การทดลอง ดึงก้านกระบอก ฉีดยา

Gas

แกส๊ และสมบัตขิ องแก๊ส

โคมลอยได้อยา่ งไร เพราะเหตุใดโคมที่ลอยจงึ มีระดับความสูงไม่เทา่ กนั 2

จากภาพสารแตล่ ะสถานะมีการจัดเรยี งอนุภาค แรงยดึ เหนีย่ ว
และสมบัตอิ ื่นๆ ตา่ งกันอย่างไร

3

สมบัติทั่วไป
ของแกส๊

4

สมบัติทัว่ ไปของแกส๊

- มแี รงยืดเหนี่ยวระหวา่ งอนุภาคน้อยมาก
- อนุภาคอยู่หา่ งกนั และฟงุ้ กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ ดังนั้นปริมาตร

ของสารในสถานะแกส๊ จึงเท่ากับปริมาตรของภาชนะทีบ่ รรจุ
เมื่อเปรียบเทียบปรมิ าตรของสารทั้ง 3 สถานะที่มีจานวนโมลเทา่ กัน พบว่า

เมือ่ สารอย่ใู นสถานะแก๊สจะมีปรมิ าตรมากกวา่ เมื่ออยู่ในสถานะของเหลวหรือ
ของแข็ง ทาให้ความหนาแนน่ ของสารในสถานะแกส๊ มีคา่ นอ้ ยกว่า

นอกจากนี้ยังสามารถบีบอัดแก๊สใหม้ ีปรมิ าตรลดลงได้เนื่องจากมที ีว่ า่ ง
ระหวา่ งอนุภาค

5

แกส๊ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภท คือ
1. แกส๊ สมบูรณ์ (Ideal gas) หรอื แก๊สอุดมคติ หมายถงึ

แกส๊ ทีม่ ีสมบัติเปน็ ไปตามกฎตา่ งๆ ของแกส๊ ไมว่ า่ ทีภ่ าวะใดๆ ก็ตาม
2. แกส๊ จรงิ (real gas) หมายถึง แก๊สทีม่ ีอยู่ในธรรมชาติ

ทัว่ ๆ ไป ซ่ึงจะไม่เป็นไปตามกฎตา่ งๆ ของ แก๊ส โดยเฉพาะที่
ความดันสูงอุณหภมู ิต่า

6

ลูกโป่งพองไดอ้ ย่างไร

7

เมือ่ อนุภาคของแกส๊ เคลือ่ นที่ชนผนังภาชนะจะทาให้เกิด
แรงกระทาต่อพืน้ ผวิ ภายในของภาชนะที่บรรจุ ซ่งึ ผลรวมของ
แรงทั้งหมดที่อนุภาคแกส๊ กระทาต่อพ้นื ที่เรียกวา่ ความดัน
(Presssure) และหน่วยของความดัน
ในระบบ SI คือ ปาสคัล (pascal ; Pa)

หน่วยความดันของแกส๊ โดยทั่วไป คือ
บรรยากาศ (atmosphere ; atm)

8

ความดัน

แรงทกี่ ระทาตอ่ หนว่ ยพนื้ ที่ ที่ตัง้ ฉากกับแรงนนั้ แทนดว้ ยสัญลักษณ์ P

หน่วยที่ใชว้ ัดความดนั ของแกส๊

1 บรรยากาศ (atm) = 76 เซนตเิ มตรปรอท (cmHg)
= 760 มิลลเิ มตรปรอท (mmHg)
= 760 ทอร์ (torr)
= 1.013 x 105 ปาสคาล (Pa)
= 14.696 ปอนดต์ อ่ ตารางนวิ้ (Psi)
= 101.325 นิวตันตอ่ ตารางเมตร (N/m2)
= 1.01325 บาร์ (bar)

9

เครื่องมอื วัดความดันของแกส๊

1 บารอมเิ ตอร์ (Barometer) ความดนั ของปรอท สุญญากาศ
760 mm
• ประกอบดว้ ยหลอดแกว้ ยาว 80-100 เซนตเิ มตร เท่ากบั ความดนั อากาศ
ปรอท
ปลายข้างหน่งึ ปดิ สนทิ ภายในบรรจปุ รอทไว้เตม็ ความดนั บรรยากาศ
10
• เมือ่ คว่าหลอดแกว้ ลงในภาชนะทมี่ ปี รอทบรรจอุ ยู่

ความสงู ของปรอทในหลอดแกว้ จะลดลง

• เมือ่ ความสงู ของปรอททอี่ ยใู่ นหลอดแกว้ คงที่

ความสงู ของปรอททเี่ หลอื ในหลอดแกว้ จะมีคา่

เทา่ กบั ความดนั บรรยากาศ

• ความดนั บรรยากาศทรี่ ะดบั นา้ ทะเลมคี า่ เทา่ กบั

760 มลิ ลิเมตรปรอท

2 แมนอมเิ ตอร์ (Manometer)

• เปน็ หลอดแกว้ รูปตวั U ภายในบรรจปุ รอท ปลายดา้ นหนงึ่ ตอ่ กบั กระเปาะ

ทีม่ แี กส๊ ทตี่ อ้ งการวดั ความดนั ปลายอกี ดา้ นอาจเปดิ หรอื ปดิ กไ็ ด้

แมนอมิเตอรป์ ลายปดิ ถา้ ทีบ่ รรจมุ คี า่ นอ้ ย แมนอมิเตอรป์ ลายเปดิ Pgas = Patm

(Pgas) = (∆h) กวา่ ปรอทในหลอด
ความดนั ของแกส๊ = ความสงู ของปรอท
รูปตัว U ทางด้านทตี่ ดิ ปลายที่ ถา้ ที่บรรจมุ คี า่
สุญญากาศ
เปดิ จะตา่ กวา่ อกี ดา้ น มากกวา่ ปรอทใน
หลอดรปู ตวั U ทางด้านทตี่ ิด

ปลายที่เปดิ จะสงู กวา่ อกี ดา้ น

แก๊ส แกส๊ Pgas = Patm − ∆h แก๊ส

= ∆ = − ∆ = + ∆

Pgas = Patm + ∆h

11

ความสัมพันธข์ องปริมาตร ความดัน และอุณหภูมิของแก๊ส

ปริมาตร ความดัน อุณหภมู ิ

ปริมาตรของภาชนะ แรงทกี่ ระทาตอ่ หนว่ ยพนื้ ที่ มาตราส่วนทใี่ ชบ้ อกระดบั
ทีบ่ รรจแุ กส๊ นนั้ ทีต่ ั้งฉากกบั แรงนนั้
แทนดว้ ยสัญลกั ษณ์ P ความรอ้ น-เยน็ ของสาร
แทนดว้ ยสัญลกั ษณ์ V
หนว่ ยทใี่ ชว้ ดั ความดนั ของแกส๊ แทนดว้ ยสัญลกั ษณ์ T
หน่วยของปรมิ าตรทนี่ ยิ มใช้
1 atm = 76 cmHg หน่วยของอณุ หภมู ทิ นี่ ิยมใช้
ลูกบาศกเ์ ดซเิ มตร (dm3) = 760 mmHg
ลติ ร (L) = 760 ทอร์ torr เคลวิน (K)
ลูกบาศกเ์ ซนติเมตร (cm3) = 1.013 x 105 Pa
= 14.696 Psi องศาเซลเซยี ส (C)
1 L = 1 dm3 = 1,000 cm3 = 101.325 N/m2
= 1.01325 bar องศาฟาเรนไฮต์ (F)

องศาโรเมอร์ (R)

C = K-273 = F-32 = R
55 9 4 12

7.1 ความสัมพันธ์ระหว่างปรมิ าตร ความดัน
อุณหภูมิ และจานวนโมลของแกส๊
7.1.1 ความสัมพันธ์ระหว่างปรมิ าตร
และความดันของแก๊ส

13

ความสัมพันธ์ระหว่างปรมิ าตรและความดันของแกส๊
เปน็ อย่างไร

และถ้าตอ้ งการศึกษาความสัมพันธ์นีจ้ ะทาไดอ้ ย่างไร

14

กจิ กรรม 7.1 การทดลองศกึ ษาความสัมพันธ์
ระหวา่ งความดันและปริมาตรของอากาศ

1. ปัญหา :
ความดันและปรมิ าตรของอากาศมีความสัมพันธก์ ันอย่างไร

2. จุดประสงคก์ ารทดลอง :
ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ งความดันและ

ปรมิ าตรของอากาศ

15

3. สมมุตฐิ าน :

ถ้าปรมิ าตรของอากาศมีผลต่อความดันของอากาศ ดังนั้นเมื่อ
เปลี่ยนแปลงปรมิ าตรของอากาศจะทาใหค้ วามดันของอากาศเปลีย่ นแปลงดว้ ย

4. ตัวแปรทีใ่ ชใ้ นการทดลอง :

- ตัวแปรตน้ คือ ความดันของแก๊ส

- ตัวแปรตาม คือ ปรมิ าตรของแกส๊

- ตัวแปรควบคุม คือ อุณหภูมแิ ละจานวนโมลของแกส๊

16

5. วธิ ีการทดลอง :

17

6. ผลการทดลอง :

การทดลองที่ การทดลอง ผลการเปลีย่ นแปลง

1 กดก้านกระบอกฉดี ยาจนมี ก้านกระบอกฉีดยาเลือ่ นกลับ
ปรมิ าตร 5.0 mL แลว้ ปล่อยมือ ออกมาจนมีปริมาตรเทา่ กับ

ปรมิ าตรเริ่มต้น

2 ดึงก้านกระบอกฉดี ยาจนมี กา้ นกระบอกฉีดยาเล่อื นกลับ
ปริมาตร 20.0 mL แล้วปลอ่ ย เข้าไปจนมีปรมิ าตรเท่ากับ

มือ ปรมิ าตรเรม่ิ ตน้

18

7. ตอบคาถามทา้ ยการทดลอง

1. อณุ หภูมิและจานวนโมลของอากาศภายในกระบอกฉดี ยา ก่อนและหลัง
การทดลองมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อยา่ งไร
(อณุ หภูมแิ ละมจี านวนโมลของอากาศในกระบอกฉดี ยาคงที่)

2. ความดันของอากาศในกระบอกฉีดยาเมอื่ เริ่มทาการทดลองมคี ่าเท่ากับ
ความดันบรรยากาศภายนอกหรือไม่
(เมื่อเรม่ิ ตน้ ความดันของอากาศปริมาตร 10.0 mL ในกระบอกฉีดยามีค่า
เท่ากับความดันบรรยากาศภายนอก)

19

7. ตอบคาถามท้ายการทดลอง

3. เมื่อกดกา้ นกระบอกฉีดยาจนปรมิ าตรของอากาศเปน็ 5.0 mL ความดัน
ของอากาศภายในกระบอกฉีดยามากกวา่ หรือนอ้ ยกวา่ ความดันบรรยากาศ
ทราบได้อยา่ งไร
(เมือ่ กดก้านกระบอกฉดี ยาจนทาให้ปริมาตรของอากาศในกระบอกฉีดยา
ลดลงเป็น 5.0 mL แลว้ ปลอ่ ยมือ กา้ นกระบอกฉีดยาเลอ่ื นกลับออกมาจนมี
ปริมาตรเทา่ กับปริมาตรเร่ิมตน้ แสดงว่า อากาศในกระบอกฉีดยาทป่ี รมิ าตร
5.0 mL มีความดันมากกวา่ ความดันบรรยากาศ)

20

7. ตอบคาถามท้ายการทดลอง

4. เมือ่ ดงึ กา้ นกระบอกฉีดยาจนปริมาตรของอากาศเป็น 20.0 mL ความดัน
ของอากาศภายในกระบอกฉีดยามากกวา่ หรือนอ้ ยกวา่ ความดันบรรยากาศ
ทราบไดอ้ ยา่ งไร
(เมื่อดงึ ก้านกระบอกฉดี ยาจนทาใหป้ ริมาตรของอากาศในกระบอกฉีดยา
เพ่มิ ขึน้ เปน็ 20.0 mL แลว้ ปลอ่ ยมือ กา้ นกระบอกฉีดยาเลือ่ นกลับเขา้ ไปจนมี
ปริมาตรเทา่ กับปริมาตรเร่ิมต้น แสดงว่า อากาศในกระบอกฉีดยาท่ปี รมิ าตร
20.0 mL มีความดันนอ้ ยกวา่ ความดันบรรยากาศ)

21

8. วิเคราะห์ผลการทดลอง :

การทดลองนี้ทาทีอ่ ุณหภูมคิ งที่ และมีจานวนโมลของอากาศในกระบอกฉดี ยาคงที่
เมื่อเริ่มตน้ ความดันของอากาศปริมาตร 10.0 mL ในกระบอกฉดี ยามีค่าเท่ากับความดัน
บรรยากาศภายนอก

เมือ่ กดก้านกระบอกฉีดยาจนทาใหป้ รมิ าตรของอากาศในกระบอกฉีดยาลดลงเป็น
5.0 mL แลว้ ปล่อยมือ กา้ นกระบอกฉีดยาเลือ่ นกลับออกมาจนมีปรมิ าตรเทา่ กบั ปริมาตรเรมิ่ ตน้
แสดงวา่ อากาศในกระบอกฉดี ยาทีป่ ริมาตร 5.0 mL มีความดันมากกว่าความดันบรรยากาศ

เมื่อดึงก้านกระบอกฉีดยาจนทาใหป้ รมิ าตรของอากาศในกระบอกฉีดยาเพมิ่ ขึ้นเปน็
20.0 mL แล้วปล่อยมือ ก้านกระบอกฉีดยาเลื่อนกลับเข้าไปจนมีปรมิ าตรเทา่ กบั ปรมิ าตรเรม่ิ ต้น
แสดงวา่ อากาศในกระบอกฉีดยาท่ปี รมิ าตร 20.0 mL มีความดันนอ้ ยกว่าความดันบรรยากาศ

22

9. สรุปผลการทดลอง
ที่อุณหภูมิและจานวนโมลของอากาศคงที่ เมือ่ ปรมิ าตรของ

อากาศลดลง ความดันของอากาศจะเพิ่มขึน้ และเมื่อปรมิ าตรของ
อากาศเพมิ่ ขน้ึ ความดันของอากาศจะลดลง

23

กฎของบอยล์ (Boyle’s Law)

นักวทิ ยาศาสตรช์ าวองั กฤษ

24

รอเบิรต์ บอยล์ (Robert Boyle)
ได้ทำกำรทดลองเพอ่ื ศึกษำควำมสัมพันธ์ระหว่ำง
ปรมิ ำตรและควำมดันของแกส๊ ที่อณุ หภมู แิ ละจำนวนโมล
คงที่ โดยใช้หลอดแก้วรปู ตัวเจ (J) ท่มี ปี ลำยเปดิ อยู่ดำ้ นบน
โดยเม่อื เริ่มกำรทดลอง ไดเ้ ติมปรอทลงไป จนระดับของปรอท
ในหลอดแก้วทง้ั สองด้ำนเทำ่ กนั ดงั รปู 7.3 (ก)

25

แสดงว่ำ แก๊สทีอ่ ย่ใู นหลอดแกว้ ดำ้ นปลำยปดิ ในตอนเรม่ิ ตน้ นี้ 26
มีควำมดัน 760 มลิ ลเิ มตรปรอท หรอื 1 บรรยำกำศ

จำกนั้นไดเ้ ตมิ ปรอทลงในหลอดแก้วเพิ่มอกี จนระดบั ปรอทในหลอดแกว้ ด้ำน 27
ปลำยเปดิ สงู กว่ำด้ำนปลำยปดิ 760 มลิ ลิเมตร ซง่ึ ทำใหแ้ ก๊สที่อยู่ในหลอดแกว้ ดำ้ นปลำย
ปดิ มีควำมดนั เพิ่มขน้ึ เป็น 2 บรรยำกำศ หรอื 1520 มลิ ลเิ มตรปรอท และพบว่ำปริมำตร
ของแก๊สจะลดลงจำกเดมิ คร่งึ หน่งึ ดงั รูป 7.3 (ข)

รอเบริ ต์ บอยลไ์ ดท้ าการทดลองอีกหลายครั้งทีร่ ะดับความสูง
ของปรอทตา่ ง ๆ กันและไดต้ ัวอยา่ งผลการทดลองดังตาราง 7.1
ซง่ึ พบว่า ผลคณู ระหวา่ งความดันกับปริมาตรของแต่ละการทดลอง
มีคา่ เกือบคงท่ี และเมือ่ นาข้อมลู ในตาราง 7.1 มาเขียนกราฟ
ความสัมพันธร์ ะหว่างปรมิ าตรกับความดัน และปริมาตรกับส่วนกลับ
ของความดัน ได้กราฟดังรูป 7.4

28

Q. บอยลห์ าความดนั ของแก๊สทีอ่ ยูใ่ นหลอดแกว้ ด้านปลาย
ปิดไดอ้ ย่างไร
(บอยล์หาความดนั ของแกส๊ ทอ่ี ยู่ในหลอดแกว้ ด้านปลายปิด
จากผลต่างของความสูงของระดับปรอทในหลอดแก้วด้าน
ปลายปดิ และเปดิ บวกกับความดนั บรรยากาศ
(Pgas = Patm + ผลต่างความสูงของปรอท))

29

ตาราง7.1 ข้อมูลความดัน ปรมิ าตร และการคานวณจากการทดลอง
ของรอเบิร์ต บอยล์

30

เมื่ออุณหภูมแิ ละจานวนโมลของแกส๊ คงที่ ปรมิ าตรจะแปรผกผันกับความดัน

31

32

กฎของบอยล์ (Boyle’s Law)

“เมือ่ อณุ หภมู แิ ละมวลของแกส๊ คงที่ ปริมาตรของแกส๊ ใดๆ
จะแปรผกผันกับความดันของแกส๊ นัน้ ๆ”

P = 1.0 atm P = 2.0 atm V  1/P
PV = k

V = 1.0 L V = 0.5 L P1V1 = P2V2 = PnVn=k

33

Ex.1 แกส๊ ชนิดหนงึ่ บรรจุอยู่ในภาชนะขนาด 100.0 ลูกบาศก์เชนตเิ มตร ทีค่ วามดนั 1.0
บรรยากาศ ณ อณุ หภูมิ25 องศาเซลเซียส ถา้ แกส๊ นี้บรรจุในภาชนะขนาด 200.0
ลูกบาศกเ์ ชนติเมตร ณ อณุ หภูมเิ ดมิ แกส๊ นี้จะมีความดันเทา่ ใด

34

Ex.2 แกส๊ ชนิดหนงึ่ บรรจอุ ย่ใู นกระบอกสูบขนาด 2.0 ลิตร ที่ความดนั 1.5 บรรยากาศ
เมือ่ อดั กระบอกสูบใหม้ ีความดันเพม่ิ ขึ้นเปน็ 1520 มลิ ลิเมตรปรอท ที่อุณหภูมิคงท่ี
ปริมาตรของแก๊สจะเปน็ เทา่ ใด

35

T.1 แก๊สA มีปรมิ าตร 112 dm3 เมื่อมีความดัน 740 mmHg ถ้าเปลี่ยน
ความดันเป็น 760 mmHg จะมีปรมิ าตรเท่าใดเมือ่ อุณหภูมิคงที่

36

T.2 แกส๊ ชนิดหน่งึ มีปรมิ าตร 400 cm3 ภายใต้ความดัน 0.8 atm ทีอ่ ุณหภูมิ
คงที่ ถ้าความดันเพิ่มข้ึนเปน็ 760 mmHg แก๊สจะมีปรมิ าตรกี่ dm3

37

ตรวจสอบความเขา้ ใจ

ในการทดลองวดั ปรมิ าตรของอากาศในหลอดรูปตัวเจ (J) เมือ่ เร่มิ ต้นอากาศในหลอดรูป
ตัวเจด้านปลายปดิ มีปริมาตร 30 มล. และมีความดัน 1.0 บรรยากาศ เมือ่ เตมิ ปรอทลงใน
หลอดเพิ่มเติม พบวา่ ความดันภายในหลอดเพ่ิมเปน็ 1.5 บรรยากาศ จงคานวณปรมิ าตรของ
อากาศในหลอดรูปตัวเจหลังเตมิ ปรอท ถ้ากาหนดใหอ้ ณุ หภูมทิ ที่ าการทดลองคงที่

38

หากอุณหภูมขิ องแก๊สเปลีย่ นแปลง ปริมาตรของ
แกส๊ จะเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อยา่ งไร

39

7.1.2 ความสัมพันธร์ ะหว่างปรมิ าตร
และอุณหภูมิของแก๊ส

40

กิจกรรม 7.2 การทดลองศกึ ษาความสัมพันธ์
ระหวา่ งปริมาตรและอุณหภมู ขิ องอากาศ

1. ปัญหา :
ปรมิ าตรและอุณหภูมขิ องอากาศมีความสัมพันธ์กันอยา่ งไร

2. จุดประสงคก์ ารทดลอง :
ทดลองและอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหว่างปริมาตรและอุณหภูมิ

ของอากาศ

41

3. สมมุตฐิ าน :

ถ้าอุณหภูมิของอากาศมผี ลต่อปริมาตรของอากาศ ดังนั้นเมือ่ เพิ่ม
อุณหภูมิของอากาศจะทาใหป้ รมิ าตรของอากาศเพิม่ ขนึ้ ด้วย

4. ตัวแปรที่ใชใ้ นการทดลอง :

- ตัวแปรตน้ คือ อุณหภมู ิของอากาศ
- ตัวแปรตาม คือ ปรมิ าตรของอากาศ
- ตัวแปรควบคุม คือ ความดันและจานวนโมลของอากาศ

42

5. วธิ ีการทดลอง :

43

6. ผลการทดลอง :

การทดลองที่ ผลการทดลอง รูปประกอบ

น้าร้อน เมือ่ วางขวดพลาสติกในบีกเกอรท์ ี่ 44
บรรจุน้ารอ้ น แผ่นฟลิ ม์ ของน้ายา
ลา้ งจานที่ปากขวด จะพองขน้ึ มา

เมื่อวางขวดพลาสติกในบีกเกอรท์ ี่

นา้ ผสมนา้ แข็ง บรรจุนา้ ผสมนา้ แขง็ แผน่ ฟิลม์ ของ
นา้ ยาลา้ งจาน ที่ปากขวดจะยุบลงไป

7. ตอบคาถามทา้ ยการทดลอง
1. จานวนโมลและความดันของอากาศในขวดพลาสตกิ ก่อนทาการทดลอง
และหลังการทดลองเสร็จส้นิ มีการเปลี่ยนแปลงหรอื ไม่ อย่างไร

(มีจานวนโมลของอากาศในขวดพลาสติกคงที่ และความดันของ
อากาศกอ่ นและหลังการทดลองคงที)่

45

7. ตอบคาถามท้ายการทดลอง

2. เมื่อวางขวดพลาสตกิ ลงในบีกเกอรท์ ี่มีนา้ รอ้ นและนา้ ผสมนา้ แขง็ ปรมิ าตร
และอุณหภูมิของอากาศในขวดพลาสตกิ เปลีย่ นแปลงหรือไม่ อยา่ งไร

(เมื่อวางขวดพลาสตกิ ในบีกเกอร์ทีบ่ รรจุน้าร้อน แผ่นฟลิ ์มของน้ายา
ลา้ งจานทีป่ ากขวดจะพองข้นึ มา แสดงวา่ เมือ่ อุณหภูมิเพม่ิ ขึน้ ปริมาตรของ
อากาศภายในขวดเพิม่ ขนึ้

เมื่อวางขวดพลาสติกในบีกเกอร์ทีบ่ รรจนุ า้ ผสมนา้ แข็ง แผ่นฟิลม์
ของน้ายาลา้ งจานที่ปากขวดยุบลงไป แสดงวา่ เมื่ออุณหภูมลิ ดลง ปรมิ าตรของ
อากาศลดลง)

46

8. วิเคราะหผ์ ลการทดลอง :

การทดลองนี้มีจานวนโมลของอากาศในขวดพลาสติกคงที่ และ
ความดันของอากาศก่อน และหลังการทดลองคงที่

เมื่อวางขวดพลาสติกในบีกเกอร์ทีบ่ รรจุน้ารอ้ น แผ่นฟิลม์ ของนา้ ยา
ลา้ งจานทีป่ ากขวด จะพองขึน้ มา แสดงวา่ เมื่ออุณหภูมิเพ่มิ ข้ึน ปรมิ าตรของ
อากาศภายในขวดเพมิ่ ขนึ้

เมื่อวางขวดพลาสติกในบีกเกอร์ทบี่ รรจุน้าผสมน้าแข็ง แผน่ ฟิล์ม
ของน้ายาล้างจาน ที่ปากขวดยุบลงไป แสดงวา่ เมือ่ อุณหภูมิลดลง ปรมิ าตร
ของอากาศลดลง

47

9. สรุปผลการทดลอง
ทีค่ วามดันและจานวนโมลของอากาศคงที่ ปรมิ าตรของ

อากาศเพิม่ ขึ้นเมื่ออุณหภมู ิของอากาศเพิม่ ขึน้ และปรมิ าตรของ
อากาศลดลงเมือ่ อุณหภูมขิ องอากาศลดลง

48

กิจกรรม 7.3 กราฟความสัมพันธร์ ะหวา่ ง
ปรมิ าตรและอณุ หภมู ขิ องแก๊ส

1. ปัญหา :
ความสัมพันธร์ ะหว่างปรมิ าตรและอุณหภูมิของแก๊สสามารถ

เขยี นในรูปของสมการและกราฟได้อยา่ งไร

2. จุดประสงค์ของกิจกรรม :
เขยี นกราฟและสมการแสดงความสัมพันธ์ระหวา่ ง

ปริมาตรและอุณหภูมิของแกส๊

49

3. สมมุตฐิ าน :

ถา้ ปริมาตรของอากาศแปรผันตรงกับอุณหภมู ิของอากาศ ดังนัน้
เมือ่ นาขอ้ มูลมาเขียนกราฟน่าจะไดเ้ ปน็ เสน้ ตรง

4. ตัวแปรทีใ่ ชใ้ นการทดลอง :

- ตัวแปรตน้ คือ -
- ตัวแปรตาม คือ -
- ตัวแปรควบคุม คือ -

50