หรือ มาตรา 279 เปนเหตุให

ผูถูกกระทํา

(1) รับอันตรายสาหัส ผูกระทําตองระวางโทษจําคุก ตั้งแตหาปถึงยี่สิบปและปรับตั้งแต

หนึ่งหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท

(2) ถึงแกความตาย ผูกระทําตองระวางโทษประหารชีวิต หรือจําคุกตลอดชีวิต

การจะมีความผิดฐานทําอนาจารได ตองมีองคประกอบ คือ

1 ทําอนาจารแกบุคคลอายุเกินกวา 13 ป

2 มีการขมขู ประทุษรายจนไมสามารถขัดขืนได หรือทําใหเขาใจวาเราเปนคนอื่น

3 โดยเจตนา
ขอสังเกต


อนาจาร = การทําหยาบชาลามกใหเปนที่อับอายโดยที่หญิงไมสมัครใจ หรือโดยการ
ปลอมตัวเปนสามีหรือคนรัก การทําอนาจารกับเด็กอายุไมเกิน 13 ป แมเด็กยินยอมก็เปน

ความผิด ถาทําอนาจารกับบุคคลใดแลวบุคคลนนไดรับอันตรายหรือถึงแกความตายตองไดรับ
ั้
โทษหนักขึ้น

การทําอนาจารไมจําเปนตองทํากับหญิงเสมอไป การทําอนาจารกับชายก็ถือเปน

ความผิดเชนเดียวกันไมวาผูกระทําจะเปนหญิงหรือชายก็ตาม ความผิดทั้งการขมขืนกระทํา

ชําเราและการกระทําอนาจารนี้ ผูกระทําจะไดรับโทษหนักขึ้นกวาที่กําหนดไวอีก 1 ใน 3

27

หากเปนการกระทําผิดแก

1. ผูสืบสันดาน ไดแก บุตร หลาน เหลน ลื่อ (ลูกของหลาน) ที่ชอบดวยกฎหมาย
2. ศิษยซึ่งอยูในความดูแล ซึ่งไมใชเฉพาะครูที่มีหนาที่สอนอยางเดียว ตองมีหนาที่ดูแล

ดวย
3. ผูอยูในความควบคุมตามหนาที่ราชการ

4. ผูอยูในความปกครอง ในความพิทักษ หรือในความอนุบาลตามกฎหมาย

นอกจากนี้ ยังมีมาตราอื่น ๆ ที่เกี่ยวของอีก ไดแก

มาตรา 282 ผูใดเพื่อสนองความใครของผูอื่น เปนธุระจัดหาลอไป หรือพาไปเพื่อการ

ึ่
อนาจาร ซึ่งชายหรือหญิง แมผูนนจะยินยอมก็ตาม ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหนงปถึงสิบป
ั้
และปรับตั้งแตสองพันบาทถึงสองหมื่นบาท ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรกเปนการ

กระทําแกบุคคลอายุเกินสิบหาป แตยังไมเกินสิบแปดป ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสาม

ปถึงสิบหาปและปรับตั้งแตหกพันบาทถึงสามหมื่นบาท ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรก

เปนการกระทําแกเด็กอายุยังไมเกินสิบหาป ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหาปถึงยี่สิบป

และปรับตั้งแตหนงหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท ผูใดเพื่อสนองความใครของผูอื่น รับตัวบุคคลซึ่งผู
ึ่
จัดหา ลอไป หรือพาไปตามวรรคแรก วรรคสอง หรือวรรคสาม หรือสนบสนนในการกระทํา


ความผิดดังกลาวตองระวางโทษตามที่บัญญัติไวในวรรคแรก วรรคสอง หรือวรรคสาม แลวแต

กรณี

มาตรา 283 ผูใดเพื่อสนองความใครของผูอื่น เปนธุระจัดหาลอไป หรือพาไป เพื่อการ

อนาจาร ซึ่งชายหรือหญิง โดยใชอุบายหลอกลวง ขูเข็ญ ใชกําลังประทุษรายใชอํานาจครอบงํา


ผิดคลองธรรม หรือใชวิธีขมขืนใจดวยประการอื่นใด ตองระวางโทษจําคุก ตั้งแตหาปถึงยี่สิบป

และปรับตั้งแตหนึ่งหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท ถาการกระทําตามความผิดตามวรรคแรก เปนการ
กระทําแกบุคคลอายุเกินสิบหาปแตยังไมเกินสิบแปดป ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแตเจ็ดป

ถึงยี่สิบปและปรับตั้งแตหนึ่งหมื่นสี่พันบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือจําคุกตลอดชีวิต ถาการกระทําผิด
ตามวรรคแรกเปนการกระทําแกเด็กอายุยังไมเกินสิบหาป ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแต

สิบปถึงยี่สิบปและปรับตั้งแต สองหมื่นบาทถึงสี่หมื่นบาท หรือจําคุกตลอดชวิต หรือประหาร

ชีวิต ผูใดเพื่อสนองความใครของผูอื่น รับตัวบุคคลซึ่งมีผูจัดหา ลอไป หรือพาไปตามวรรคแรก

วรรคสอง หรือ วรรคสาม หรือสนับสนุนในการกระทําความผิดดังกลาว ตองระวางโทษตามที่

บัญญัติไวในวรรคแรก วรรคสอง หรือวรรคสามแลวแตกรณี

28

มาตรา 283 ทวิ ผูใดพาบุคคลอายุเกินสิบหาปแตยังไมเกินสิบแปดปไปเพื่อการอนาจาร

ึ่
แมผูนั้นจะยินยอมก็ตาม ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหาปหรือปรับไมเกินหนงหมื่นบาทหรือทั้ง
จําทั้งปรับ ถาการกระทําความผิดตามวรรคแรก เปนการกระทําแกเด็กอายุยังไมเกินสิบหาป

ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกไมเกินเจ็ดปหรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่น สี่พันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ผูใดซอนเรนบุคคลซึ่งถูกพาไปตามวรรคแรกหรือวรรคสอง ตองระวางโทษตามที่บัญญัติในวรรค

แรกหรือวรรคสองแลวแตกรณี ความผิดตามวรรคแรกและวรรคสาม เฉพาะกรณีที่กระทําแก

บุคคลอายุเกินสิบหาป เปนความผิดอันยอมความได



มาตรา 284 ผูใดพาผูอื่นไปเพื่อการอนาจาร โดยใชอุบายหลอกลวง ขูเข็ญ ใชกําลัง
ประทุษราย ใชอํานาจครอบงํา ผิดคลองธรรมหรือใชวิธีขมขืนใจดวยประการอื่นใด ตองระวาง

ึ่
โทษจําคุกตั้งแตหนึ่งปถึงสิบปและปรับตั้งแตสองพันบาทถึงหนงหมื่นบาท ผูใดซอนเรนบุคคล
ั้
ซึ่งเปนผูถูกพาไปตามวรรคแรก ตองระวางโทษเชนเดียวกับผูพาไปนน ความผิดตามมาตรานี้

เปนความผิดอันยอมความได

มาตรา 317 ผูใดปราศจากเหตุอันสมควรพรากเด็กอายุยังไมเกินสิบหาปไปเสียจากบิดา



มารดา ผูปกครอง หรือผูดูแล ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามปถึงสิบหาปและปรับตั้งแตหาพัน
บาทถึงสามหมื่นบาท ผูใดโดยทุจริต ซื้อ จําหนาย หรือรับตัวเด็กซึ่งถูกพรากตามวรรคแรก ตอง

ระวางโทษเชนเดียวกับ ผูพรากนั้น ถาความผิดตามมาตรานี้ไดกระทําเพื่อหากําไร หรือเพื่อการ

อนาจาร ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแตหาปถึงยี่สิบปและปรับ ตั้งแตหนงหมื่นบาทถึงสี่
ึ่
หมื่นบาท

มาตรา 318 ผูใดพรากผูเยาวอายุกวาสิบหาปแตยังไมเกินสิบแปดปไปเสียจากบิดา

มารดา ผูปกครอง หรือผูดูแล โดยผูเยาวนั้นไมเต็มใจไปดวย ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสองปถึง


สิบปและปรับตั้งแตสี่พันบาทถึงสองหมื่นบาท ผูใดโดยทุจริต ซื้อ จําหนาย หรือรับตัวผูเยาวซึ่ง
ี้
ถูกพรากตามวรรคแรกตองระวางโทษเชนเดียวกับผูพรากนั้น ถาความผิดตามมาตรานไดกระทํา

เพื่อหากําไร หรือเพื่อการอนาจาร ผูกระทําตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสามปถึงสิบหาปและ
ปรับตั้งแตหาพันบาทถึงสามหมื่นบาท

มาตรา 319 ผูใดพรากผูเยาวอายุกวาสิบหาปแตยังไมเกินสิบแปดปไปเสียจากบิดา

มารดา ผูปกครองหรือผูดูแลเพื่อหากําไรหรือเพื่อการอนาจาร โดยผูเยาวนนเต็มใจไปดวย
ั้
ตองระวางโทษจําคุกตั้งแตสองปถึงสิบปและปรับตั้งแตสี่พันบาทถึงสองหมื่นบาท ผูใดกระทํา

ทุจริต ซื้อ จําหนาย หรือรับตัวผูเยาวซึ่งถูกพรากตามวรรคแรกตองระวางโทษเชนเดียวกับ

ผูพรากนั้นผูใดจะมีความผิดฐานพรากผูเยาวความผิดนั้นจะตองประกอบดวย

29

1. มีการพรากบุคคลไปจากการดูแลของบิดามารดา ผูดูแล หรือผูปกครอง

2. บุคคลที่ถูกพรากจะเต็มใจหรือไมก็ตาม
3. ปราศจากเหตุผลอันสมควร

4. โดยเจตนา
ขอสังเกต

การพรากผูเยาว = การเอาตัวเด็กที่อายุยังไมครบบรรลุนติภาวะไปจากความดูแลของ

บิดามารดา ผูปกครอง หรือผูดูแลไมวาเด็กนั้นจะเต็มใจหรือไมก็ตาม

การพรากผูเยาวอายุไมเกิน 13 ป แตไมเกิน 18 ป โดยผูเยาวไมเต็มใจเปนความผิด ผูที่

รับซื้อหรือขายตัวเด็กที่พรากฯ ตองรับโทษเชนเดียวกับผูพราก ผูที่พรากฯ หรือรับซื้อเด็กที่ถูก

พรากฯ ไปเปนโสเภณี เปนเมียนอยของคนอื่น หรือเพื่อขมขืนตองรับโทษหนักขึ้น

การพรากผูเยาวอายุเกิน 13 ป แตไมเกิน 18 ป แมผูเยาวจะเต็มใจไปดวย ถานําไป

เพื่อการอนาจารหรือคากําไรเปนความผิด เชน พาไปขมขืน พาไปเปนโสเภณี เปนตน

30

กิจกรรมทายบทที่ 2

กิจกรรมที่ 1 จงตอบคําถามตอไปนี้

1. หากทานมีปญหาเรื่องสุขภาพทางเพศ และตองการรับคําปรึกษา สามารถติดตอขอรับ

คําปรึกษาไดจากที่ใดบางใหยกตัวอยางประกอบ

2. จงยกตัวอยางความเชื่อผิด ๆ เรื่องเพศที่สงผลตอสุขภาพทางเพศ พรอมแสดงความคิดเห็น

3. หากนายสมชายไดกระทําอนาจารแก ด.ญ.สมหญิง ซึ่งอายุ 13 ป ตองไดรับโทษ เชน

ใดบาง

4. นายศักดิ์ชายกระทําชําเรา นางสมศรี ซึ่งไมใชภรรยาตนเอง ตองไดรับโทษเชนใดบาง

31

บทที่ 3

อาหารและโภชนาการ

สาระสําคัญ

มีความรูความเขาใจถึงปญหา สาเหตุและการปองกันโรคขาดสารอาหาร ตลอดจน

สามารถบอกหลักการปฏิบัติตนตามหลักสุขาภิบาลดานอาหาร ไดอยางถูกตองเหมาะสมและ

สามารถจัดโปรแกรมอาหารที่เหมาะสมได 

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

1. อธิบายปญหา สาเหตุของโรคขาดสารอาหารได 
2. อธิบายอาการของโรคขาดสารอาหารได

3. บอกแนวทางการปองกันโรคขาดสารอาหารได
4. บอกหลักการและปฏิบัติตนตามหลักสุขาภิบาลอาหารไดอยางเหมาะสม

5. จัดโปรแกรมอาหารที่เหมาะสมสําหรับตนเองและครอบครัวผูสูงอายุและผูปวยได

ขอบขายเนื้อหา

เรื่องที่ 1 โรคขาดสารอาหาร

เรื่องที่ 2 หลักการสุขาภิบาลอาหาร

เรื่องที่ 3 การจัดโปรแกรมอาหารที่เหมาะสมสําหรับบุคคลกลุมตาง ๆ

32

เรื่องที่ 1 โรคขาดสารอาหาร

ประเทศไทยแมจะไดชื่อวา เปนดินแดนที่อุดมสมบูรณ มีอาหารมากมายหลากหลายชนิด
นอกจากจะสามารถผลิตอาหารพอเลี้ยงประชากรในประเทศไทยแลว ยังมากพอที่จะสงไป

ั้
จําหนายตางประเทศไดปละมากๆ อีกดวย แตกระนนก็ตาม ยังมีรายงานวาประชากรบางสวน

ของประเทศเปนโรคขาดสารอาหารอีกจํานวนไมนอย โดยเฉพาะทารกและเด็กกอนวัยเรียน
ื้
เด็กเหลานอยูในสภาพรางกายไมเจริญเติบโตเต็มที่ มีความตานทานตอโรคติดเชอต่ํา
ี้
ึ่
นอกจากนี้นิสัยโดยสวนตัวของคนไทยเปนสาเหตุหนงที่ทําใหโรคขาดสารอาหาร คนไทยเลือก
รับประทานอาหารตามรสปาก รีบรอนรับประทานเพื่อใหอิ่มทอง หรือรับประทานตามที่หามา


ได โดยไมคํานงถึงวามีสารอาหารที่ใหคุณคาโภชนาการตอรางกายครบถวนหรือไมพฤติกรรม
ี้
เหลานอาจทําใหเกิดโรคขาดสารอาการไดโดยไมรูสึกตัว การเรียนรูเกี่ยวกับสาเหตุและการ

ปองกันโรคขาดสารอาหารจะชวยใหเด็กและเยาวชนมีสุขภาพแข็งแรงเติบโตเปนผูใหญที่
สมบูรณตอไป


ดังนั้น ถารางกายของคนเราไดรับสารอาหารไมครบถวนหรือปริมาณไมเพียงพอกับความ
ตองการของรางกาย จะทําใหเกิดความผิดปกติและเกิดโรคขาดสารอาหารได

โรคขาดสารอาหารที่สําคัญและพบบอยในประเทศไทย มีดังน ี้

1. โรคลักปดลักเปด

สาเหตุ เกิดจากการรับประทานอาหารที่มีวิตามินซีไมเพียงพอ คนที่ขาดวิตามินซีมักจะ

เจ็บปวยบอย เนื่องจากมีความตานทานโรคต่ํา

ื้
อาการ ออนเพลีย เหงือกบวมแดง มีเลือดออกตามไรฟนปวดกลามเนอและปวดในขอ ถาเปน
นานๆ อาจเปนโรคโลหิตจาง
การปองกัน รับประทานอาหารที่ทีวิตามินซีใหเพียงพอ ไดแก ผลไมสดและผักสดตางๆ

เชน มะขามปอม มะเขือเทศ ฝรั่ง กลวย มะรุม ผักชี ถั่วงอก กะหล่ําปลี เปนตน
2. โรคคอพอก

สาเหตุ เกิดจากรางกายขาดสารไอโอดีน หรือรับประทานผักดิบที่ไปยับยั้งการทํางาน

ของสารไอโอดีน เชน ผักกะหล่ําปลี กะหล่ําดอก

อาการ ตอมไทรอยดจะบวมโต เสียงแหบ เหนื่อยงาย หายใจและกลืนอาหารลําบาก

การปองกัน รับประทานอาหารทะเลใหมาก เชน กุง หอย ปู ปลา เปนตน ถาไมสามารถหา

อาหารทะเลไดควรบริโภคเกลืออนามัย ซึ่งเปนเกลือสมุทรผสมไอโอดีนที่ใชในการประกอบ

33


ี้
อาหารแทนได นอกจากนควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีสารขัดขวางการใชไอโอดีน เชน กะหล่ําปลี

ดิบ
3. โรคขาดธาตุไอโอดีนหรือโรคเออ

สาเหตุ เกิดจากการรับประทานอาหารที่มีไอโอดีนต่ําหรืออาหารที่มีสารขัดขวางการใช 
ไอโอดีนในรางกาย

อาการ พัฒนาทางรางกายและจิตใจ รางกายเจริญเติบโตชา เตี้ย แคระแกร็น สติปญญา

เสื่อม อาจเปนใบหรือหูหนวกดวย

การปองกัน รับประทานอาหารทะเลใหมาก เชน กุง หอย ปู ปลา เปนตน ถาไม

สามารถหาอาหารทะเลไดควรบริโภคเกลืออนามัย ซึ่งเปนเกลือสมุทรผสมไอโอดีน ที่ใชในการ


ประกอบอาหารแทนได นอกจากนี้ควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีสารขัดขวางการใชไอโอดีน เชน พืช

ตระกูลกะหล่ําปลี ซึ่งกอนรับประทานควรตมเสียกอน ไมควรรับประทานดิบ ๆ

4. โรคตาฟาง

สาเหตุ เกิดจากรางกายขาดวิตามินเอ

อาการ มองไมเห็นภาพในที่มืดหรือที่มีแสงสลัว ตาสูแสงจาไมได เคืองตา น้ําตาไหล

้ํ

การปองกัน รับประทานอาหารที่มีวิตามินเอใหเพียงพอ เชน ไขแดง นามันตับปลา นม
เนย ผักใบเขียวเขมและและผักที่มีสีเลือง เชน ผักบุง ตําลึง คะนา ฟกทอง มะละกอสุก มะมวง

้ํ
สุก มะเขือเทศ โดยการรับประทานผักที่ปรุงดวยนามัน ซึ่งจะชวยในการดูดซึมวิตามินเอใน

รางกาย

5. โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก

สาเหตุ เกิดจากความตองการธาตุเหล็กสูงจากการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา โดยเฉพาะ

ผูหญิงที่มีประจําเดือน การไดรับธาตุเหล็กจากอาหารไมเพียงพอ การสูญเสียเลือด การเปนพยาธิ
โดยเฉพาะพยาธิปากขอ การเปนแผลในกระเพาะอาหาร เปนริดสีดวงทวาร


อาการ เบื่ออาหาร ออนเพลีย หงุดหงิด มึนงง ปวดศีรษะ ผิวหนงซีด เล็บเปราะ ถาไม
รักษาจะมีผลเสียตอความจําและสมาธิในการเรียนรู

การปองกัน รับประทานอาหารที่มีวิตามินเอใหเพียงพอ เชน ไขแดง น้ํามันตับปลา นม

เนย ผักใบเขียวเขมและผักที่มีสีเหลือง เชน ผักบุง ตําลึง คะนา ฟกทอง มะละกอสุก มะมวงสุก

มะเขือเทศ โดยการรับประทานผักที่ปรุงดวยน้ํามัน ซึ่งจะชวยในการดูดซึมวิตามินเอในรางกาย

34

6. โรคกระดูกออน

สาเหตุ เกิดจากรางกายขาดวิตามินดีและแคลเซียม
อาการ ออนเพลีย ปวดกระดูก ขาจะคดและโคง จะเห็นปุมกระดูกนูนตามรอยตอของ

กระดูกซี่โครงดานหนา และรางกายเจริญเติบโตชา
การปองกัน รับประทานอาหารที่มีวิตามินดีและแคลเซียม ไดแก นมสดและผลิตภัณฑ



จากนม เตาหู ปลาเล็กปลานอย ผักใบเขียวเขม และควรใหรางกายไดรับแสงแดดในตอนเชา
และเย็น

7. โรคเหน็บชา

สาเหตุ เกิดจากรางกายขาดวิตามินบี 1

ื้
อาการ เบื่ออาหาร ปวดกลามเนอบริเวณนอง รูสึกชาตามปลายประสาท เชน มือเทา


ื่
ออนเพลีย เทาไมมีแรง ลุกเดินไมได และอาจมีอาการทางหัวใจ เชน หอบเหนอยงายหรือหัวใจ

วาย
การปองกัน รับประทานอาหารที่ทีวิตามินบี 1 เชน ขาวแดง ขาวซอมมือ เนื้อหมู ปลา

ไข ถวเมล็ดแหง
ั่
8. โรคปากนกกระจอก

สาเหตุ เกิดจากการรับประทานอาหารที่มีวิตามินบี 2 ไมเพียงพอ

อาการ เปนแผลหรือรอยแตกที่มุมปากทั้งสองขางหรือซอกจมูกมีเกล็ดใสเล็กๆ ลิ้นมีสีแดงกวา


ปกติและเจ็บ หรือมีแผลที่ผนงภายในปาก รูสึกคันและปวดแสบปวดรอนที่ตา อาการเหลาน ี้
เรียกวา โรคปากนกกระจอก คนที่เปนโรคนจะมีอาการ ออนเพลีย เบื่ออาหารและอารมณ
ี้
หงุดหงิด

การปองกัน รับประทานอาหารที่มีวิตามินบี 2 ใหเพียงพอและเปนประจํา เชน นมสด
นมปรุงแตง นมถั่วเหลือง น้ําเตาหู ถั่วเมล็ดแหง ขาวซอมมือ ผัก ผลไม เปนตน

ึ่
สรุป การขาดสารอาหารประเภทใดประเภทหนงหรือหลายๆ ประเภท นอกจากจะมีผล
ทําใหรางกายไมสมบูรณแข็งแรงและเปนโรคตางๆ ไดแลว ยังทําใหเปนอุปสรรคตอการ

ดํารงชวิต อีกทั้งยังมีผลกระทบตอสุขภาพของประชากรโดยตรง ซึ่งจะมีผลตอการพัฒนา

ประเทศในที่สุด ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งที่ทุกคนควรเลือกรับประทานอาหารอยางครบถวนตาม

หลักโภชนาการ ซึ่งไมจําเปนตองเปนอาหารที่มีราคาแพงเสมอไป แตควรรับประทานอาหารให

ไดสารอาหารครบถวนในปริมาณที่พอเพียงกับรางกายตองการในแตละวัน นนคือ
ั่
หากรับประทานใหดีแลวจะสงผลถึงสุขภาพความสมบูรณแข็งแรงของรางกาย

35

เรื่องที่ 2 การสุขาภิบาลอาหาร

การสุขาภิบาลอาหาร (Food Sanitation) หมายถึง การดําเนนการดวยวิธีการตางๆ
ที่จัดการเกี่ยวกับอาหารทั้งในเรื่องของการปรับปรุง การบํารุงรักษาและการแกไขเพื่ออาหาร

ที่บริโภคเขาไปแลวมีผลดีตอสุขภาพอนามัยโดยใหอาหารมีความสะอาด ปลอดภัยและมีความ

นาบริโภค

อาหาร หมายความวา ของกินหรือเครื่องค้ําจุนชวิต ไดแก



1. วัตถุทุกชนดที่คนกิน ดื่ม อม หรือนาเขาสูรางกายไมวาดวยวิธีใดๆ หรือในรูป
ลักษณะใดๆ แตไมรวมถึงยา วัตถุออกฤทธิ์ตอจิตและประสาท หรือยาเสพติดใหโทษ

2. วัตถุที่มุงหมายสําหรับใชหรือใชเปนสวนผสมในการผลิตอาหาร รวมถึงวัตถุ เจือปน

อาหาร สี และเครื่องปรุงแตงกลิ่น – รส

ความสําคัญของการสุขาภิบาลอาหาร


อาหารเปนปจจัยสําคัญของมนษย ทุกคนตองบริโภคอาหารเพื่อการเจริญเติบโตและ
ั้


การดํารงชวิตอยูได แตการบริโภคอาหารนนถาคํานงถึงคุณคาทางโภชนาการความอรอย

ความนาบริโภคและการรับประทานใหอิ่มถือไดวาเปนการไมเพียงพอและสิ่งสําคัญที่ตอง
พิจารณาในการบริโภคอาหารนอกเหนือจากที่กลาวแลว คือความสะอาดของอาหารและความ

ปลอดภัยตอสุขภาพของผูบริโภค ทั้งนี้เพราะวาอาหารที่เราใชบริโภค แมวาจะมีรสอรอยแตถา

เปนอาหารสกปรกยอมจะมีอันตรายตอสุขภาพของผูบริโภค กอใหเกิดอาการปวดทอง อุจจาระ


รวง อาเจียน เวียนศีรษะ หนามืด ตาลาย เปนโรคพยาธิทําใหผอม ซูบซีด หรือแมแตเกิดการ
เจ็บปวยในลักษณะเปนโรคเรื้อรัง โรคที่เกิดนเรียกวา “โรคทเกิดจากอาหารเปนสื่อนา” ลักษณะ
ี้

ี่
ความรุนแรงของการเปนโรคนี้ ขึ้นอยูกับชนิดและปริมาณของเชื้อโรค หนอนพยาธิ หรือสารพิษ
ื้
บริโภคเขาไปควรแกปญหาดวยการใหคนเราบริโภคอาหารที่สะอาดปราศจากเชอโรค
หนอนพยาธิและสารพิษ นนคือจะตอง มีการจัดการและควบคุมอาหารใหสะอาด เรียกวา
ั่
การสุขาภิบาล

การปนเปอน จําแนกออกเปน 2 ประเภท คือ

1. พิษที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติของอาหาร เชน เห็ดพิษ ปลาปกเปา แมงดาทะเล

มันสําปะหลังดิบ หอยบางชนิด เปนตน

2. พิษที่เกิดจากอาหารที่มีสารพิษเจือปน แบงออกไดเปน 5 ประเภท

36

2.1 พิษจากจุลินทรียในอาหาร เชน แบคทีเรีย ทําใหเกิดอหิวาตกโรค โรคบิด

ื้


(ไมมีตัว) โรคไขรากสาดนอย (ไขไทฟอยด) ฯลฯ เชอไวรัส เชน โรคตับอักเสบ โรคไขสันหลัง
อักเสบ และโรคคางทูม เชื้อรา เชน พิษจากสารอัลฟาทอกซิน ปรสิต (พยาธิชนิดตางๆ)
2.2 โลหะเปนพิษในอาหาร ปลาสามารถสะสมความเขมขนของสารปรอทที่โรงงาน
ปลอยลงแมน้ําลําคลอง หรือจากภาชนะพลาสติกหรือกรรมวิธีในการผลิตที่ตองใชโลหะ เชน

สีผสมอาหาร น้ําสมสายชู อาหารกระปอง


2.3 พิษจากยาฆาแมลงตกคาง เชน ผักชนิดตางๆ ผูที่บริโภคนยมบริโภค ปลาเค็ม

ผูขายมักจะใสสารดีดีทีปองกันหนอนและแมลงวัน

2.4 การใชรังสีแกมมา ฆาเชื้อจุลินทรียในอาหาร ลดปริมาณเนาเสีย และยืดอายุการ

เก็บอาหารสด หรือการทดลองระเบิดปรมาณูมักจะกระจายสูอากาศ และนาอยางกวางขวาง
้ํ
และรวดเร็ว

2.5 พิษจากวัตถุเจือปนในอาหาร เชน สีผสมอาหาร และสารปรุงแตงรส เชน


รสหวานจากสารขัณฑสกร สารชูรส สารบอแรกซ น้ําปลา น้ําสมปรุงรส สารกันบูดเปนตน

กระบวนการที่อาหารถูกปนเปอน

วิธีการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ดําเนินการในเรื่องดังตอไปน ี้

1. การเลือกซื้ออาหารสด
1.1 ผักและผลไม เลือกที่มีสภาพดี สด สะอาด ไมช้ํา ไมเนา ไมมีคราบตกคางของ

ยาฆาแมลง การเลือกซื้อควรคํานึงถึงคุณคาทางอาหาร ถูกตองตามฤดูกาล

ื้
1.2 เนื้อสัตวชนิดตาง ๆ สด สะอาด สีไมคล้ํา ไมมีกลิ่น และอยูในสภาพดี เชน เนอ

ื้
ื้
หมู เนอวัว ไมมีกลิ่นเหม็นเปรี้ยวหรือเปนเมือกลื่น ถามีการเนาเสีย เนอวัวจะเสียจากขาง

นอกเขาขางใน สวนเนื้อหมูจะเสียจากขางในออกมาขางนอก (จึงใหใชมีดจิ้มดมดู) และสังเกต
ดูตองไมมีตัวออนของพยาธิตัวตืด เปนเม็ดสีขาวคลายเม็ดสาคู

1.3 ปลา เหงือกมีสีแดง ครีบเหงือกปดสนท บริเวณใตทองสะอาด ไมมีกลิ่นเหม็น

และเมือก ตาเปดโตเต็มที่ เกล็ดตองเปนมัน

1.4 หอย เปลือกจะตองปดแนน ไมมีกลิ่นเหม็น เปลือกตองไมมีเมือก

1.5 กุง หัวและหางจะตองไมเปนสีชมพู ลําตัวแนนดูสดใส

1.6 ปู ควรเลือกซื้อปูที่มีชีวิตกดดูตรงทอง ถาเนื้อแนนจะแข็งกดไมลง

1.7 เนื้อเปดและไก ตองไมมีกลิ่นเหม็น ไมมีรอยช้ํา

37

1.8 ไขสด ผิวเปลือกไขเรียบไมเปนมัน ไมมีรอยแตกราวและสะอาด เมื่อสองดูจะเห็น

ฟองอากาศขางใน
2. การเลือกซื้ออาหารแหง

พริกแหง หอม เครื่องเทศ ปลาแหง ปลาเค็ม ขาว ถั่ว หรืออาหารเม็ดแหงตาง ๆ
ื้
ี้
ื้
ควรเลือกไมมีเชอรา สารพิษชนิดนชอ “อะฟลาท็อกซิน” เชอราชนิดนทนความรอนไดดีและ
ี้
ื่
เปนสาเหตุที่ทําใหเกิดมะเร็งตับ และสารกันบูดที่พบมากในอาหารแหง เชน กุงแหง ปลาเค็ม

เนื้อเค็ม ควรเลือกซื้อที่ไมชื้นและไมมีกลิ่นเหม็นหืน
3. การเลือกซื้ออาหารกระปอง

ดูลักษณะกระปองควรใหม ไมบุบ บวม ไมมีรอยรั่ว ไมมีมีสนิม

4. การเลือกใชสีผสมอาหาร

สีผสมอาหารแบงออกเปน 2 ชนิด ไดแก สีจากธรรมชาติ เชน สีเขียวจากใบเตย สีมวง

ี้
น้ําเงินจากดอกอัญชัน สีแดง ชมพูจากดอกกุหลาบ สีที่สังเคราะหจากสารเคมี สีประเภทนเปน

ั้
อันตรายตอรางกาย ดังนนเพื่อความปลอดภัยควรเลือกรับประทานอาหารที่ไมใสสี หรือใชสี
จากธรรมชาติจะไมเปนอันตรายตอรางกาย

การปรุงและจําหนาย

1. การเตรียมอาหาร ควรคํานึงถึงความสะอาดของภาชนะที่นํามาใสการรักษาคุณคา

อาหารและความปลอดภัยของอาหาร เชน การลางภาชนะที่นามาใชทุกครง การลางผักควรลาง

ั้

กอนมานํามาหั่น เพื่อรักษาคุณคาวิตามิน การลางเนื้อสัตว ไมควรนําไปแชน้ํา ควรลางแลวนา

ขึ้นทันที
2. การปรุงอาหาร อาหารแตละชนิดมักมีวิธีการปรุงไมเหมือนกัน แตตองคํานึงถึง

ความสะอาด ปลอดภัย คุณภาพ ปริมาณและรสชาติของอาหารเปนหลักควรปรุง ใหสุกดวยความ

รอน ใชเวลานานเพียงพอทําลายเชอโรคพยาธิ ผูประกอบการอาหารควรปฏิบัติตามสุขวิทยา
ื้
สวนบุคคลกอนทําอาหารทุกครั้ง ลางมือใหสะอาดทุกครั้งกอนลงมือปรุงอาหาร ไมพูดคุย

ไอ จาม

3. การจําหนายอาหาร ภาชนะที่นํามาจําหนายอาหารควรสะอาด และปดมิดชิดกัน


แมลงวันไตตอม ผูจําหนายจะตองคํานงถึงความสะอาด การหยิบจับอาหารควรใชอุปกรณใน


การหยิบจับอาหาร ไมควรใชมือหยิบอาหารโดยตรง

38

4. การเสริฟอาหาร เปนขั้นตอนที่มีความสําคัญ เพราะอาจทําใหอาหารที่ปรุงแลวเกิด

ปนเปอนและเปนอันตรายตอสุขภาพ ผูเสริฟอาหารควรเปนผูที่มีสุขภาพดี
ไมเปนโรคติดตอ ควรลางมือใหสะอาดทุกครั้ง ตัดเล็บสั้น ผมหวีเรียบรอย (ควรมีผาคลุมผมหรือ


หมวกและผากันเปอน) เวลาไอ จามควรมีผาปดปากปดจมูก หลังจากใชหองนา
้ํ
หองสวม ควรลางมือถูสบูเสมอ การเสริฟชอน สอม ตะเกียบ ควรหยิบเฉพาะดาม แกวนา จาน
้ํ
ชาม หยิบโดยระวังมิใหนิ้วมือสัมผัสกับอาหาร

5. การลางและเก็บภาชนะ ควรแยกขยะแหงและขยะเปยก จําพวกเศษอาหารออกจาก

กัน แลวลางภาชนะดวยนายาลางจาน ลางนาใหสะอาดจนไมมีคราบมันติด ผึ่งใหแหงแลวเก็บ
้ํ
้ํ
เขาตูใหเรียบรอย

6. การเก็บอาหาร คํานึงการเก็บเพื่อไมใหบูด เนาเสีย หรืออาหารเสื่อมคุณภาพ

ื้
ไดแก อุณหภูมิ ความชน และสภาพของอาหาร ซึ่งเปนสาเหตุของอาหารบูด เนา เสียได

อาหารแหงควรเก็บในภาชนะที่สะอาด แหง ปกปดมิดชิด

เรื่องที่ 3 การจัดโปรแกรมอาหารใหเหมาะสมกับบุคคลกลุมตางๆ

สารอาหารประเภทตางๆ มีความจําเปนตอรางกาย โปรตีน คารโบไฮเดรตและไขมัน

เปนสารอาหารที่ใหพลังงาน และรางกายมีความตองการเปนปริมาณมาก สวนวิตามินและแร

ธาตุบางชนิดไมใหพลังงานแตจําเปนสําหรับการทํางานของระบบตาง ๆ ในรางกายชวยปองกัน

โรคภัยไขเจ็บ ทําใหดํารงชวิตอยูไดอยางมีความสุข มนษยแตละเพศแตละวัยตองการพลังงาน


และสารอาหารประเภทตางๆ ในปริมาณไมเทากัน ดังนั้นในการเลือกรับประทานอาหาร จึงควร
เลือกใหพอเหมาะกับเพศ วัยของแตละบุคคล

1. อาหารสําหรับทารก น้ํานมมารดาเปนอาหารที่เหมาะสมสําหรับการเลี้ยงทารกเปน

อยางดี ในระยะที่มารดาเริ่มมีน้ํานม น้ํานมที่ออกมาจะมีสีเหลืองออน เรียกวาน้ํานมเหลือง ซึ่งมี

ประโยชนตอทารกมาก การใหทารกกินนมมารดามีขอดี คือ สะดวกตอการใหและโอกาสที่จะ

ติดเชื้อนอยกวาเด็กที่กินนมผสม การเลี้ยงทารกดวยนมผง ควรเลี้ยงเมื่อจําเปนจริงๆ เทานั้น

2. อาหารสําหรับเด็กกอนวัยเรียน เด็กกอนวัยเรียนมีความตองการอาหารทุกชนิด เชน


เนื้อสัตว นม ไข ขาว แปง น้ําตาล ผัก ผลไมและไขมัน เชนเดียวกับผูใหญ เพื่อใหไดสารอาหาร
ครบถวนตามที่รางกายตองการ แตเลือกประเภทและปริมาณของอาหารที่แตกตางไปตาม

รูปรางและนาหนกของรางกายแตละวัย ดังนน จึงควรเอาใจใสดูแลเด็กใหไดอาหารอยาง
้ํ
ั้

ี้
เพียงพอ ไมปลอยใหเด็กเลือกรับประทานอาหารเองตามความพอใจ ซึ่งเด็กในวัยนหาก

39

รับประทานอาหารไดถูกสวนตามความตองการของรางกาย จะทําใหรางกายเจริญเติบโตขึ้นเปน

เด็กที่สมบูรณตอไปในอนาคต
3. อาหารสําหรับเด็กวัยเรียน มีลักษณะเชนเดียวกับเด็กกอนวัยเรียน เพียงแตจะเพิ่ม

ปริมาณขึ้นใหสมสวนกับความเจริญเติบโตของเด็กวัยเรียนเทานั้น

4. อาหารสําหรับวัยรุน วัยรุนเปนวัยที่รางกายเติบโตเร็ว ความสูงและนาหนกเพิ่มขึ้น
้ํ

มากและเปนวัยที่ใชพลังงานมากในการทํากิจกรรมประจําวัน จึงจําเปนตองไดรับอาหารที่มี
ประโยชนในปริมาณที่เพียงพอ เพื่อใหรางกายเจริญเติบโตเต็มที่และเปนผูใหญที่มีสุขภาพ

สมบูรณ โดยรับประทานอาหารใหเปนเวลา วันละ 3 มื้อ ในปริมาณที่พอดีกับความตองการของ

รางกาย พยายามรับประทานอาหารหลายๆ อยางในแตละมื้อใหครบ 5 หมู


5. อาหารสําหรับผูสูงอายุ ควรคํานึงถงผูสูงอายุเปนรายบุคคล เพราะผูสูงอายุ แตละ
บุคคลอาจจะชอบอาหารไมเหมือนกัน บางครั้งไมจําเปนวาทุกมื้อจะตองไดรับสารอาหารครบ

ทุกประเภทอยูในมื้อเดียว

5.1. ในการจัดอาหารอาจจะตองแบงอาหารใหเปนอาหารมื้อยอย 4–5 มื้อ เพื่อลด

ปญหาการแนนทอง

5.2. อาหารควรจะเปนอาหารออน ยอยงาย รสไมจัด ถาเปนผักควรจะหั่นเปนชิ้น

เล็กๆ นงหรือวาตมใหนมพยายามหลีกเลี่ยงอาหารที่ทําใหเกิดแกส หรือทองอืด เชน ถั่วบาง

ิ่
ึ่
ประเภท เปนตน
5.3. อาหารควรเปนอาหารที่มีคุณภาพ ไมไดผานขบวนการขัดสีและควรไดโปรตีน จากปลา

เปนตน

5.4. เนนใหใชวิธีการนงมากกวาทอด เพื่อลดปริมาณไขมันที่รางกายจะไดรับเกินเขา

ึ่

ไป


5.5. อาหารเสริมที่แนะนํา ควรเสริมผักและผลไมใหมากขึ้น เชน ตาลึง ผักบุง คะนา

มะเขือเทศสม เขียวหวาน กลวยสุก มะละกอสุก เปนตน จะชวยเพิ่มใหผูสูงอายุไดรับกากใย
ชวยใหระบบขับถายดี

5.6. การจัดอาหารใหมีสีสันนารับประทาน โดยพยายามใชสีที่เปนธรรมชาติ ปรุงแตง

ใหอาหารใหนารับประทาน อาหารที่จัดใหควรจะอุนหรือรอนพอสมควร เพื่อเพิ่มความอยาก

อาหารใหมาก

5.7. ไมควรใหผูสูงอายุรับประทานอาหารรสเผ็ดจัด จะเกิดอาการปวดมวนทอง หรือ

ทานแลวเกิดความรูสึกไมสบายตัว อาจจะทําใหเกิดผลเสียตอทางเดินอาหารได

40

6. อาหารสําหรับผูปวย คนเราเมื่อเจ็บปวยยอมจะตองดูแลเรื่องสุขภาพอนามัย

โดยเฉพาะเรื่องอาหารเปนพิเศษ ผูปวยมีลักษณะการเจ็บปวยที่แตกตางกัน ยอมตองการบริโภค
อาหารที่แตกตางกัน ดังนี้

6.1. อาหารธรรมดา สําหรับผูปวยธรรมดาที่ไมไดเปนโรครายแรงที่ตองรับประทาน

อาหารเฉพาะจะเปนอาหารที่มีลักษณะและสวนประกอบเชนเดียวกับอาหารปกติ เปนอาหาร
หลัก 5 หมู ใหไดสารอาหารเพียงพอกับความตองการของรางกาย

6.2. อาหารออน เปนอาหารสําหรับผูปวยที่ไมสามารถเคี้ยวไดตามปกติ ผูปวย


ภายหลังการพักฟน หรือผูปวยที่เปนโรคเกี่ยวกับทางเดินอาหารอยางเฉียบพลัน เชน ทองรวง
ื้
ิ่
บิด เปนตน อาหารประเภทนี้จะเปนอาหารที่มีเนอนม มีรสออน ยอยงาย ไมมีกากแข็งหยาบ
ไมมันจัด เชน นม ครีม ไขทุกชนิดที่ไมใชวิธีทอด ปลานึ่งหรือยาง เนื้อบด ไกตมหรือตุน ซุปใส

แกงจืด ผักที่มีกากนอยและไมมีกลิ่นฉุนตมสุกบดละเอียด น้ําผลไมคั้น กลวยสุก เปนตน

6.3. อาหารเหลว เปนอาหารสําหรับผูปวยที่พักฟนหลังผาตัดและผูปวยที่เปนโรค

เกี่ยวกับกระเพาะอาหารและลําไส เปนอาหารที่ยอยงาย ไมมีกาก มี 2 ชนิด คือ

6.3.1. อาหารเหลวเชน นาชาใสมะนาวและน้ําตาล ซุปใสที่ไมมีไขมัน นาขาวใส
้ํ
้ํ

ั่

สารละลายน้ําตาลหรือกลูโคส เปนตน ซึ่งจะใหรับประทานทีละนอยทุก 1–2 ชวโมง เมื่อผูปวย
รับประทานไดมากขึ้นจึงคอยเพิ่มปริมาณ

6.3.2. อาหารเหลวขน เปนของเหลวหรือละลายเปนของเหลว เชน นาขาวขน ขาวบด
้ํ
หรือเปยก เครื่องดื่มผสมนม น้ําผลไม น้ําตมผัก ไอศกรีม ตับบดผสมซุป เปนตน

6.3.3. อาหารพิเศษเฉพาะโรค เปนอาหารที่จัดขึ้นตามคําสั่งแพทย สําหรับโรค


บางชนิดที่ตองระมัดระวังหรือควบคุมอาหารเปนพิเศษ เชน อาหารจํากัดโปรตีนสําหรับผูปวย
โรคตับบางอยางและโรคไตเรื้อรัง อาหารกากนอยสําหรับผูปวยอุจจาระรวงรุนแรง อาหารกาก
มากสําหรับผูที่ลําไสใหญไมทํางาน อาหารแคลอรีต่ําสําหรับผูปวยโรคเบาหวาน อาหารโปรตีน

สูงสําหรับผูปวยที่ขาดโปรตีนหรือหลังผาตัด อาหารจําพวกโซเดียมสําหรับผูปวยโรคหัวใจ

7. อาหารสําหรับผูที่ออกกําลังกาย คนที่ออกกําลังกายโดยปกติตองใชพลังงานจาก
รางกายมาก จึงตองการอาหารที่ใหพลังงานมากกวาปกติ ดังนน ผูที่ออกกําลังกายจึงควร
ั้
รับประทานอาหารใหเหมาะสม ดังนี้

7.1. อาหารกอนออกกําลังกาย กอนออกกําลังกายคนเราไมควรรับประทานอาหารเพราะจะทํา


ใหเกิดอาการจุก เสียด แนนและไมสามารถออกกําลังกายได กอนการออกกําลังกายควรให
อาหารยอยหมดไปกอน ดังนั้น อาหารมื้อหลักที่รับประทานควรรับประทานกอนการออกกําลัง

41

ั่
ั่
กาย 3 – 4 ชวโมง อาหารวางควรรับประทานกอนออกกําลังกาย 1 – 2 ชวโมง อาหาร
ที่รับประทานควรเปนอาหารที่มีไขมันต่ํา และมีโปรตีนไมมากนก มีคารโบไฮเดรตคอนขางสูง

นอกจากนั้น ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่ทําใหเกิดแกสในกระเพาะอาหาร เชน ของ

หมักดอง อาหารรสจัด เปนตน
7.2. อาหารระหวางการออกกําลังกาย ปกติในระหวางการออกกําลังกาย รางกายจะขับ

้ํ
เหงื่อเพื่อระบายความรอนและของเสียออกจากรางกาย ผูที่ออกกําลังกายควรดื่มนาหรือ
เครื่องดื่มที่มีเกลือแร เพื่อทดแทนน้ําและเกลือแรที่สูญเสียไปในระหวางออกกําลังกาย และไม

รับประทานอาหาร เพราะจะทําใหเกิดอาการจุดเสียด แนนและอาหารไมยอย ซึ่งเปนอุปสรรค

ในการออกกําลังกาย

7.3. อาหารหลังการออกกําลังกาย การออกกําลังกายจะทาใหคนเราสูญเสียพลังงาน

ไปตามระยะเวลาและวิธีการออกกําลังกาย หลังการออกกําลังกายจึงควรรับประทานอาหารที่

ใหพลังงานเพื่อชดเชยพลังงานที่สูญเสียไป การออกกําลังกายบางประเภทตองการสารอาหาร

เพื่อชดเชยพลังงานที่สูญเสียไปและสรางเสริมพลังงานที่จะใชในการออกกําลังกายในครั้งตอไป

ดวยจึงตองรับประทานอาหารที่มีสารอาหารเหมาะสมในปริมาณที่เพียงพอ

42

กิจกรรมทายบทที่ 3

กิจกรรมที่ 1 จงตอบคําถามตอไปนี้

1. ใหผูเรียนอธิบายสาเหตุ อาการ และการปองกันโรคที่เกิดจากการขาดสารอาหารมา 1 โรค
2. จงอธิบายหลักการจัดอาหารสําหรับผูสูงอายุ


3. จงอธิบายการเลือกซื้ออาหารสดมา 3 ชนด

กิจกรรมที่ 2 จงเลือกคําตอบที่ถูกตองที่สุด เพียงคําตอบเดียว

1. โรคเหน็บชาเกิดจากการขาดสารอาหารชนิดใด

ก. วิตามินเอ ค. วิตามินบี 2

ข. วิตามินบี 1 ง. วิตามินดีและแคลเซียม

2. นายแดงมีอาการออนเพลีย เหงือกบวมแดง มีเลือดออกตามไรฟน ปวดกลามเนื้อและ

ปวดในขอ เปนอาการของการขาดสารอาหารประเภทใด

ก. วิตามินซี ค. ธาตุเหล็ก

ข. วิตามินเอ ง. สารไอโอดีน


3. พิษของเชื้อโรคชนดใดที่ทําใหเกิดโรคตับอักเสบ
ก. แบคทีเรีย ค. ไวรัส

ข. เชื้อรา ง. ปรสิต

4. สารอะฟลาท็อกซิน (Alfatoxin) เปนสาเหตุที่ทําใหเกิดโรคใด

ก. วัณโรค ค. โรคมะเร็งปอด

ข. โรคมะเร็งตับ ง. ไขสันหลังอักเสบ

43

บทที่ 4


การเสริมสรางสขภาพ

สาระสําคัญ

มีความรูในเรื่องการวางแผนพัฒนาและเสริมสรางสุขภาพของตนเอง และครอบครัว

ตลอดจนรวมกิจกรรมเสริมสรางสุขภาพของชุมชนอยางสม่ําเสมอ และสามารถบอกถึงหลักการ

และรูปแบบของวิธีการออกกําลังกายของตนเอง ผูอื่น และชุมชนไดอยางถูกตองเหมาะสม

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง

1. ประเมินภาวะสุขภาพของตนเองและครอบครัวได 
2. วางแผนพัฒนาและเสริมสรางสุขภาพของตนเองและครอบครัวไดอยางเหมาะสม

3. มีสวนรวมในกิจกรรมสรางเสริมสุขภาพของชุมชน
4. บอกหลักการ รูปแบบ วิธีการของการออกกําลังกายเพี่อสุขภาพไดอยางถูกตอง

5. ระบุแนวทางการออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพที่เหมาะสมกับบุคคลและวัยตาง ๆ

ขอบขายเนื้อหา

เรื่องที่ 1 การรวมกลุมเพื่อเสริมสรางสุขภาพในชุมชน

เรื่องที่ 2 การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ