ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ภาษาไทย

หลายท่านอาจจะกำลังตามหา แผนการสอนวิชาภาษาไทย แผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย ป.1-ป.6 กันอยู่ใช่ไหมครับ สำหรับคุณครูหลายๆท่านที่กำลังตามหาแผนการสอน วันนี้ครูอัพเดตดอทคอมมีมาให้ดาวน์โหลดแล้ว

ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ภาษาไทย
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ภาษาไทย
แผนการสอนวิชาภาษาไทย-แผนการจัดการเรียนรู้

ซึ่งแผนการสอนนี้ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ ตามหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ซึ่งเป็นหนังเรียนภาษาไทยใบโบกใบบัว ที่เรารู้จักกัน คุณครูสามารถนำไฟล์ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกิจกรรมการเรียนรู้ได้เลยครับ แต่ก่อนอื่นเรามาทำความเข้าใจเกี่ยวกับแผนการสอนกันก่อนครับ

แผนการสอนหรือแผนจัดการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือสำคัญอย่างหนึ่งสำหรับการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนในทุกระดับชั้น เปรียบเสมือนแผนที่นำทางที่ช่วยให้ครูสามารถดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนได้เหมาะสม ตรงตามเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ

การจัดทำแผนการสอนนั้น ครูผู้สอน จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรสถานศึกษาอย่างถ่องแท้ เพื่อให้สามารถออกแบบแผนการสอนได้อย่างเหมาะสมและถูกต้องครบถ้วน ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างมากต่อการจัดการศึกษาทั้งกับตัวผู้เรียนและตัวครูผู้สอนเอง โดยอาศัย โดยองค์ประกอบที่สำคัญของการออกแบบแผนการสอนนั้น จะต้องประกอบด้วยส่วนสำคัญดังนี้

              1. หัวเรื่อง คือ ส่วนที่ต้องกำหนด ชื่อของเรื่องหรือหน่วยการเรียนรู้  ขั้นที่สอนและเวลาที่ใช้สอน

              2. สาระสำคัญ คือ มโนทัศน์หลักหรือความคิดรวบยอดของการจัดการเรียนรู้ในเรื่องนั้น ๆ ซึ่งกำหนดเป็นภาพกว้างให้เห็นการเชื่อมโยงข้อมูลของสิ่งที่กำลังจะสอน

              3. มาตรฐานและตัวชี้วัด คือ คุณลักษณะสำคัญของผู้เรียนที่กำหนดไว้ในหลักสูตร โดยในแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ จะหยิบยกมาเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาและคาดว่าจะเกิดกับผู้เรียน ซึ่งการที่ลักษณะของผู้เรียนเป็นไปตามมาตรฐานและตัวชี้วัดนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางและส่วนที่เพิ่มเติมให้หลักสูตรสถานศึกษา

              4. จุดประสงค์การเรียนรู้ คือ เป้าหมายที่ต้องการให้เกิดกับตัวผู้เรียนหลังจากที่เราได้ดำเนินการจัดการเรียนรู้ตามแผนที่ได้วางไว้แล้ว โดยในการกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้นั้นจะต้องเกิดจากการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดตามตารางวิเคราะห์หลักสูตร

              5. สาระการเรียนรู้ คือเนื้อเรื่อง หรือองค์ความรู้ ทักษะ กระบวนการของผู้เรียนที่จะต้องเรียนรู้ในรายวิชานั้น ๆ

              6. การบวนการการเรียนรู้ คือ การระบุกิจกรรมการเรียนรู้ที่จัดขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยแบ่งเป็น ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน ขั้นสอน และขั้นสรุป

              7. สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งการเรียนรู้ คือ เครื่องมือในการส่งเสริมการเรียนรู้ที่ใช้ตามที่กำหนดในกิจกรรมการเรียนรู้

              8. การวัดและประเมินผล คือ การประเมินผลผู้เรียนตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งควรระบุเครื่องมือวัดและเกณฑ์การให้คะแนน ซึ่งสามารถศึกษาได้จากคู่มือหลักสูตร

              9. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ คือการบันทึกของครูผู้สอนจากสิ่งที่พบในการนำแผนจัดการเรียนรู้มาใช้ โดยแบ่งเป็น ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ปัญหาและอุปสรรค์ และ ข้อเสนอแนะ

อย่างไรก็ตามคุณครูสามารถดาวน์โหลดตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้หรือแผนการสอนวิชาภาษาไทยได้จากลิงก์ด้านล่างครับ

Krutortao ครูตอเต่า เป็นเว็บไซต์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อเผยแพร่ และแบ่งปัน ผลงานนครู สื่อการสอน หลักสูตรการอบรมออนไลน์ รับเกียรติบัตร แบ่งปันความรู้ เพื่อนำไปพัฒนาตนเอง และพัฒนาวิชาชีพครู โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย และไม่มีการเรียกเก็บเงินใดๆ 

เอกสารประกอบการสมั มนาครูภาษาไทย

ในหวั ข้อ Up Skills ครูภาษาไทย
สู่การจดั การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 : ก้าวไปโดยไมม่ ีอะไรกน้ั

รวบรวมและเรียบเรียงโดย นกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑิต
สาขา ภาษาไทย มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า

สารบญั

หนา้
จรงิ หรอื ไม่? กบั การจัดการเรยี นการสอนภาษาไทยในปัจจุบนั ........................................................................1

บทบาทของครู ...................................................................................................................................................1
เรยี นรู้อะไรในภาษาไทย.....................................................................................................................................3
สภาพปญั หาดา้ นการเรียนการสอนภาษาไทยในปัจจุบัน ....................................................................................4
สภาพปญั หาความเหลื่อมลา้ ของการศึกษาไทย ..................................................................................................4
ผลลัพธ์ท้าทาย ปลายทางเป้าหมายระดับชาติ....................................................................................................6
ทกั ษะศตวรรษที่ 21 .....................................................................................................................................12
ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21..................................................................................................................................12
เหตุใดจึงต้องหาโมเดลใหม่ด้านการศกึ ษา ....................................................Error! Bookmark not defined.
การศกึ ษาในศตวรรษที่ 21 ควรมลี กั ษณะอยา่ งไร ........................................................................................... 16
การจัดการเรยี นการสอนในศตวรรษที่ 21....................................................................................................... 22
ความสาคญั ของครแู ห่งศตวรรษท่2ี 1............................................................................................................... 23
บทบาทของครไู ทยในศตวรรษท่ี 21................................................................................................................ 23
ตัวอยา่ งงานวจิ ยั การจัดการเรยี นรภู้ าษาไทยในศตวรรษท่ี 21 ........................................................................ 25
กลยทุ ธ์การสอนภาษาไทยในศตวรรษที่ 21 เพอื่ พฒั นาทักษะการคดิ ขน้ั สูง ..................................................... 27
เป้าหมายปลายทางทีช่ ัดเจนเสริมสร้างแรงบนั ดาลใจ ...................................................................................33
โครงการถอดบทเรียน โรงเรยี นต้นแบบสาหรบั โรงเรยี นมหาชน กรณศี ึกษา โรงเรยี นมชี ยั พฒั นา................... 33
การจัดการเรยี นรู้บูรณาการทักษะชีวติ : SANGWA Model ........................................................................... 40
บรรณานุกรม................................................................................................................................................42

1

จรงิ หรอื ไม่? กับการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยในปัจจุบนั

บทบาทของครู

“ครู” ถือเป็นอาชีพที่มคี วามสาคญั ต่อการพัฒนาระบบการศึกษาและคุณภาพของทรัพยากรมนุษย์
ตลอดจนการพัฒนาประเทศให้เจรญิ กา้ วหนา้ ตอ่ ไปในอนาคต หากประเทศใดท่ีมี “คร”ู ที่มีคณุ ภาพ ย่อมเป็น
เครือ่ งการันตีได้ถงึ แนวโน้มในการมีทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ…

ครู มีหน้าที่สาคัญ 2 ประการ คือ สอนความรู้ในทางวิชาการเพื่อเป็นพื้นฐานให้ศิษย์ได้ก้าวต่อไป
ในชั้นสูง กับสอนแนวทางการดารงตนให้เป็นคนดีของสังคม ความรู้ทางวิชาการขั้นต้นที่สาคัญ คือ ความรู้วิชา
ภาษาไทย ซ้ึงรวมท้ังการเรียนอ่าน เขียน ความเข้าใจภาษาการรู้จักใช้ภาษาที่ถูกทั้งในด้านเน้ือความและบริบท
ของการใช้ภาษา เน่ืองด้วยภาษาไทยเปน็ ท้ังความรู้ในการสร้างตนเป็นคนไทยท่สี มบูรณ์และเป็นเครื่องมือสาคัญใน
การส่อื สาร ทกั ษะการฟงั พดู อา่ น และเขียนเป็นพ้ืนฐานสาคัญในการเรยี นร้วู ชิ าอ่ืน ๆ ด้วย

ภาษาไทย เป็นภาษาท่ีแสดงถึงความเป็นตัวตนของเรา แสดงความเป็นชาติของเรา และแสดงความเป็น
สมาชิกของสังคมโลก การใช้ภาษาไทยจึงมิใช่เพียงเครื่องมือสื่อสารเท่าน้ัน หากเป็นภาพลักษณ์ของบุคคล
ผู้เป็นเจ้าของภาษาไทยนั้นด้วย อีกทั้งการเรียนรู้ภาษาไทย จะทาให้เกิดการรัก หวงแหน และรักษาสมบัติมรดก
ทางวัฒนธรรมทุกประเภทของชาติ การจดั การเรียนรูส้ าระการเรียนรู้ภาษาไทยจึงมคี วามสาคัญ และจาเป็นสาหรับ
ผู้เรยี นตงั้ แตร่ ะดบั ปฐมวยั จนกระทงั่ อุดมศกึ ษา

การจัดกระบวนการเรียนรู้สาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีความสาคัญต่อระบบการส่ือสารหรือ
สื่อความหมายในชีวิตจริง เริ่มด้วยการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ถึงทักษะความจาเป็นของธรรมชาติสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย คือ ทักษะการฟัง ทักษะการดู ทักษะการอ่าน ทักษะการเขียน ทักษะการพูด การจัดกระบวนการ
เรียนรู้จึงมีความจาเป็นมากท่ีจะให้ผู้เรียนมีทักษะต่าง ๆ ดังที่กล่าวมา การจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยนั้น
ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือนาไปใช้ในการตัดสินใจ แก้ปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์
ในการดาเนินชีวิต ใช้กระบวนการเขียนในการส่ือความหมาย มีการฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ ศักยภาพในการ
ใช้ภาษาและหลักภาษาไทย มีภูมิปัญญาทางการใช้ภาษาในการแสวงหาความรู้ มีความเข้าใจและเห็นคุณค่า
พรอ้ มกบั อนุรักษ์วรรณคดี วรรณกรรมไทยและนามาประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินชวี ติ

2

ครูภาษาไทยจึงเป็นเฟืองชิ้นสาคัญในการขับเคล่ือนกระบวนการจัดการเรียนรภู้ าษาไทยให้มปี ระสิทธภิ าพ
และเกิดประสิทธิผลต่อผู้เรียน ซึ่งในปัจจุบันรูปแบบและวิธีการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยน้ันมีหลายเทคนิค
วิธีการ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้เรียนภาษาไทยได้บรรลุวัตถุประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
หากแต่การจัดกระบวนการเรียนรู้น้ันยังเกิดปัญหาต่าง ๆ จากหลายปัจจัย ท้ังด้านความรู้ทางวิชาการ
ทักษะกระบวนการจัดการเรียนรู้ รวมถึงทัศนคติและบทบาทของครูผู้สอนภาษาไทยที่แตกต่างกัน อาทิ ปัญหา
ในการจัดกระบวนการเรียนรู้วรรณคดีและวรรณกรรม พรรณรอง รัตนไชย (2555 , น. 178) ได้ศึกษาตามสภาพ
จริงจากครูโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 16 และพบว่า ครูส่วนใหญ่ใช้แผนการ
จัดการเรียนรู้สาเร็จรูป แบบแผนรายหน่วย โดยไม่ได้ใช้มาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ. 2551 ในการออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ โดยส่วนใหญ่สอนแบบบรรยาย และใชห้ นังสือเรียน
เป็นหลัก โดยให้ความสาคัญกับการใช้ส่ือท่ีสนับสนุนให้นักเรียนเข้าใจบทเรียนน้อยมาก ปัญหาด้านการวัด
ประเมินผลน้ัน ส่วนใหญ่นาผลการประเมินมาใช้วิเคราะห์พัฒนาการของนักเรียน แต่ไม่ได้แจ้งเกณฑ์การวัดและ
ประเมินให้นักเรียนทราบ และไม่มีผลสะท้อนกลับไปยังผู้เรียน อีกท้ัง พรหมธิดา พงศ์พรหม (2554, น. 203)
ได้ศกึ ษาด้านประเมินการเรียนรตู้ ามสภาพจรงิ ของครูภาษาไทยระดับมัธยมศึกษาตอนต้น พบว่า ครูภาษาไทยส่วน
ใหญ่ใช้วิธีการสังเกตและสัมภาษณ์ ในช่วงเวลาก่อนและระหว่างเรียนมากที่สุด ส่วนในช่วงเวลาหลังเรียนครูใช้
แบบทดสอบในประเมินการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นหลัก และนาผลการประเมิน การเรียนรู้ตามสภาพจริงไปใช้ปรับปรุง
หรือพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนของตนเองเกอื บทุกคร้ัง แตย่ งั ไมม่ เี กณฑป์ ระเมนิ ท่ีแน่นอนและเปน็ แบบแผน

การจัดกระบวนการเรียนรู้วิชาภาษาไทยตามสภาพจริงในปัจจุบันน้ัน อาจนาผลให้เกิดประสิทธิผล
ในการเรียนรู้ของนักเรียนตามวัตถุประสงค์ท่ีครูผู้สอนแต่ละคนต้องการตามมาตรฐาน หลักสูตร
ซ่ึงสุชาติ วงศ์สุวรรณ (2525, น. 156) ได้ศึกษาความคิดเห็นของครูผู้สอนภาษาไทยและผู้บริหาร เก่ียวกับการใช้
หลักสูตรวิชาภาษาไทย พบว่า ด้านจุดประสงค์ของหลักสูตร ครูผ้สู อนและผู้บริหารส่วนใหญ่มีความเห็นสอดคล้อง
กันและเห็นด้วยในระดับมากว่าจุดประสงค์ของหลักสูตรวิชาภาษาไทยมีความสอดคล้องกับจุดหมายของหลักสูตร
มัธยมศึกษาตอนต้น เป็นพ้ืนฐานและเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินชีวิต มีความสอดคล้องระหว่างจุดประสงค์วิชา
บังคับ วิชาเลือกกับจุดประสงค์ของหลักสูตรวิชาภาษาไทย และคาดว่าครูภาษาไทยจะสามารถสอนให้บรรลุ
จุดประสงค์ของหลักสูตรวิชาภาษาไทยแต่ละข้อได้ในระดับมาก ส่วนสิ่งที่เป็นปัญหาในการวัดผล ประเมินผล
สาหรับครูภาษาไทยในระดับมากคอื การสร้างเครื่องมอื วัดผลให้ตรงตามจุดประสงค์การเรยี นรใู้ นแต่ละรายวชิ า

3

จากข้อมูลข้างต้นนั้นจะเห็นได้ว่าวิชาภาษาไทยเป็นสาระการเรียนรู้ท่ีสาคัญอย่างยิ่งต่อ การนาไปประยุกต์
ใช้ในสาขาวิชาอ่ืน ๆ รวมถึงในการสื่อสารในชีวิตประจาวัน อีกทั้งครูภาษาไทยเองก็มีความตระหนักและเห็น
คุณค่าของวิชาภาษาไทย มีเจตคติที่ดีต่อเน้ือหาสาระและภูมิใจในความเป็นครูภาษาไทย หากแต่กระบวนการ
จดั การเรียนรู้ และวธิ ีการวดั และประเมนิ ผลยังคงเปน็ ปัญหาท่ีนาให้ครูภาษาไทยตอ้ งเพิ่มเติมและพัฒนาด้านทักษะ
เทคนิค กระบวนในด้านต่าง ๆ เน่ืองด้วยสภาวการณ์ของโลกที่เปลี่ยนแปลงไป ก้าวสู่ส่ิงใหม่ในทุกขณะ การปรับ
บทบาท ทัศนคติ และการพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่เป็นส่วนเสริมสร้างให้กระบวนการจัด
การเรียนรู้ของครูภาษาไทยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองผู้เรียนให้มีทักษะที่จาเป็นในการดาเนินชีวิต
ในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างก้าวกระโดด ให้ผู้เรียนได้มีทักษะตามเป้าหมายของหลักสูตร เป็นพลโลก
ผ้มู สี มรรถนะทางการใชภ้ าษาทดี่ แี ละยงั คงไว้ซึ่งความภาคภมู ิใจในเอกลักษณ์ของชาติ

เรียนรูอ้ ะไรในภาษาไทย

ภาษาไทยเป็นทักษะท่ีต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพ่ือการส่ือสาร การเรียนรู้
อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และเพื่อนาไปใชใ้ นชีวิตจริง

การอ่าน การอ่านออกเสียงคา ประโยค การอ่านบทร้อยแก้ว คาประพันธ์ชนิดต่าง ๆ
การอ่านในใจเพื่อสร้างความเข้าใจ และการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้จากสิ่งท่ีอ่าน เพื่อนาไป
ปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั

การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธี การเขียนสื่อสาร โดยใช้ถ้อยคาและรูปแบบต่าง ๆ ของการ
เขียน ซึ่งรวมถึงการเขียนเรียงความ ย่อความ รายงานชนิดต่าง ๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะห์วิจารณ์
และเขียนเชิงสร้างสรรค์

การฟัง การดู และการพูด การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ การพูดแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก
พูดลาดับเร่ืองราวต่าง ๆ อย่างเป็นเหตุเป็นผล การพูดในโอกาสต่าง ๆ ท้ังเป็นทางการและ ไม่เป็นทางการ
และการพูดเพอ่ื โน้มนา้ วใจ

หลักการใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกับโอกาส
และบุคคล การแต่งบทประพนั ธ์ประเภทตา่ ง ๆ และอทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศ ในภาษาไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม วเิ คราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาขอ้ มลู แนวความคิด คณุ ค่าของ
งานประพันธ์ และความเพลิดเพลนิ การเรยี นรู้และทาความเข้าใจบทเห่ บทร้องเลน่ ของเด็ก เพลงพืน้ บ้านท่ีเป็น

4

ภูมิปัญญาท่ีมีคุณค่าของไทย ซึ่งได้ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เร่ืองราวของ
สังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อให้เกิดความซาบซึ้งและภูมิใจในบรรพบุรุษที่ได้ส่ังสมสืบทอดมา
จนถึงปจั จบุ ัน
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานกาหนดมาตรฐานการเรยี นรใู้ นภาษาไทย ดงั นี้
สาระท่ี 1 การอ่าน
สาระท่ี 2 การเขียน
สาระที่ 3 การฟงั การดู และการพดู
สาระที่ 4 หลกั การใชภ้ าษาไทย

คณุ ภาพผู้เรยี นหลังจากได้ศึกษาเกย่ี วกับหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พ.ศ. 2551 กลมุ่ สาระ
การเรยี นร้ภู าษาไทย จะไดร้ ับการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ทักษะในด้านตา่ ง ๆ ท่จี าเปน็ และสอดคล้องตอ่ การดาเนิน
ชีวิต ไมว่ า่ จะเปน็ ทักษะความรู้ทางด้านการอา่ น การเขยี น การพูด การฟัง การดู เขา้ ใจความแตกต่างทางดา้ น
ภาษา และสามารถเขา้ ใจ วิเคราะห์ ประเมนิ คา่ สรปุ เน้อื หาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ น สามารถนาความรู้
ข้อคิดต่าง ๆ มาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จรงิ ตามลาดับช่วงชนั้ ที่จบการศึกษา

สภาพปญั หาด้านการเรยี นการสอนภาษาไทยในปัจจุบนั

ปัญหาด้านการเรียน การสอน และการใช้ภาษาไทยในปัจจุบัน เริ่มมีแต่ปัญหาในระดับนโยบาย ปัญหาท่ี
ตัวผู้สอน และผู้เรียน ปัญหาท่ีสื่อหรือนวัตกรรม และปัญหาที่สาคัญท่ีสุด คือ การที่ผู้เรียนมิได้ให้ความสนใจกับ
วชิ าภาษาไทยอยา่ งตระหนักรู้ว่า “น่ีคือความจาเป็นที่จกั ตอ้ งเรียนรู้ภาษาของชาตโิ ดยมุ่งผลสมั ฤทธิ์โดยแท้จริง

1. ปัญหาในระดับนโยบาย ช่ัวโมงของวิชาภาษาไทย ในทุกระดับช้ันถูกลดทอนลง จนผู้สอนมิอาจ
ดาเนินการให้ลุ่มลึกได้ และนโยบายที่มิให้มี “เด็กตก” เป็นการเพิ่ม “ตัวเลข” ผู้อ่านหนังสือไม่ออก ให้เพ่ิมข้ึน
อย่างเป็นปัญหาย่ิง ผู้บริหารในทุกลาดับช้ัน มิได้ให้ความสาคัญกับภาษาไทย ท้ังด้านอัตรากาลังและงบประมาณ
สนับสนนุ

2. ปัญหาท่ีตัวผู้สอน ผู้สอนภาษาไทย บางคนมิได้ศึกษามาโดยตรงทางภาษาไทย เป็นเพียงผู้พูดภาษาไทย
และเป็นคนไทยเท่าน้ัน และนี่คือ ข้ออ่อนด้อยโดยตรง ท่ีศาสตร์ทางภาษามิได้รับการเรียนรู้และถ่ายทอดจากคน

5

ตรงสายวิชา และย่ิงกว่าน้ัน ในระดับอุดมศึกษายังมีเสียงสะท้อนว่าผู้สอนบางท่านมิได้แม่นยาทางภาษาไทย
ซง่ึ 2 กรณดี งั กล่าวนจี้ งึ มีผลย่อหยอ่ นตอ่ คุณภาพการเรยี นร้ขู องผู้เรียน อยา่ งน่าไดร้ บั การแกไ้ ขโดยดว่ นย่งิ

3. ปัญหาท่ีตัวผู้เรียน ผู้เรียนส่วนใหญ่ เขียนหนังสือไม่ถูกต้อง และต่างยอมรับว่ายังคงมีความผิดพลาดอีก
มากในการเขียนสะกด-การันต์ ผู้เรียนอ่านหนังสือไม่ออก จับประเด็นไม่ค่อยได้ และเขียนแสดงความคิดเห็นไม่
ค่อยเป็น ซ่ึงต่างยอมรับตรงกันว่าสาเหตุสาคัญประการหนึ่งคือ มิได้ฝึกแสดงความคิดอย่างเป็นระบบ เหตุเพราะ
ขอ้ สอบทร่ี ู้จกั และทาต่อเน่อื งมามีแต่ “ปรนัย”

4. ปัญหาเรื่องสื่อและนวัตกรรม ทุกวันน้ีการเรียนการสอนภาษาไทยยังมีข้ออ่อนด้อยเรื่องนวัตกรรมและ
ส่ือการเรียนรู้ ซ่ึงถ้าผู้สอนหรือผู้เก่ียวข้องจัดทา จัดเตรียม หรือหามาได้เหมาะสมสอดคล้องกับการเรียนรู้ที่มุ่งให้
เดก็ เปน็ ศูนย์กลางแล้ว เชือ่ วา่ จะเกิดประสิทธิภาพยง่ิ

ส่วนในเร่ืองสาคัญท่ีผู้เรียนส่วนใหญ่มิได้ให้ความสนใจกับการเรียนภาษาไทย สรุปว่าท้ังผู้เรียน ผู้สอน และ
ผู้เกี่ยวข้องทกุ ฝ่ายคงต้องถือเป็นวาระใหญ่ โดยแท้จริงท่ีจะทาให้เกิดการตระหนักรู้ว่านี่มิใช่เพียงการเรียนวิชาหน่ึง
แต่แทจ้ รงิ แล้ว คือการเรยี นรู้ในเอกลกั ษณ์และวฒั นธรรม เห็นสังคมสาคัญเปน็ ความมั่นคงของชาตใิ นท่ีสดุ

สภาพปญั หาความเหล่อื มลา้ ของการศกึ ษาไทย

1. ปัญหาการขาดแคลนนวตั กรรม สื่อ อปุ กรณ์ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปัจจัยสนับสนุนในการจัดการศึกษาที่ใช้องค์ประกอบทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมไปถึงนวัตกรรม

รูปแบบต่าง ๆ ค่อนข้างจะมีน้อยหรืออาจไม่มีเลย โดยเฉพาะในโรงเรียนระดับประถมศึกษา (ขนาดเล็ก) ซ่ึงเป็น
สาเหตุสาคัญ ในการพัฒ นาคุณ ภาพการศึกษาท่ีไม่สามารถขับเคล่ือนให้มีมาตรฐานท่ีเท่าเทียมกัน

ในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา ด้านปัจจัยสนับสนุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ซ่ึงรวมไปถึงส่ือ
อุปกรณ์ เคร่ืองมือ และนวัตกรรมทางการศึกษา แม้ว่าพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 จะมุ่งเน้น
ความเสมอภาคทางการศึกษา แต่ในสภาพความเป็นจริงในสังคมประเทศไทย ยังมีอีกหลายพน้ื ที่ ท่สี ภาพการศึกษา
มีความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัด บางพื้นที่ ขาดไฟฟ้า ขาดระบบส่ือสารขั้นพื้นฐาน ทาให้เคร่ืองมือ อุปกรณ์ทาง
เทคโนโลยีท่ีได้ ก็ไม่สามารถเช่ือมต่อเครือข่ายใช้งานได้ ซ่ึงเม่ือเทียบกับโรงเรียนมัธยมศึกษา (ขนาดใหญ่) ที่มี
ความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมากกว่า จึงทาให้เห็นช่องว่างระหว่างความแตกต่างของโรงเรียน
ประถมศึกษา (ขนาดเล็ก) โรงเรียนมธั ยมศึกษา (ขนาดกลาง) และโรงเรียนมัธยมศกึ ษา (ขนาดใหญ)่ ได้ชัดเจน

6

2. ปัญหาปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างครูกบั นกั เรียน
ภาระงานของครู ไม่มีเพียงแค่งานสอน แต่มีงานอย่างอ่ืนท่ีนอกเหนือจากงานสอน คือ งานเอกสาร งาน

ประเมนิ งานอบรม และงานอน่ื ๆ ซ่ึงแต่ละงานล้วนเป็นภาระงานท่ีหนักสาหรับโรงเรียนประถมศึกษา (ขนาดเล็ก)
และโรงเรียนมัธยมศึกษา (ขนาดกลาง) ซ่ึงโรงเรียนเหล่าน้ีมักประสบปัญหาการขาดแคลนครู ครูไม่ครบช้ันเรียน
ครตู อ้ งทาหนา้ ทเ่ี ป็นเจ้าหน้าท่ธี ุรการ เป็นเจ้าหนา้ ท่พี ัสดุ เป็นเจ้าหน้าท่ีการเงนิ งานอ่นื ๆ ที่นอกเหนอื จากงานสอน
ส่งผลให้ครูในโรงเรียนเหล่านี้ต้องทิ้งห้องเรียนและเกิดปัญหาปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนตามมา ซึ่งเป็น
ปัญหาความเหลอื่ มลา้ ของการศกึ ษาไทยที่สาคญั ทตี่ อ้ งเรง่ แก้ไข

3. ปัญหาการขาดแคลนครู
โรงเรียนประถมศึกษา (ขนาดเล็ก) และโรงเรียนมัธยมศึกษา (ขนาดกลาง) อย่างโรงเรียนขยายโอกาส

ทางการศึกษา ส่วนใหญ่มักจะประสบปัญหาการขาดแคลนครูที่มีความเช่ียวชาญเฉพาะทางใน 8 รายวิชา และ
จานวนครูไม่ครบชั้นเรียน เน่ืองจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) กาหนด สัดส่วน
ครู 1 คน ต่อนักเรียน 20 คน ซ่ึงสัดส่วนดังกล่าวทาให้เกิดปัญหาในการจัดสรรครูแก่นักเรยี นบางแห่ง ท่ีมีจานวน
นักเรียนน้อย ยกตัวอย่างเช่น โรงเรียนประถมที่จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 และมีนักเรียน
ศึกษาอยจู่ านวน 80 คน หากยดึ ตามเกณฑ์ของ สพฐ. โรงเรียนแหง่ นีจ้ ะได้รบั การจัดสรรครู เพียง 4 คน ซ่งึ ไมพ่ อดี
กับจานวนชั้นเรียนท่เี ปิดสอน ดังน้ัน โรงเรยี นในลกั ษณะดังกล่าวจึงประสบปญั หาครูไม่ครบชน้ั เรียน และครูไมค่ รบ
ทุกสาขาวิชา (รายงานดีทอี าร์ไอ แนวทางการแกป้ ญั หาโรงเรยี นขนาดเล็ก, 2558)

จากสภาพปัญหาดังกล่าว จึงส่งผลให้โรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนขนาดกลางต้องมีการจัดเรียนการ
สอนแบบควบชั้นเรยี น คือ ครู 1 คน ต่อนกั เรียน 2 ระดับชน้ั ครูภาษาไทยตอ้ งสอนทกุ รายวิชา ซ่งึ ความเชี่ยวชาญ
ของครูภาษาไทยในการสอนรายวิชาอ่ืน ๆ ก็ไม่สามารถเทียบเท่ากับครูท่ีจบมาตรงตามสาขาวิชาเอกโดยตรง
ซึ่งแตกต่างจากโรงเรียนมัธยมศึกษา (ขนาดใหญ่) ท่ีมักจะเป็นโรงเรียนประจาอาเภอหรือโรงเรียนประจาจังหวัด
มีความพร้อมในการจัดการเรียนการสอน และจานวนครูในการสอนวิชาภาษาไทยเพียงพอต่อความต้องการของ
โรงเรียน และเพียงพอต่อจานวนนักเรียน ครูภาษาไทยได้ทาหน้าที่จัดการเรียนการสอนในรายวิชาภาษาไทย
ตรงตามวชิ าเอก ได้ใชท้ กั ษะ ความสามารถของตนเองไดอ้ ย่างเต็มท่ี

7

ผลลพั ธท์ ้าทาย ปลายทางเป้าหมายระดบั ชาติ
สรุปผลการทดสอบระดับชาติ
สรปุ ผลการทดสอบระดับชาติ การทดสอบระดับชาตจิ ะพจิ ารณาการสอบ PISA และ O-NET
1. ผลการทดสอบ PISA (Programme for International Student Assessment) หรือ โปรแกรม

ประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล ซ่ึงข้อสอบของ PISA จะประเมินความฉลาดรู้ (Literacy) ใน 3 ด้าน
ได้แก่ ความฉลาดรู้ด้านการอ่าน (Reading Literacy) ความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy)
และความฉลาดรดู้ า้ นวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy)

จากการสอบคร้ังล่าสุดในปี 2018 เป็นรอบการประเมินล่าสุดท่ีเน้นการประเมินด้านการอ่านเป็นหลักซ่ึง
ได้ประเมินความฉลาดรู้ด้านการอ่านให้สอดคล้องกับโลกดิจิทัลในปัจจุบัน เม่ือพิจารณาการเปล่ียนแปลงคะแนน
ต้ังแต่การประเมินรอบแรกใน PISA 2000 จนถึง PISA 2018 พบว่า ผลการประเมินด้านการอ่านของประเทศไทย
มีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเน่ือง และนักเรียนไทยทั้งกลุ่มท่ีมีคะแนนสูงและกลุ่มที่มีคะแนนต่าต่างก็มีจุดอ่อนอยู่ท่ี
ดา้ นการอา่ น

นกั เรยี นไทยมีคะแนนเฉลี่ยในด้านการอา่ น 393 คะแนน (ค่าเฉล่ยี OECD 487 คะแนน) คณิตศาสตร์ 419
คะแนน (ค่าเฉล่ีย OECD 489 คะแนน) และวิทยาศาสตร์ 426 คะแนน (ค่าเฉลี่ย OECD 489 คะแนน) ซึ่งเมื่อ
เปรียบเทียบกับ PISA 2015 พบว่า ด้านการอ่านมีคะแนนลดลง 16 คะแนน ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
มคี ะแนนเพิ่มขน้ึ 3 คะแนน และ 4 คะแนน ตามลาดบั

ภาพที่ 1 กราฟแสดงคะแนนเฉลี่ยการอ่าน คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ตั้งแต่ปี 2000 - ปี 2018

8

2. ผ ล ก า ร ท ด ส อ บ O-NET (Ordinary National Educational Test) ห รื อ ก า ร ท ด ส อ บ
ทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพ้ืนฐาน เป็นการทดสอบเพื่อวัดความรแู้ ละความคิดของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 6
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ประเมินตามมาตรฐานการเรียนรู้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551

จากการทดสอบตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 ถึง ปี พ.ศ. 2562 ค่าเฉลย่ี ของคะแนนการสอบวชิ าภาษาไทยระดับช้ัน
ประถมศึกษาปีท่ี 6 นั้นมีค่าเฉล่ียไม่คงที่ ซ่ึงบางปีเพิ่มขึ้น บางปีลดลง ต่างจากค่าเฉล่ียของคะแนนการสอบวิชา
ภาษาไทยระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ท่ีมีค่าเฉลี่ยเพ่ิมขึ้นเรื่อย แต่ค่าเฉลี่ยของคะแนนการสอบวิชาภาษาไทย
ระดบั ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 กับมคี า่ เฉลยี่ ลดลงทกุ ปีต้งั แต่ปี ปี พ.ศ. 2559

เมื่อพิจารณาคะแนนเฉล่ียของผลการทดสอบ O-NET ปีการศึกษา 2558-2562 โดยพิจารณาจาแนกตาม
สาระจะทราบว่า

ช้ันประถมศึกษาปีที่ 6 มีสาระท่ีมีคะแนนไม่ผ่านครึ่งหนึ่งสาระ ได้แก่ สาระท่ี 4 หลักการใช้ภาษาไทย โดย
มคี ะแนนเฉล่ียประมาณ 39 – 49 เท่านั้น

ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 มีสาระทมี่ ีคะแนนไม่ผา่ นครง่ึ หน่ึงสาระ ได้แก่ สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย โดยมี
คะแนนเฉลีย่ ประมาณ 43 – 48 เท่าน้นั

ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 มีสาระที่มีคะแนนไม่ผ่านครึ่งมีถึงสองสาระด้วยกัน ได้แก่ สาระที่ 4 หลักการใช้
ภาษาไทย โดยมีคะแนนเฉลี่ยประมาณ 34 – 38 และสาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มีคะแนนเฉล่ียประมาณ
38 – 48 เท่านั้น

จากตารางเปรียบเทยี บคะแนนเฉล่ยี ในแต่ละกลมุ่ สาระทาใหเ้ ราสามารถวิเคราะหไ์ ด้วา่ นักเรียนจะต้องมี
การปรบั ปรงุ สาระที่ 4 หลกั การใชภ้ าษาไทย และสาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม ซึ่งเป็นสาระท่ีสาคัญในการ
เรียนการสอนวชิ าภาษาไทย

9

ตารางสรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6
ปกี ารศกึ ษา 2558-2562

สทศ. จดั การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติข้ันพืน้ ฐาน (O-NET) ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา
2558 เมื่อวนั ที่ 27 กุมภาพนั ธ์ 2559 การรายงานผลการทดสอบ นอกจากจะเสนอค่าสถิติพ้นื ฐานแล้ว สทศ.ได้
เสนอค่าสถติ ิพน้ื ฐานคะแนนเฉลี่ยจาแนกตามตวั แปร คอื สังกดั ขนาดโรงเรียน ทต่ี ้ัง ภูมิภาค และตาม
รายสาระ สรปุ ได้ดงั น้ี
สรปุ ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน วิชาภาษาไทย (O-NET) สทศ.

ระดบั ชนั้ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562
ป.6 49.33 52.98 46.58 55.90 49.07
ม.3 42.64 46.36 48.29 54.42 55.14
ม.6 49.36 52.29 49.25 47.31 42.21

ตารางแสดงค่าคะแนนเฉล่ยี ของผลการทดสอบ O-NET ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 6

ปีการศึกษา 2558-2562 จาแนกตามสาระ

วิชา สาระ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562

ภาษาไทย สาระท่ี 1 การอ่าน 60.82 48.53 44.51 61.23 55.82

สาระที่ 2 การเขียน 55.06 55.36 47.35 56.31 54.63

สาระท่ี 3 การฟงั การ 44.51 71.35 68.21 73.51 47.91

ดู และการพดู

สาระท่ี 4 หลกั การใช้ 44.99 48.07 40.36 41.42 39.49

ภาษาไทย

สาระที่ 5 วรรณคดี 34.57 48.62 39.97 55.73 44.82

และวรรณกรรม

10

ตารางแสดงคา่ คะแนนเฉลี่ยของผลการทดสอบ O-NET ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3

ปกี ารศกึ ษา 2558-2562 จาแนกตามสาระ

วิชา สาระ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562

ภาษาไทย สาระที่ 1 การอา่ น 45.4 45.78 52.55 58.55 48.65

สาระที่ 2 การเขียน 45.82 41.19 49.04 50.67 48.92

สาระที่ 3 การฟงั การ 34.4 60.21 48.73 62.13 69.68

ดู และการพูด

สาระท่ี 4 หลกั การใช้ 43.31 45.10 44.22 47.05 47.80

ภาษาไทย

สาระที่ 5 วรรณคดี 42.27 40.10 48.36 58.62 72.48

และวรรณกรรม

ตารางแสดงค่าคะแนนเฉลีย่ ของผลการทดสอบ O-NET ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

ปีการศกึ ษา 2558-2562 จาแนกตามสาระ

วิชา สาระ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562

ภาษาไทย สาระท่ี 1 การอา่ น 64.26 57.04 57.48 43.65

สาระที่ 2 การเขยี น 53.87 49.93 47.06 45.10

สาระที่ 3 การฟัง การ 64.54 73.78 74.23 66.33

ดู และการพดู

สาระที่ 4 หลักการใช้ 35.24 37.18 34.29 34.03

ภาษาไทย

สาระที่ 5 วรรณคดี 47.03 44.62 38.48 45.41

และวรรณกรรม

11

ผลกระทบของการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ

1. ผลกระทบต่อผเู้ รียน

อุบล แก้วปิ่น และคณะ (2556) สุรชัย ไวยวรรณจิตร และคณะ (2557) พบผลกระทบไปในทิศทาง
เดียวกัน คือ ผูเ้ รียนขาดประสบการณใ์ นการทาข้อสอบตามแนวทางของ สทศ. ผู้เรียนไมเ่ หน็ ความสาคญั ของ
การทดสอบทางการศึกษา ผู้เรยี นบางคนมีปญั หาด้านการอ่านอ่านไมค่ ล่อง ผูเ้ รยี นบางคนขาดทกั ษะการอ่าน
จบั ใจความสาคัญ

2. ผลกระทบต่อผู้สอน
อุบล แก้วปิ่น และคณะ (2556) สุรชยั ไวยวรรณจิตร และคณะ (2557) พบวา่ ผู้สอนยังไม่ปรบั วิธีการ
สอยของตนเองให้สอดคล้องกับการทดสอบระดับชาติทาให้สามารถจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 รวมท้ังมีครูจานวนน้อย ครูสอนไม่ตรงวิชาเอก
ขาดการวิเคราะห์ข้อสอบ ภาระงานที่เพ่ิมมากข้ึน การจัดการเรียนการสอนไม่เกิดสมดุลระหว่างหลักสูตร
การเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล
3. ผลกระทบตอ่ ผู้บริหาร
จตุภูมิ เขตจัตุรัส และคณะ (2562, น. 202) กล่าวว่า ผู้บริหารใช้ผลประเมินคะแนน O-net ในการ
จดั อันดับโรงเรียน ส่งผลให้เกิดความไม่ยุติธรรมในการเปรียบเทียบระหว่างโรงเรียนที่มีปัจจัยต้นทุนท่แี ตกต่าง
ทง้ั ในด้านตัวผู้เรยี น สภาพแวดลอ้ ม เศรษฐกิจสังคม

12

ทกั ษะศตวรรษที่ 21

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้างรูปแบบ
และแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพในการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ความรู้
ทักษะ ความเชี่ยวชาญ และสมรรถนะท่ีจะเกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อให้สามารถดารงชีวิตในสังคมแห่งความ
เปลี่ยนแปลง ก้าวทันข้อมูลข่าวสาร สามารถคิดสร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน
ความชานาญการในดา้ นตา่ ง ๆ เขา้ ด้วยกัน เพอื่ ให้เกดิ ความสาเร็จทัง้ ด้านการทางานและการดาเนินชีวิต

องค์กร World Economic Forum (WEF) ได้ทาการสารวจและวิเคราะห์ความต้องการของ
ตลาดแรงงาน รวมท้ังแนวโน้มของเทคโนโลยีในองค์กรทั่วโลก ผลการศึกษาพบว่า ทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษ
ที่ 21 (21st-Century Skill) แบง่ ออกเป็น 3 กลุม่ ใหญ่ ดงั น้ี

ความรพู้ น้ื ฐาน (Foundational Literacies)
กลุ่มทกั ษะพ้ืนฐานทจี่ าเปน็ ต้องใชใ้ นการปฏิสมั พนั ธ์กับบรบิ ททแี่ ตกตา่ งกนั ได้แก่
1. การใช้ภาษา (Literacy) ปัจจุบันการอ่านออกเขียนได้ไม่เพียงพอ ต้องเข้าใจความหมาย และ

สามารถสอ่ื สารออกมาได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม เปน็ พ้ืนฐานท่จี ะนาไปใชใ้ นการสรา้ งและพฒั นาทักษะอ่ืนได้
2. การคานวณ (Numeracy) นอกจากคิดเลขเป็นแล้ว ต้องมีความสามารถในการตีความและเข้าใจ

ความคิดต่าง ๆ ท่ีสื่อสารออกมาในรูปของคณิตศาสตร์ เช่น เลขคณิต, พีชคณิต, เรขาคณิต, ตรีโกณมิติ ฯลฯ
และสามารถใช้มันใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อการดาเนนิ ชีวติ ได้

3. การใช้เทคโนโลยี (ICT Literacy) เข้าใจและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร
เป็นทักษะทีจ่ าเป็นอย่างย่งิ ในโลกปจั จุบนั

4. การใช้วิทยาศาสตร์กับสิ่งรอบตัว (Scientific Literacy) ความสามารถในการอธิบาย
ปรากฏการณ์ ในเชิงวิทยาศาสตร์ การประเมิน และออกแบบกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์ การแปลความหมายขอ้ มูล และใชป้ ระจักษ์พยานเชงิ วิทยาศาสตร์

5. การเป็นส่วนหน่ึงของสังคมและวัฒนธรรม (Cultural & Civic Literacy) ทางานร่วมกับผู้อ่ืน
ไดอ้ ย่างเหมาะสม มีประสทิ ธิภาพ อย่รู ว่ มกับวฒั นธรรมทีแ่ ตกต่างได้ และสามารถใช้ความแตกตา่ งมาช่วยสร้าง
นวัตกรรมและคณุ ภาพของงาน

6. การจัดการด้านการเงิน (Financial Literacy) สามารถจัดการทรัพยากรทางการเงินของตัวเอง
ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ต้ังแต่เรื่องการหารายได้ การออม การลงทุน การจัดทางบประมาณรายรบั รายจ่ายการ
จัดการหน้ี และการวางแผนทางการเงนิ

ความสามารถ (Competencies)

13

กลุ่มทักษะท่ีต้องนามาใช้ในการจัดการกับปัญหาในชีวิต โดยกลุ่มทักษะนี้จะเป็นทักษะสาคัญ
ที่ใช้รว่ มกนั ได้แก่

1. การคิดอย่างมี วิจารณ ญ าณ (Critical Thinking) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์
คิดอยา่ งมเี หตุผล และตอ้ งสามารถตัดสินคุณค่าของเรื่องตา่ ง ๆ

2. สร้างวิธีการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (Creativity) มีความสามารถในการจินตนาการเพื่อ
สร้างสรรค์สิง่ ใหม่ ซ่งึ นาไปสคู่ วามคดิ และวธิ ีการใหม่ ๆ ท่เี รยี กวา่ นวตั กรรม (Innovation)

3. การส่ือสาร (Communication) มีความสามารถในการใช้ภาษา การใช้ ICT และใช้จิตวิทยาเพื่อ
สอื่ สารกบั ผอู้ น่ื ใหป้ ระสบความสาเรจ็ ได้

4. ทางานร่วมกับผอู้ ่ืน (Collaboration) มีความสามารถในการทางานร่วมกบั ผู้อ่ืนได้ การร่วมมือกับ
คนหลายคนที่อาจมีพ้ืนฐานต่างกัน ท้ังแนวคิด ความเชื่อ หรือความรู้ เพ่ือทางานหรือทากิจกรรมใด ๆ ให้
ประสบความสาเร็จได้

กลุ่มทักษะน้ี จัดได้ว่าเป็นทักษะหลักที่ทาให้มนุษย์เราเหนือกว่าคอมพิวเตอร์ เพราะเป็นสิ่งที่
คอมพวิ เตอรย์ ังทาไม่ได้ เชน่ การคิดสร้างสรรค์ เปน็ ต้น

ลกั ษณะนสิ ัย (Character Qualities )
กลมุ่ ทักษะทใ่ี ช้ในการจดั การตัวเองกับสภาพสังคมท่เี ปลย่ี นแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว ไดแ้ ก่
1. ความอยากรู้อยากเห็น (Curiosity) ความต้องการหรือความปรารถนาท่ีจะรู้ เป็นแรงผลักดัน

ท่ที าให้คน้ หาความแปลกใหมห่ รือสร้างองค์ความร้ตู ่าง ๆ
2. การริเริ่มสร้างสรรค์ (Initiative) สามารถทางานได้โดยไม่ต้องรอรับคาสั่ง มีความคิดริเริ่ม

มีความคดิ ยืดหยุ่นตามสถานการณ์ แต่ตอ้ งสามารถตดั สนิ ใจหรอื หาขอ้ สรุปได้
3. ความพยายามในการบรรลุเป้าหมายท่ีต้ังไว้ (Persistence/Grit) ความเพียรพยายาม

ความกล้าที่จะลงมือทา มีภาวะผู้นากล้าเผชิญกับปัญหาและหาทางแก้ไข เป็นแนวทางให้ดาเนินไป
สู่ความสาเร็จตามประสงค์

4. ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับสังคมและสภาพแวดล้อม (Adaptability) สามารถปรบั ตัว
รเู้ ท่าทนั สภานการณ์ สามารถนาองคค์ วามรทู้ ี่มีมาประยกุ ต์ใช้ในการแก้ปัญหาได้ในทกุ สถานการณ์

5. ความเป็นผู้นา (Leadership) คือ ความสามารถของบุคคลในการนาพาสมาชิกในองค์กร เพื่อให้
ประสบความสาเร็จ ต้องมีความสามารถในการตัดสินใจท่ีดี สามารถสร้างและสื่อสารวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนได้และ
สามารถชกั จงู ผตู้ ิดตามไปสู่เป้าหมายรว่ มกนั

6. ความตระหนักถึงสังคมและวฒั นธรรม (Social & Cultural Awareness)
ความสามารถในการมีทัศนคติแห่งความ “เข้าอกเข้าใจ” (empathy) ต่อผู้อื่น ในแง่ของ
ความแตกต่างหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นเชื้อชาติ ศาสนา สังคม วัฒนธรรม บรรทัดฐานแต่ละสังคม

14

ผู้ท่ีมีความต้องการพิเศษหรือเฉพาะทาง โดยเฉพาะโลกปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ซับซ้อน
เช่น ความหลากหลายทางเพศทเี่ พม่ิ นยิ ามมากขนึ้ หรือ ความหลากหลายทางเช้อื ชาตแิ ละชาติพนั ธุ์ เป็นตน้

ความเปลีย่ นแปลงของสภาพสงั คมทเ่ี ป็นไปรวดเรว็ ทาใหเ้ ด็กยุคใหมต่ อ้ งกา้ วตามใหท้ นั ทกั ษะเหล่านี้
จงึ มีความสาคัญมากขนึ้ เพ่ือพฒั นาคนใหเ้ ป็นพลเมือง และพลโลกท่ีมีคณุ ภาพ (Character Qualities) เม่ือเดก็
คนหน่ึงมีทักษะครบท้ัง 16 อยา่ งทท่ี างานสอดคล้องกัน จะสามารถใช้ชวี ิตอยูร่ อดบนโลกในศตวรรษที่ 21
ไม่วา่ สภาพแวดลอ้ มหรอื สงั คมจะเปล่ยี นไปรวดเร็วแคไ่ หน หรอื พบเจออปุ สรรคปัญหาใด ๆ ทักษะเหล่านจี้ ะทา
ใหเ้ ด็กคนหน่งึ สามารถเรยี นรู้ตลอดเวลาได้ ซึ่งเรียกว่า “Lifelong Learning” หรอื การเรียนรตู้ ลอดชีวิต ท่ี
ไม่ได้จบการเรยี นรเู้ พยี งแคต่ อนท่เี ปน็ นักเรียนในห้องเรยี น ซง่ึ กระทรวงศกึ ษาธิการไดใ้ ห้คาจากัดความ
ทักษะของคนในศตวรรษท่ี 21 ท่ที กุ คนจะต้องเรียนรูต้ ลอดชีวติ ดงั ต่อไปนี้ คือ 3R 8C

วจิ ารณ์ พานิช (2555) กลา่ ววา่ สาระวิชาก็มคี วามสาคญั แตไ่ มเ่ พยี งพอสาหรบั การเรียนรูเ้ พอื่ มีชวี ิต
ในโลกยคุ ศตวรรษท่ี 21 ปัจจบุ นั การเรยี นรูส้ าระวชิ า (content หรอื subject matter) ควรเปน็ การเรียนจาก
การค้นควา้ เองของศษิ ย์ โดยครูชว่ ยแนะนา และชว่ ยออกแบบกิจกรรมท่ีช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถ
ประเมินความกา้ วหน้าของการเรยี นรูข้ องตนเองได้ สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย ภาษาแม่
และภาษาสาคัญของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ การปกครองและหนา้ ท่ีพลเมือง เศรษฐศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์
ภมู ศิ าสตร์ และประวัตศิ าสตร์ โดยวชิ าแกนหลักน้ี จะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยทุ ธศาสตร์
สาคัญต่อการจัดการเรยี นรใู้ นเนอ้ื หาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวขอ้ สาหรับศตวรรษที่ 21
โดยการส่งเสริมความเข้าใจในเนอ้ื หาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เขา้ ไปในทุกวชิ า
แกนหลกั ดังนี้

15

ทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21
1. ความรเู้ กยี่ วกบั โลก (Global Awareness)
2. ความร้เู กีย่ วกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกจิ และการเป็นผปู้ ระกอบการ
(Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy)
3. ความรูด้ ้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy)
4. ความรู้ด้านสขุ ภาพ (Health Literacy)
5. ความรดู้ ้านสิ่งแวดลอ้ ม (Environmental Literacy)

ทกั ษะด้านการเรยี นรู้และนวัตกรรม
เป็นตัวกาหนดความพร้อมของนกั เรียนเข้าสโู่ ลกการทางาน ท่มี ีความซับซ้อนมากขนึ้ ในปัจจบุ ัน ได้แก่
1. ความรเิ ร่มิ สรา้ งสรรคแ์ ละนวัตกรรม
2. การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและการแก้ปญั หา
3. การส่ือสารและการรว่ มมือ

ทักษะด้านสารสนเทศ สือ่ และเทคโนโลยี
ปัจจบุ นั มกี ารเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสือ่ และเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการ

แสดงทกั ษะการคดิ อยา่ งมีวิจารณญาณและปฏิบตั งิ านได้หลากหลาย โดยอาศัยความรใู้ นหลายดา้ น ดังนี้
1. ความรดู้ า้ นสารสนเทศ
2. ความรเู้ กีย่ วกบั สื่อ
3. ความรดู้ ้านเทคโนโลยีช

ทกั ษะดา้ นชีวติ และอาชพี
การดารงชีวติ และทางานในยุคปจั จบุ ันใหป้ ระสบความสาเร็จ นกั เรยี นจะต้องพฒั นาทักษะชีวติ ท่ี

สาคัญดงั ต่อไปน้ี
1. ความยดื หยนุ่ และการปรบั ตวั
2. การริเริ่มสรา้ งสรรคแ์ ละเป็นตัวของตวั เอง
3. ทักษะสงั คมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
4. การเป็นผสู้ รา้ งหรือผูผ้ ลติ (Productivity)
5. ความรบั ผดิ ชอบเชอื่ ถือได้ (Accountability)
6. ภาวะผ้นู าและความรบั ผดิ ชอบ (Responsibility)

ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 คือการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียน สามารถนา
องค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการดาเนินชีวิต ก้าวทันข้อมูลข่าวสาร สามารถคิดสร้างสรรค์ ประยุกต์ใช้องค์
ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชานาญการในด้านต่าง ๆ เขา้ ด้วยกนั เพอื่ ให้เกดิ ความสาเร็จทง้ั ดา้ นการทางาน
และการดาเนินชีวิต ทักษะต่าง ๆ ท่ีกล่าวมาข้างต้นน้ัน จึงเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่ง และทักษะที่สาคัญท่ีสุด

16

คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการปฏิรูปการศึกษา เปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนรู้
เพื่อใหผ้ ู้เรียนในศตวรรษที่ 21 นี้ มคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น เพ่ือเปน็ พลเมือง และ พลโลกท่ีมี
คุณภาพสบื ไป

เหตใุ ดจงึ ตอ้ งหาโมเดลใหมด่ ้านการศึกษา
สาหรบั ศตวรรษท่ี 21 พลังท่บี ีบบังคบั ให้การศกึ ษาต้องเปล่ยี นแปลง อย่างไม่อาจหลีกเล่ยี งไดก้ ่อตัว

ข้นึ มาพักหน่งึ แลว้ โดยมีสาเหตดุ งั ตอ่ ไปน้ี
โลกกาลังเปล่ียนแปลง ตลอด 30 ปีท่ีผ่านมาการแข่งขันและความร่วมมือในระดับโลกเกิดขึ้นรวดเร็ว

จนน่าตกใจ ซ่ึงเป็นผลมาจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศภาคเศรษฐกิจบริการท่ีขับเคล่ือนด้วย
ข้อมูล ความรู้และนวัตกรรมได้เข้ามาแทนท่ีภาคเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและได้เปล่ียนแปลงวงการธุรกิจและ
การทางาน กว่า 3 ใน 4 ของตาแหนง่ งานท้ังหมดในสหรัฐอเมรกิ า ขณะน้อี ยู่ในภาคบริการ งานใช้แรงงานแบบ
ซ้าซากต้องเปิดทางให้แก่งานใช้สมองและอาศัยปฏิสัมพันธ์หรือแม้แต่ในกลุ่มแรงงานมีฝีมือก็ตาม เทคโนโลยี
เข้ามาแทนที่การทางานแบบซา้ ซากขณะเดียวกันก็ถูกใช้เพื่อช่วยพนักงานท่ีมีทักษะขั้นสูงให้เพิ่มผลผลติ ได้มาก
ขึ้นและสร้างสรรค์ยิ่งข้ึน ผู้ท่ีสามารถปรับตัวและสร้างประโยชน์ให้องค์กรผลิตภัณฑ์และกระบวนการทางาน
ด้วยการใช้ทักษะด้านการสื่อสารการแก้ไขปัญหาและการคิดเชิงวิพากษ์เพื่อปรับเปล่ียนการทางานและมี
ผลงานตามความคาดหวงั ขององค์กรกจ็ ะได้รบั ผลตอบแทนจากเศรษฐกจิ ท่กี ้าวหนา้ อุตสาหกรรมและบรษิ ัทท่ีมี
นวตั กรรมและตาแหนง่ งานทเ่ี ตบิ โตอยา่ งรวดเร็ว

ดงั นนั้ ทกั ษะแห่งศตวรรษใหม่จงึ เป็นใบเบกิ ทางสู่การเล่ือนสถานะทางเศรษฐกิจสว่ นคนท่ีปราศจาก
ทกั ษะดงั กลา่ วกต็ ้องจมปลักอยู่กบั งานทใี่ ชท้ ักษะต่าและค่าจ้างถูกความเช่ียวชาญในทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21
จึงกลายเป็นสทิ ธพิ ลเมืองชุดใหมท่ ่ีจาเปน็ ในยุคของเรา
การศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 ควรมีลักษณะอย่างไร

ภาคีเพือ่ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ใช้เวลาในช่วงทศวรรษทผี่ า่ นมาพัฒนากรอบความคิดเพ่ือการเรียนรู้
ในศตวรรษท่ี 21 ทเ่ี ข้มแขง็ ใหส้ ามารถตอบสนองต่อความต้องการการท่ีกาลงั เปลี่ยนแปลงของสังคมซง่ึ คนหนุ่ม
สาวกาลังเผชิญอยู่ กรอบความคิดน้ีได้แรงสนับสนุนอย่างต่อเน่ืองและกระตือรือร้นจากองค์กรชั้นนาด้าน
การศึกษาประชาคมธุรกิจและผู้กาหนดนโยบายและที่ขาดไม่ได้คือผู้ปกครองครูต้ังแต่ระดับอนุบาลจนถึง
ระดับอุดมศึกษาและองค์กรชุมชนจนสามารถพัฒนาให้กลายเป็นวิสัยทัศน์เพื่อการศึกษาที่รอบด้านและมี
เป้าหมายชัดเจน

17

กรอบความคดิ เพ่ือการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21
เสนอแนวทางสาหรับการศกึ ษาสาธารณะทีเ่ ป็นไปไดต้ อบสนองต่อสถานการณ์และนา่ สนใจ

เป็นอย่างย่งิ ด้วยเหตุผลหลายประการดังนี้
1. กรอบความคิดน้เี นน้ ผลลพั ธท์ ส่ี าคญั
การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ต้องยึดผลลัพธ์ทั้งในแง่ความรู้ในวิชาแกนและทักษะแห่งศตวรรษใหม่ซ่ึง

เป็นผลลัพธ์ที่โรงเรียน ที่ทางาน และชุมชนต่างเห็นคุณค่า นับเป็นความล้มเหลวระดับชาติที่นักเรยี นส่วนใหญ่
จบช้นั มัธยมโดยขาดความสามารถหลกั ทนี่ ายจ้าง และครูระดับอดุ มศกึ ษาเห็นวา่ จาเป็นอย่างย่ิงของโลก
การทางานและการศึกษาข้ันสูง การคิดเชิงวิพากษก์ ารแก้ไขปัญหาความคิดสรา้ งสรรค์ และทักษะแหง่ ศตวรรษ
ที่ 21 คือเคร่อื งมอื ทเ่ี ราตอ้ งใชเ้ พื่อปนี บันไดทางเศรษฐกจิ

ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จะช่วยเตรียมความพร้อมให้นักเรียนรู้จักคิดเรียนรู้ทางานแก้ปัญหาส่ือสารและ
รว่ มมือทางานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธผิ ลไปตลอดชีวิตบางคนวา่ ทักษะเหล่านไี้ มไ่ ด้เป็นของศตวรรษท่ี 21 โดยเฉพาะ
ซ่ึงก็เหน็ ด้วยแตเ่ ราเรียกทักษะเหล่านีด้ ้วยเหตผุ ล 3 ประการ

ประการแรก ทักษะเหล่านี้แทบไม่เคยถูกบรรจุในหลักสูตรหรือประเมินเลยและถูกมองว่าเป็นสิ่งท่ี
ถ้ามีกด็ ี มากกว่า จาเป็นต้องมี ทักษะเหล่าน้ีจงึ ถกู สอนแบบตามมีตามเกิดนักเรียนบางคนอาจเกิดทกั ษะเหล่านี้
โดยบังเอญิ จากชีวิตประจาวนั และประสบการณ์ในการทางานหรือ บางคร้ังเกิดในโรงเรยี นถา้ เจอครูเก่ง ๆ ไม่ก็
ครูที่ฉลาดพอจะเห็นความสาคัญและสร้างทักษะดังกล่าวขึ้นเองเราไม่อาจปล่อยให้การพัฒนาทักษะสาคัญ
เหล่านเ้ี กดิ ขนึ้ เองตามยถากรรม

ประการท่ีสอง ทักษะเหล่าน้ีมีความสาคัญต่อนักเรียนทุกคน ในวันน้ีไม่จากัดแค่อภิชนบางกลุ่มใน
ระบบเศรษฐกิจที่ผ่านมาคนอเมริกันอยู่ในโลกแห่งลาดับช้ันซ่ึงมีวิธีคิดแบบสายการผลิตผู้บริหารระดับสูงและ
ผู้เช่ียวชาญมหี นา้ ที่คิด แกป้ ัญหา ตัดสนิ ใจ และสอ่ื สารแทนองคก์ รพวกเขาออกคาสง่ั และพนักงานส่วนใหญ่ก็มี
หน้าท่ีทาตามคาสั่งเท่าน้ัน แต่โลกปัจจุบันไม่ได้เป็นเช่นน้ันแล้ว องค์กรท่ีแข่งขันได้ต้องปรับโครงสร้างการ
บริหารให้แบนราบเพิ่มการใช้เทคโนโลยี สร้างระบบงานท่ียืดหยุ่น และกระจายความรับผิดชอบให้พนักงาน
ระดับปฏิบัติการและทีมโครงการมากข้ึน การเปล่ียนแปลงเชิงองค์กรและเชิงพฤติกรรมนี้ ช่วยเพิ่มระดับ
ผลผลิตและนวัตกรรมในสภาพความเป็นจริงเช่นน้ีนักเรียนที่ไม่ถนัดทักษะแห่งศตวรรษใหม่ ย่อมไม่อาจใช้
ศักยภาพทางเศรษฐกิจของตนได้อย่างเตม็ ท่ี

ประการท่ีสาม ทักษะต่างๆท่ีนายจ้างและครูระดับอุดมศึกษา เห็นว่าจาเป็นต่อความสาเร็จได้มา
บรรจบกันแม้แต่คนเพ่ิงเริ่มทางานใหม่ ๆ ก็ถูกคาดหวังว่าจะสามารถใช้ทักษะศตวรรษท่ี 21 เพ่ือทางานให้

18

ลุล่วงได้งานในระดับที่หาเล้ียงชีพได้ทุกวันนี้ก็ต้องการวุฒิการศึกษาไม่ต่ากว่ามัธยมปลาย งานที่มีแนวโน้ม
เพมิ่ ขนึ้ ในอีก 10 ปีขา้ งหน้าตามขอ้ มูลกระทรวงแรงงานสหรฐั อเมริกา

นักเรียนส่วนมากปรารถนาจะเรียนต่อในระดับวิทยาลัยก็เพราะตระหนักในเร่ืองดังกล่าว อันท่ีจริง
กระทรวงแรงงานที่จบการศึกษาระดับสูงก็เพ่ิมข้ึนอย่างมีนัยยะสาคัญ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 มีความสาคัญ
เทา่ เทียมกันในการเปลี่ยนผา่ นสู่ระดับวทิ ยาลยั และหลกั สูตรฝึกงานอยา่ งมีประสิทธผิ ล

ประการสุดท้าย กรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 อธิบายทักษะหลายอย่างท่ีเป็น
ของใหม่ อย่างน้อยก็ในแวดวงการศึกษา ได้แก่ ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรมความยืดหยุ่นและ
ความสามารถในการปรับตวั ความเป็นผู้นา และทกั ษะการเรยี นรู้ข้ามวัฒนธรรม ซึ่งล้วนจาเป็นสาหรับนักเรียน
ทุกคนทกั ษะเหลา่ น้ีทาให้บางคนโดดเด่นกวา่ คนอ่ืน

ดว้ ยเหตนุ ้ีในระบบการศึกษาของศตวรรษท่ี 21 ความแข็งแกร่งจงึ หมายถงึ ความเปน็ เลศิ ในเน้ือหาและ
ทักษะควบคู่กัน กรอบความคิดนี้เห็นว่าระบบสนับสนุนการศึกษาโดยเฉพาะประสบการณ์ในการเรียนรู้ทาง
วิชาชีพเป็นส่ิงสาคัญ

วสิ ัยทัศน์สาหรับการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ต้ังอยู่บนความจริงท่ีว่า ถา้ อยากให้นักเรียนมีทักษะแห่ง
ศตวรรษใหม่ ก็ตอ้ งมีระบบการศึกษาท่สี อดคล้องกับเปา้ หมายนี้

อาจดูเหมือนเป็นความปรารถนาอันยิ่งใหญ่ แต่มีหลักฐานท่ีบ่งบอกว่ารัฐต่างๆได้เตรียมความพร้อม
โดยสมัครใจท่ีจะทาสิ่งน้ีให้สาเร็จก่อนเดือนตุลาคมปี 2009 รัฐ 14 รัฐ ให้คามั่นว่าจะปรับเปล่ียนมาตรฐาน
และเคร่ืองมือประเมินหลักสูตรและวิธีการสอน การพัฒนาทางวิชาชีพและสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ เพื่ อ
สนับสนนุ ใหเ้ กิดผลลพั ธ์ตามเปา้ หมายของทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 รัฐและเขตการศึกษาท่คี ืบหน้าไปมาก ได้ใช้
แนวทางแบบองค์รวมและทาเป็นระบบโดยสามารถอธิบายทกั ษะที่เห็นคุณค่าและจัดระบบต่าง ๆ ของทกุ ภาค
ส่วนให้สอดคลอ้ งไปในทศิ ทางดงั กลา่ ว

19

กรอบแนวคดิ เพ่ือการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 (21st Century Learning Framework)

กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 เป็นท่ียอมรับในการสร้างทักษะการ
เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซ่ึงเป็นที่ยอมรับ
อย่างกว้างขวางเนื่องด้วยเป็นกรอบแนวคิดที่เน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน (Student Outcomes) ท้ังในด้าน
ความรู้สาระวิชาหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่จะช่วยผู้เรียนได้เตรียมความพร้อมใน
หลากหลายด้าน รวมทั้งระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตรและการเรียน
การสอน การพฒั นาครู สภาพแวดล้อมทเ่ี หมาะสมต่อการเรียนในศตวรรษท่ี 21

การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21”
(21st Century Skills) ซ่ึงครูจะเป็นผู้สอนไม่ได้ แต่ต้องให้นกั เรียนเป็นผู้เรียนรดู้ ้วยตนเอง โดยครูจะออกแบบ
การเรียนรู้ ฝึกฝนให้ตนเองเป็นโค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL
(Problem-Based Learning) ของนักเรียน ซ่งึ สงิ่ ท่ีเป็นตัวช่วยของครูในการจัดการเรยี นรู้คอื ชุมชนการเรียนรู้
ครูเพื่อศิษย์ (Professional Learning Communities : PLC) เกิดจากการรวมตัวกันของครูเพื่อแลกเปล่ียน
ประสบการณก์ ารทาหน้าท่ีของครแู ต่ละคนน่ันเอง

การเรยี นรูใ้ นศตวรรษที่ 21
1. ปัจจัยสนบั สนุนการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21
องค์ประกอบสาคัญและจาเป็นเพ่อื ในการเรยี นร้ขู องนักเรียนทกั ษะในศตวรรษที่ 21 คือ มาตรฐาน

ศตวรรษที่ 21 การประเมินผลหลักสูตรการเรียนการสอนการพฒั นาอาชีพและสภาพแวดล้อมการเรยี นรู้
จะต้องสอดคล้องกับระบบสนับสนุนการผลิตทก่ี ่อให้เกดิ ผลลัพธ์ในศตวรรษที่ 21 สาหรบั นักเรียนในปัจจุบัน

2. มาตรฐานศตวรรษท่ี 21
- มุ่งเน้นทกั ษะในศตวรรษที่ 21 นักเรยี นมีความรู้ในเนื้อหาและความเชี่ยวชาญ
- สรา้ งความเขา้ ใจระหว่างวิชาหลัก เช่นเดยี วกับรูปแบบสหวทิ ยาการศตวรรษที่ 21

20

- เน้นความเข้าใจอย่างลกึ ซึ้งมากกว่าความรแู้ บบผิวเผนิ
- การของมีส่วนรว่ มของนักเรียนกับ ขอ้ มลู และ เครื่องมือในโลกแหง่ ความเป็นจริงและพวกเขาจะ
พบผู้เชียวชาญในวทิ ยาลัยหรอื ในที่ทางานและ ชีวิตนกั เรียนจะเรียนรู้ไดด้ ีที่สดุ เม่ือทางานอย่างแขง็ ขัน
การแกป้ ัญหาท่ีมีความหมาย
- การมมี าตรการหลาย ๆ รปู แบบของการเรยี นรู้
3. การประเมนิ ดา้ นทักษะในศตวรรษท่ี 21
- รองรับความสมดุลของการประเมนิ รวมท้งั มีคุณภาพสงู การทดสอบมาตรฐานที่มีคณุ ภาพสงู พร้อม
กบั การประเมินผลในชั้นเรยี นทมี่ ีประสทิ ธิภาพ
- เน้นขอ้ เสนอแนะทีเ่ ป็นประโยชนใ์ นการปฏิบตั งิ านของนกั เรยี นท่ถี ูกฝงั ลงในการเรียนร้ใู น
ชีวติ ประจาวัน
- การประเมินการใชเ้ ทคโนโลยีให้มคี วามสมดลุ ความชานาญนักเรยี นซ่ึงเป็นการวัดทักษะใน
ศตวรรษที่ 21
- ชว่ ยให้การพัฒนาคุณภาพนกั เรียนนกั ศึกษาทแ่ี สดงให้เห็นการเรียนร้ทู กั ษะในศตวรรษท่ี 21
เพ่อื การศึกษาและการทางานในอนาคต
- ชว่ ยให้มาตรการการประเมินประสทิ ธิภาพระบบการศึกษาในระดบั ท่ีสูงประเมินถงึ สมรรถนะ
ของนักเรยี น

ทักษะในศตวรรษที่ 21
หลักสตู ร และการสอนในศตวรรษท่ี 21
- สอนทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งแยกกนั ในบริบทของวิชาหลักและ รูปแบบสหวทิ ยาการใน

ศตวรรษที่ 21
- มุง่ เน้นไปท่ีการให้โอกาสสาหรบั การใชท้ ักษะในศตวรรษท่ี 21 ในเน้ือหาและวิธีการตาม

ความสามารถในการเรยี นรู้
- ช่วยให้วธิ กี ารเรียนรู้นวัตกรรมที่บรู ณาการการใชเ้ ทคโนโลยีสนับสนนุ แนวทางเพม่ิ เติมในการใช้

ปญั หาเปน็ ฐาน และทักษะการคิดข้ันสูง
- สนบั สนุนใหร้ วมทรพั ยากรของชุมชน ภมู ิปญั ญาชาวบ้าน แหล่งเรียนรนู้ อกห้องเรยี น

การพฒั นาครูมืออาชีพในศตวรรษท่ี 21
- ครมู ีแนวทางการสอนมคี วามสามารถสาหรบั การบรู ณาการทกั ษะในศตวรรษท่ี 21 เครื่องมือและ

กลยุทธก์ ารเรยี นการสอนไปสู่การปฏิบตั ใิ นช้นั เรยี นของพวกเขา
- การเรยี นการสอนมทมี่ งุ่ เน้นการทาโครงงาน

21

- แสดงให้เห็นวา่ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเร่ืองจริงสามารถเพิ่มการแกป้ ญั หาการคิดเชงิ วพิ ากษ์
และอน่ื ๆ ทักษะในศตวรรษที่ 21

- ช่วยให้มอื อาชพี ในชุมชนเป็นแหล่งเรยี นรู้ สาหรับครูที่ 21 ว่ารปู แบบชนดิ ของการเรียนรใู้ น
ห้องเรียนทด่ี ีทีส่ ุดส่งเสริมทกั ษะในศตวรรษที่ 21 สาหรับนักเรียน

- การพฒั นา ความสามารถในการระบตุ วั ตนของนักเรียนโดยครมู รี ูปแบบการเรยี นโดยเฉพาะอยา่ งยิง่
ร้จู ดุ แขง็ และจุดอ่อนของผเู้ รยี น

- ช่วยให้ครพู ัฒนาความสามารถในการใช้กลยุทธ์ต่าง ๆ (เช่นการประเมนิ ผลการเรยี นการสอน)
ถึงนกั เรียนท่ีมีความหลากหลายและสร้างสภาพแวดล้อมท่ีสนบั สนนุ ความแตกตา่ งการเรียนการสอนและ
การเรยี นรู้

- รองรับการประเมนิ ผลอยา่ งต่อเน่ืองของการพัฒนาทักษะของนักเรียนศตวรรษที่ 21
- ส่งเสริมการแลกเปลยี่ นความร้รู ะหวา่ งชมุ ชนของผปู้ ฏบิ ตั งิ านโดยการหันหน้าเขา้ หากนั การสือ่ สาร
เสมือนและผสม
- ใชร้ ปู แบบความเป็นอนั หน่ึงหันเดยี วกนั และความยั่งยืนของการพัฒนาวิชาชพี

สภาพแวดลอ้ มการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21
- สร้างการเรยี นรวู้ ธิ ปี ฏบิ ตั ิท่สี นบั สนนุ ความตอ้ งการของมนษุ ยแ์ ละสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพท่ีจะ

สนบั สนุนการเรียนการสอนและการเรยี นรดู้ ว้ ยทักษะในศตวรรษที่ 21
- สนับสนนุ การเรยี นรชู้ ุมชนมอื อาชพี ทช่ี ว่ ยให้การศกึ ษาเพ่อื การทางานรว่ มกันแบ่งปันแนวทางปฏบิ ัติ

ท่ีดีและบรู ณาการทักษะในศตวรรษที่ 21 ในการปฏิบัตใิ นช้ันเรยี น
- ชว่ ยใหน้ ักเรยี นได้เรียนร้ใู นงานที่เก่ยี วข้องในโลกศตวรรษที่ 21 แวดลอ้ มจริง (เช่น ปฏิบตั จิ ริงหรอื

ผ่านการทางานท่ีใชต้ ามโครงการหรืออ่ืน ๆ )
- เรียนรกู้ ารใชเ้ ครื่องมือเทคโนโลยแี ละทรัพยากรอย่างมีคุณภาพ ร้จู กั การทางานสาหรับการเรยี นรู้

เป็นกลุ่มทีมและรายบุคคล
- สนบั สนนุ การตดิ ตอ่ กับชมุ ชนและการมสี ว่ นระหวา่ งตา่ งชาตใิ นการเรียนรโู้ ดยตรงและออนไลน์

การเตรยี มความพร้อมใหน้ กั เรียนในศตวรรษที่ 21 อาศยั การทางานอย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยการมีวสิ ยั ทศั น์
พันธกิจและเป้าหมายทีช่ ดั เจน ผู้เรียนจะตอ้ งมีความรทู้ จ่ี าเปน็ ในการใชช้ วี ิตและทางานอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
มคี วามร้แู ละทักษะเพ่ือให้สามารถการใชช้ ีวติ การทางาน ดารงชพี อยู่ไดก้ บั ภาวะเศรษฐกจิ ในสังคมโลกปจั จบุ ัน

การเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21
การให้การศึกษาสาหรับศตวรรษท่ี 21 จะมีความยืดหยุ่น สร้างสรรค์ ท้าทาย และซับซ้อน เป็น

การศึกษาที่จะทาให้โลกเกิดการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วอย่างเต็มไปด้วยสิ่งท้าทาย และปัญหา รวมทั้ง
โอกาสและส่ิงที่เป็นไปได้ใหม่ๆ ที่น่าต่ืนเต้น โรงเรียนในศตวรรษที่ 21 จะเป็นโรงเรียนท่ีมีหลักสูตรแบบยึด

22

โครงงานเป็นฐาน (project -based curriculum) เป็นหลักสูตรที่ให้นักเรียนเก่ียวข้องกับปัญหาในโลกท่ีเป็น
จรงิ เปน็ ประเด็นท่ีเกย่ี วข้องกบั ความเปน็ มนษุ ย์ และคาถามเกย่ี วกับอนาคตเชิงวัฒนธรรม สงั คม และสากล

ภาพของโรงเรียนจะเปลี่ยนจากการเป็นส่ิงก่อสร้างเป็นภาพของการเป็นศูนย์รวมประสาท (nerve
centers) ที่ไม่จากัดอยู่แต่ในห้องเรียน แต่จะเช่ือมโยงครู นักเรียนและชุมชน เข้าสู่ขุมคลังแห่งความรู้ท่ัวโลก
ครูเองจะเปลี่ยนจากการเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ไปเป็นผู้สนับสนุนช่วยเหลือให้นักเรียนสามารถเปลี่ยน
สารสนเทศเป็นความรู้ และนาความรู้เป็นเคร่ืองมือสู่การปฏิบัติและให้เป็นประโยชน์ เป็นการเรียนรู้เพ่ือสร้าง
ความรู้ และตอ้ งมีการสร้างวฒั นธรรมการสืบค้น (create a culture of inquiry)

ในศตวรรษที่ 21 การให้การศึกษาตามทฤษฎีการเรียนรู้ของบลูม (Bloom´s Taxonomy of
Learning) จะเปล่ียนไป เน้นทักษะการเรียนรู้ข้ันท่ีสูงขึ้น (higher order learning skills) โดยเฉพาะทักษะ
การประเมินค่า (evaluating skills) จะถูกแทนที่โดยทักษะการนาเอาความรู้ใหม่ไปใช้อย่างสร้างสรรค์
(ability to use new knowledge in a creative way) ในอดีตท่ีผ่านมา นักเรียนไปโรงเรียนเพ่ือใช้เวลาใน
การเรียนรายวิชาต่างๆ เพ่ือรับเกรด และเพ่ือให้จบการศึกษา แต่ในปัจจุบันจะพบปรากฏการณ์ใหม่ท่ีแตกต่าง
ไป เช่น การเรียนการสอนท่ีช่วยให้นักเรียนได้เตรียมตัวเพ่ือใช้ชีวิตในโลกที่เป็นจริง (life in the real world)
เนน้ การศึกษาตลอดชีวติ (lifelong learning) ด้วยวิธีการสอนท่ีมีความยืดหยุน่ (flexible in how we teach)
มีการกระตุ้นและจูงใจให้ผู้เรียนมีความเป็นคนเจ้าความคิดเจ้าปัญญา (resourceful) ที่ยังคงแสวงหาการ
เรียนรู้แมจ้ ะจบการศกึ ษาออกไป

การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21

โลกในยุคศตวรรษท่ี 21 เป็นยุคท่ีความรู้และข้อมูลข่าวสารมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยเฉพาะ
ทางด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ เน่อื งมาจากการใช้เทคโนโลยีเพื่อเช่ือมโยงข้อมูลต่างๆ ของทุกภูมภิ าคของโลก
เข้าด้วยกัน ทาให้ เกิดเคร่อื งมือที่หลากหลายในการเข้าถึงองค์ความร้ตู ่างๆ ทั้งในเชิงวิชาการและในเชิงบันเทิง
การพัฒนาเคร่ืองมือการ เข้าถึงเน้ือหาดังกล่าว ส่งผลให้เยาวชนท่ีอยู่ในวัยศึกษาเล่าเรียนเปลี่ยนแปลงวิธีการ
ดาเนินชีวติและการเรียนในแต่ละวัน ซ่ึงแตกต่างไปจากเยาวชนในยุคก่อนอย่างมากซึ่งจะเห็นได้ว่าการพัฒนา
ประเทศสู่ความสมดุลและยัง่ ยืนจะตอ้ งให้ความสาคญั กบั การพฒั นาคนในประเทศใหเ้ ข้มแข็งพร้อมรับกบั การ
เปลี่ยนแปลงของโลกในยคุ ศตวรรษที่ 21 การศกึ ษาจึงจาเป็นต้องมี การเปลย่ี นแปลงตามไปดว้ ย

วิจารณ์ พานิช (2555, น.11) ได้กล่าวถึงความสาคัญโดยสรุปไว้ว่า การศึกษาในศตวรรษท่ี 21
เป็นการเตรียมคนไปเผชิญการเปล่ียนแปลงที่รวดเร็ว รุนแรง พลิกผัน และคาดไม่ถึง ซึ่งคนยุคใหม่จึงต้องมี
ทักษะท่ีสูงในการเรียนรู้และปรับตัว ครูเพื่อศิษย์ต้องพัฒนาตนเองให้มีทักษะของการเรียนรู้ด้วย และใน
ขณะเดียวกันต้องมีทักษะในการทาหน้าท่ีครูในศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงไม่เหมือนการทาหน้าที่ครูในศตวรรษที่ 20
หรอื 19

23

มัญชรี ศรีวิชัย ( 2559, น.8) การเรียนรู้เป็นกิจกรรมทางสังคม ขึ้นอยู่กับบริบทหรือสภาพแวดล้อม
ห้องเรียนไม่ใช่บริบทที่จะทาให้เกิดการเรียนรูใ้ นเชิงลึก เพราะไม่มีสภาพเหมือนกับชีวิตจริง นักเรียนแต่ละคน
จะมีสติปัญญา ความสามารถ และความถนัดท่ีแตกต่างกันออกไป จึงจาเป็นท่ีจะต้องใช้รูปแบบการเรียนรู้ที่
ยืดหยุ่นแตกต่างกันออกไป การเรียนในศตวรรษท่ี 21 ครูจะเป็นเพียงผู้ออกแบบและอานวยความสะดวกใน
การเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติจริง เพ่ือให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านการต้ังคาถามและเป็น
แนวทางในการเข้าถึงการศึกษาค้นคว้าอันเป็นกระบวนการท่ีจะทาให้ได้มาซ่ึงคาตอบเพื่อให้ได้มาซึ่งทักษะแห่ง
ศตวรรษท่ี 21

ความสาคัญของครแู ห่งศตวรรษที่ 21
ครูนบั เป็นปัจจัยหลักในการส่งเสริมและสนับสนุนให้ผูเ้ รยี นมีทกั ษะที่จาเป็นในศตวรรษที่ 21 เมอื่ ครู

อยากให้ศษิ ย์มคี วามรู้ความชานาญในดา้ นทักษะใด ตวั ครูเองนัน้ จาเป็นอย่างยิ่งทีต่ ้องรแู้ ละเข้าใจในสิง่ นัน้ อย่าง
ถอ่ งแท้ เพ่ือทจ่ี ะสามารถถ่ายทอดสง่ิ นั้นได้ แต่เนื่องด้วยปจั จบุ ันยงั พบปญั หาทเี่ กิดกบั ตวั ครพู อสมควร ซึ่ง
ปัญหาดังกลา่ วกจ็ ะสง่ ผลกระทบต่อตนเองและสงั คมดว้ ย (ไพฑูรย์ สนิ ลารตั น์, 2556)

บทบาทของครไู ทยในศตวรรษที่ 21
ในศตวรรษที่ 21 ประเทศไทยจ าเป็นต้องค้นหายุทธศาสตร์ใหม่ในการพัฒนาระบบการศึกษา ดังที่

ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช กล่าวว่า "การศึกษาท่ีถูกต้องสาหรับศตวรรษใหม่ต้องเรียนให้บรรลุ ทักษะ คือทาได้ต้อง
เรียนเลย จากรู้วิชาไปสู่ทักษะในการใช้วิชาเพื่อการดารงชีวิตในโลกแห่งความเป็นจริง การเรียนจึงต้องเน้น
เรียนโดยการลงมือทา หรือการฝึกฝนน่ันเอง และคนเราต้องฝกึ ฝนทักษะต่างๆ ท่ีจาเป็นตลอดชีวิต” เครือ่ งมือ
เสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จึงเป็นเครื่องมือสาคัญในการยกระดับ การเรียนรู้ร่วมกันของท้ังผู้บริหาร
การศึกษาครแู ละผู้เรียนบนฐานคิด“กระบวนการเรียนรู้สาคัญกว่า ความรู้”และ“กระบวนการหาคาตอบสาคัญ
กว่าคาตอบ”โดยใช้ฐานคิด“ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21” (21st Century skills) เพื่อรองรับความท้าทายและ
การเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ท่ีจะเกิดขึ้นกับประเทศไทยใน ศตวรรษที่21 การยกระดับ ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา
และส่งเสริมการผลิตกาลังคนที่มีขีดความสามารถ ในการแข่งขันในเวทีเศรษฐกิจโลกในศตวรรษท่ี 21 โดยอยู่
บนพ้ืนฐานความเป็นไทยและฐานคิดปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้เข้าใจตัวตนความเป็นไทยอย่างเข้มแข็ง
ก่อนเข้าสู่เวทีโลกประชาคมอาเซียนอย่าง ยั่งยืน ดังน้ันการสร้างเคร่ืองมือเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21
จึงได้ถูกสร้างขึ้นผ่านฐานปรัชญา ความคิดและกระบวนการทางการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กไทยให้
บรรลุ“ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” (21st Century skills) ที่เน้นทักษะการใช้ชีวิตและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ซึ่งจะมีครูมีบทบาทหน้าที่ เป็นผู้แนะนาและทาโครงการการเรียนรู้ร่วมกันกับเด็กซ่ึงเด็กจะได้ทั้งความ

24

สนุกสนานและแนวทางการคิดและสร้างองค์ความรู้ร่วมทั้งนวัตกรรมต่าง ๆ จากความคิดที่เปิดกว้างจากครูท่ี
เป็นผู้เปิดโลกทัศน์นั้น ให้เด็ก เพราะเคร่ืองมือเป็นเพียงตัวช่วยนาทางให้ครูเท่าน้ัน แต่ “ความสาเร็จในการ
เรียนรู้ ไม่ได้อยู่ที่เครื่องมือ หากอยู่ที่การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สร้างสรรค์องค์ความรู้ด้วยตนเอง”ครูเป็นผู้มี
บทบาทสาคัญในการปลูกฝังทั้งวิชาความรู้ และความประพฤติแก่เด็กและเยาวชน ดังนั้นครูจึงเป็นบุคคลที่
สาคัญท่ีจะทาให้เด็กไทยของเราอ่านออก เขียนได้ และครูเป็นผู้สร้างพัฒนาการให้เด็กมีความรู้ ความสามารถ
อย่างมีมิติครบทุกส่วน โดยผ่านทางด้านวิชาการคือการเรียนการสอนวิชาการต่าง ๆ ทางด้านร่างกายต้องมี
สุขภาพแขง็ แรงด้วยวิชาพลศึกษา สุขศึกษา ทางด้านอารมณ์ คือการกล่อมเกลาดว้ ยวิชาศิลปศกึ ษา นาฏศลิ ป์
ดนตรี และในสว่ นทางด้านสังคมน้ันครูต้องสอนให้เด็กเปน็ สว่ นหน่ึงของสงั คม รจู้ กั ประโยชนส์ ่วนตน ประโยชน์
ส่วนรวม รู้จักบาเพ็ญประโยชน์ด้านการสอนวิชาลูกเสือ เนตรนารี รวมทั้งรู้จักความเสียสละ อดทนด้วยวิชา
ทหาร ซงึ่ วชิ าดงั กล่าวจะพฒั นาให้เยาวชนมคี วามรอู้ ยา่ งสมบรู ณ์ในทุกดา้ น

จากคาแถลงนโยบายของคณะรบั มนตรี ซึ่งมีพลเอกประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา เป็น นายกรัฐมนตรี ได้แถลง
ต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เร่ือง นโยบายด้านการศึกษาและการ เรียนรู้ การทะนุบารุงศาสนา ศิลปะ
และวัฒนธรรมท่ีให้ความสาคัญกับครู ในข้อท่ี 4.6 ว่าจะพัฒนาระบบการผลิต และพัฒนาครูท่ีมีคุณภาพ และ
จิตวิญญาณของความเป็นครู เน้นครูผู้สอน ให้มีคุณวุฒิตรงตามวิชาที่สอน และสามารถนาเทคโนโลยี
สารสนเทศ เคร่ืองมือที่เหมาะสมมาใช้ ในการเรียนการสอน เพื่อเป็นเครื่องมือช่วยครู หรือเพื่อเรียนรู้ด้วย
ตนเอง เช่น การเรียนทางไกล การเรียนโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี,2557)
ประกอบ กับร่าง แผน ปฏิ บัติการห รือ Roadmap การปฏิ รูปการศึกษ า พ .ศ.2558 – 2564 ของ
กระทรวงศึกษาธิการ จานวน 6 ด้าน คือ 1. การปฏิรูปครู 2. การกระจายโอกาสและคุณภาพการศึกษาอย่าง
ท่ัวถึงและเท่าเทียม 3. ปฏิรูปการบริหารจัดการ 4. ปรับระบบการผลิตและพัฒนากาลังคน เพิ่มศักยภาพการ
แข่งขนั 5. ปฏริ ูปการเรยี นรู้ 6. การปรบั ระบบการใชเ้ ทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา

25

ตวั อยา่ งงานวิจัย การจัดการเรยี นรู้ภาษาไทยในศตวรรษที่ 21
วธิ ีวทิ ยาการการจดั การเรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้บันได 5 ข้ัน ของการพัฒนาผเู้ รียน

สูม่ าตรฐานสากล ในศตวรรษที่ 21 (Five Steps for Student Development) โดย
อาจารย์วฒุ ิพงษ์ คาเนตร สาขาภาษาไทย คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชียงราย

ปัจจุบันในประเทศและสังคมโลกทมี่ ีการพัฒนากา้ วไกลแล้วไมว่ า่ จะเปน็ ด้านความเจรญิ ทางเทคโนโลยี
การคมนาคม หรือการขนส่งต่าง ๆนั้น ล้วนแล้วแต่เป็นปัจจัยเก้ือหนุนทาให้เกิดความเปล่ียนแปลงในสังคม
มนุษย์ได้ แม้กระท่ังการศึกษาในยคุ ปัจจุบันกไ็ ดม้ ีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัยอยู่ตลอดเวลาตามวิถีทาง
สงั คมมนุษย์และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท่ีไร้ขีดจากดั การศึกษาไทย แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงตามยุค
ตามสมัย และวิถีความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก โดยเฉพาะประเทศที่มีการพัฒนาแล้วก็ตาม หลักสูตรและ
วิธกี ารจดั การเรียนร้ใู หม่ ๆ ยังไมส่ ามารถบ่งชใี้ ห้ครูผสู้ อนเห็นวา่ ผูเ้ รียนเกิดความเปล่ียนแปลงในการเรียนรู้และ
ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้สูงขึ้นท้ังหมดท่ัวประเทศได้ ซึ่งขณะเดียวกันครูผู้สอนก็ได้พยายามอย่าง
เต็มท่ีเพ่ือหาวิธีท่ีจะทาให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม และนามาเพ่ือการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ให้สูงขน้ึ

สาหรับการสอนภาษาไทยน้ัน ไม่ว่าสงั คมโลกจะเปลย่ี นแปลงไปในทิศทางอยา่ งไรก็ตาม กระบวนการ
ในการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาภาษาไทยกย็ ังคงมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะที่จาเป็นในด้านของการส่ือสาร การ
ฟัง พูด อ่าน เขียน ให้มีประสิทธิภาพ โดยท้ังหมดจะต้องให้ผู้เรียนสามารถเข้าใจหลักภาษาและวรรณคดีไทย
อย่างเห็นคุณค่า ในฐานะท่ีเป็นมรดกทางวัฒนธรรม โดยครูผู้สอนจาเป็นที่จะต้องหาเทคนิควิธีเพ่ื อจะให้
นักเรียนได้เกิดความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาวิชามากยิ่งขึ้น ซึ่งผู้เขียนจะได้นาเสนอรูปแบบและวิธีการจัดการ
เรียนร้ภู าษาไทยในสาระการเรยี นรู้ต่างๆ โดยใช้บนั ได 5 ข้นั ของการพัฒนาผู้เรียนสู่มาตรฐานสากลในศตวรรษ
ที่ 21 ดังต่อไปน้ี

การพัฒนาผู้เรยี นสู่มาตรฐานสากลในศตวรรษท่ี 21 น้นั หมายความวา่ เป็นวธิ ที ่ีครูผ้สู อนภาษาไทย
จะต้องสามารถบูรณาการ จัดการเรียนการสอน โดยมุ่งเน้นการเสริมสร้างความรู้ ความสามารถของผู้เรียน
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนในศตวรรษท่ี ๒๑ ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน 2551 ให้
สอดคล้องกับปฏิญญาว่าด้วยการจัดการศึกษาของ UNESCO ประการแรก คือการเรียนเพื่อให้มีความรู้ในสิ่ง
ต่าง ๆ อันจะเป็นประโยชน์ต่อไป เช่น การรู้จักแสวงหาความรู้ การต่อยอดความรู้ท่ีมีอยู่ การสร้างความรู้ข้ึน
ใหม่ (Learning to know) ประการที่สอง คือการเรียนเพ่ือปฏิบัติลงมือทา นาไปสู่การประกอบอาชีพจาก
ความรู้ที่ได้มา และการสร้างประโยชน์แก่สังคม (Learning to do) ประการท่ีสาม คือการเรียนรู้เพ่ือการ
ดาเนินชีวิตอยู่ร่วมกับคนอ่ืนได้อย่างมีความสุข เช่น การเรียน ครอบครัว สังคมและการทางาน (Learning to
live together ) ประการสุดท้าย คือ การเรียนรู้เพ่ือรู้จักตนเองอย่างถ่องแท้ รู้ถึงศักยภาพ ความถนัดและ
ความสนใจของตนเอง และสามารถวางแผนชีวติ ใหแ้ ก่ตนเองได้ (Learning to be)

26

บันได 5 ข้ัน ของการพัฒนาผู้เรียนสู่มาตรฐานสากลในศตวรรษท่ี 21 (Five Steps for Student
Development) คือการจัดการเรียนการสอนเพ่ือให้ผู้เรียนมีศักยภาพ และคุณลักษณะตามมาตรฐานสากล
โดยจะต้องเป็นบุคคลที่มีคุณภาพ มีทักษะในการค้นคว้า แสวงหาความรู้และมีความรู้พ้ืนฐานที่จาเป็น โดย
ครูผู้สอนจะต้องพยายามจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และเข้าถึงองค์ความรู้ด้วยตนเองไ ด้
(Constructivism) ซ่ึงบันได 5 ขั้นของการพัฒนาผู้เรียนสู่มาตรฐานสากล ยังสามารถท่ีจะนามาใช้ในการ
บูรณาการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาภาษาไทยได้ ซึ่งมีขั้นตอนของบันได ๕ ขั้น สู่วิธีการและการจัดการเรียนรู้
ในบรบิ ทและขน้ั ตอนตอ่ ไปน้ี

1. ข้ันการต้ังคาถาม/สมมติฐาน (Learning to Question) เป็นข้ันตอนที่ครูผู้สอนจะต้องฝึกให้
ผเู้ รยี นไดร้ ้จู กั คิด สังเกต ตง้ั คาถาม และเกิดการเรยี นรจู้ ากการตง้ั คาถาม

2. ข้ันการสืบค้นความรู้และสารสนเทศ (Learning to Search) ครูผู้สอนจะต้องฝึกให้ผู้เรียน
แสวงหาความรู้ สืบค้นข้อมูล จากแหล่งข้อมูลและสารสนเทศต่าง ๆ จากการฝึกปฏิบัติและการทดลอง
ตลอดจนการเก็บข้อมลู เปน็ ต้น

3. ข้ันการสร้างความรู้ (Learning to Construct) เป็นสิ่งสาคัญเช่นเดียวกันที่ครูผู้สอนจะต้องฝึก
ใหผ้ เู้ รียนนาความรู้จากการศกึ ษาค้นคว้า การทดลอง มาใช้ในการถกแถลง แสดงความคิดเห็น อภิปรายความรู้
ร่วมกนั เพ่ือนาไปสูก่ ารสรุปและสร้างองคค์ วามรู้

4. ข้ันการส่ือสารและนาเสนออย่างมีประสิทธิภาพ(Learning to Communication) เป็นการฝึก
ใหผ้ ู้เรยี นนาความร้ทู ีไ่ ดม้ าส่อื สารอย่างมปี ระสิทธิภาพ เช่น การพดู การอา่ น การเขียน หนา้ ชน้ั

5. ข้ันการบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Learning to Serve) คือการที่ครูผู้สอนจะต้องฝึกให้
ผู้เรียนนาความรู้มาสู่การปฏิบัติ สามารถเชื่อมโยงความรู้ไปสู่การทาประโยชน์ให้กับสังคม อันจะส่งผลต่อการ
มจี ติ สาธารณะของผเู้ รยี นและการบรกิ ารสงั คม

จากข้างตน้ เป็นเพียงขน้ั ตอนและบนั ไดท่ีครูผูส้ อนภาษาไทยจะต้องสามารถนามาใชใ้ นการบูรณาการ
การจัดการเรียนรใู้ นรายวชิ า เพ่ือส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนได้องคค์ วามรูจ้ ากการสังเกตและตัง้ คาถาม ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียน
สามารถสบื ค้นข้อมลู และรู้จักวิธกี ารแสวงหาความรู้ ส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนสามารถสร้างองค์ความรู้และนาความรู้ที่
ได้มาถกปัญหา แสดงความรู้ความคิด อันนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้และมุมมองที่หลากหลาย ส่งเสริมให้
ผู้เรียนสามารถนาความรู้ที่ได้มาใช้ในการส่ือสารด้วยวิธีต่างๆ ตลอดจนส่งเสรมิ ให้ผู้เรยี นสามารถเช่ือมโยงองค์
ความรู้ทม่ี อี ย่มู าใช้ในการสรา้ งประโยชน์แกส่ ังคมโดยมีจติ สาธารณะควบคูก่ ับการจัดการเรียนการสอน

อยา่ งไรกต็ าม แมว้ า่ ทฤษฎีและขัน้ ตอนจะกลา่ วไว้อย่างชดั เจนก็ตาม สิง่ ทจี่ ะนามาส่ปู ระโยชนส์ ูงสุดต่อ
ผู้เรียนได้น้ัน คงหนีไม่พ้นกระบวนการปรับเปลี่ยนวิธีสอนของครูควบคู่กับการหลอมรวมพฤติกรรมการเรียนรู้
ของผู้เรียนให้เกิดความเปล่ียนแปลงไปในทิศทางของหลักการ ซ่ึงครูผู้สอนอาจยุ่งยากต่อการเปลีย่ นแปลงและ
ปฏิบัติในส่ิงใหม่ ๆ แต่ก็ไม่ลาบากมากจนเกินไปหากครูผู้สอนภาษาไทยยอมรับและมีความมุ่งมั่นท่ีจะ
เปลีย่ นแปลงวธิ ีการสอนของตน

27

วิธวี ิทยาการการจดั การเรยี นร้ภู าษาไทยโดยใช้บนั ได ๕ ขั้น ของการพัฒนาผเู้ รียนสมู่ าตรฐานสากลใน
ศตวรรษท่ี ๒๑ (Five Steps for Student Development) เป็นแนวทางของวิธีสอนท่ีมีความสมั พนั ธ์กันอยา่ ง
ลงตวั กับทฤษฏีการสรา้ งสรรค์ความรู้ (Constructivism) โดยการสง่ เสริมให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงกระบวนการ
เรียนรู้ และสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง อันมาจากข้อสงสัยและการตั้งคาถามเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้
และการหาคาตอบ ทั้งน้ีครูผู้สอนเป็นเพียงผู้ทาหน้าท่ีจัดประสบการณ์ในการเรียนรู้ คอยกระตุ้น
ประคับประคอง ให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่างใกล้ชิด แต่อย่างไรก็ตามเพ่ือให้เกิดความทันสมัยและความ
เปล่ียนแปลงสังคมโลก ผู้เขียนจึงขอยกตวั อยา่ งนาเสนอแนวทางวิธีวิทยาการการจัดการเรยี นร้ภู าษาไทยโดยใช้
บนั ได 5 ขนั้ ของการพัฒนาผ้เู รยี นสมู่ าตรฐานสากลบางสาระดงั นี้

การสอนหลกั ภาษาไทย
จากประสบการณ์ตรงท่ผี ูเ้ ขยี นไดส้ อนนักเรียนระดับช้นั ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษาเปน็ เวลานบั สิบปี

จะเห็นได้ว่าการสอนหลักภาษาไทย เป็นเร่ืองที่คอ่ นขา้ งยุ่งยากสาหรับครูผสู้ อนและผู้เรยี นมาก อาจเป็นเพราะ
เน้ือหาที่คอ่ นข้างยาก ซับซอ้ น มีกฎเกณฑ์ที่เข้าใจยาก ซงึ่ บ่อยคร้ังจะเห็นว่าผู้เรยี นไม่คอ่ ยสนใจเรยี นรู้เท่าท่ีควร
พอถึงชั่วโมงที่จะต้องสอนหลักภาษาไทย จาเป็นมากที่จะต้องหาวิธีการที่หลากหลายเพ่ือดึงดูดความสนใจ
ผู้เรียน

วิธีการสอนหลักภาษาไทยที่เหมาะสมน้ัน จาเป็นมากที่ครูจะต้องปลูกฝังให้ผู้เรียนเห็นคุณประโยชน์
จากการเรียนหลักภาษา สอนให้ผูเ้ รียนได้ทราบกฎเกณฑ์ทางภาษาเฉพาะท่ีจาเป็น เชน่ ประโยคและโครงสร้าง
ของประโยคในภาษาไทย คาและหน้าท่ีของคาในภาษาไทย รูปลักษณ์คาไทย เป็นต้น เพื่อให้ผู้เรียนได้นา
ความรู้เหล่าน้ันไปใช้ในการสื่อสาร ฟัง พูด อ่าน เขียน โดยให้หลักภาษาไทยได้เกิดความสัมพันธ์กับการใช้
ภาษาไทย ครูจะต้องสอนหลักภาษาไทยโดยการฝึกทักษะท้ังสี่ให้แก่ผู้เรียนในชั้นเรียนโดยให้มีการซักถาม
พูดอธิบาย แลกเปล่ียนความรู้ ความคิด ต่อประเด็นของเน้ือหาหลักภาษาไทยที่ครูกาลังสอน ซึ่งครูสามารถ
นาบันได ๕ ขั้นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน นาข้ันตอนท้ัง 5 ข้ันมากาหนดกิจกรรมลงสู่แผนการ
จดั การเรยี นรู้ และนาแผนการจัดการเรียนร้ไู ปใช้ และสร้างประสบการณใ์ หแ้ กผ่ ู้เรียนตามข้ันตอนคอื

ข้ันแรก ครูคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนมีการต้ังคาถาม ให้รู้จักการสังเกต ในประเด็นและกฎเกณฑ์ของหลัก
ภาษาไทย จากน้ันครูและนักเรียนช่วยกันเลือกประเด็นคาถามท่ีมีประโยชน์ต่อการเรียนรู้มาใช้เป็นประเด็นใน
การค้นควา้ หาคาตอบร่วมกัน ยกตัวอย่างการสอนเรื่องภาษาต่างประเทศในภาษาไทย อาจกระตุ้นให้ผูเ้ รยี นได้
เกดิ ข้อคาถาม ซง่ึ ข้อคาถามของผู้เรียนอาจถามวา่ ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย มีภาษาอะไรบา้ ง ? วิธสี ังเกต
ภาษาต่างประเทศแต่ละภาษามีวิธีการสังเกตอย่างไร ? เพราะเหตุใดภาษาไทยจึงต้องมีภาษาต่างประเทศเข้า
มาปะปนในภาษาไทย ? ซง่ึ คาถามของผู้เรยี นท้ังหมดน้ีจะนาไปสู่การค้นหาคาตอบในข้ันทีส่ อง

28

ข้ันที่สอง คือ การสืบค้นความรู้และสารสนเทศ ซึ่งครูจะต้องมีบทบาทในการแนะนาแหล่งวิทยาการ
ต่าง ๆ ให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง โดยนาเอาข้อคาถามต่าง ๆ ที่เป็นประเด็นในช้ันเรียน
มาสืบค้นหาข้อมูล ครูจะตอ้ งทาหนา้ ท่ีประคับประคองให้ผู้เรียนได้เกดิ การเรียนรู้อยา่ งเหมาะสม เพ่ือให้ผู้เรียน
สามารถนาเอาขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการค้นคว้ามาจัดกจิ กรรมในชน้ั เรยี นอีกคร้ังหนงึ่ ในข้นั ทสี่ าม

ขั้นที่สาม คือ การสร้างองค์ความรู้ โดยให้ผู้เรียนนาเอาข้อมูลความร้ทู ่ีได้มานั้นมานาเสนอและช่วยกัน
อภิปรายเพิ่มเติม เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีการถกประเด็นร่วมกัน เช่น เพราะเหตุใดภาษาไทยจึงต้องม
ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย ? ประเด็นคาตอบของผู้เรียนแต่ละคนนั้นอาจมีความแตกต่างกัน
ซ่ึงขึ้นอยู่กับประสบการณ์และการเรียนรู้เป็นสาคัญ โดยครูจะต้องคอยกระตุ้นให้ผู้เรียนแต่ละคนได้อภิปราย
ความรมู้ ีการวพิ ากษว์ จิ ารณ์ความรู้ ที่ได้มารว่ มกันเพ่อื เป็นการสรปุ และสร้างองค์ความรู้ จากนัน้ ในขน้ั ทสี่ ี่

ข้นั ทสี่ ี่ เป็นการสือ่ สารและนาเสนออย่างมีประสทิ ธิภาพ เป็นขั้นตอนท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีการนาเอา
ความรู้จากการค้นคว้าด้วยตนเองมาใช้ในกระบวนการของการส่ือสารในรูปแบบ ต่าง ๆ เช่น กาหนดให้ผู้เรียน
นาเนื้อหาสาระท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้ามาใช้ในการสื่อสาร เช่น เขียนสื่อสารความรู้ในรูปแบบการเขียน
เรียงความ การเขียนบทความ การเขียนวิเคราะห์วิจารณ์ ตลอดจนการพูดหน้าชั้นเรียนในรูปแบบต่าง ๆ
อาจเป็นการพูดนาเสนอข้อมูล การพูดวิเคราะห์วิจารณ์และการพูดแสดงความคิดเห็น ซึ่งการนาเสนอทักษะ
การสื่อสารด้วยการพูด หากจะให้เกิดรูปธรรมและชิ้นงานของผู้เรียน ครูอาจกาหนดให้ผู้เรียนได้อัดคลิปวีดีโอ
มาส่ง โดยใช้เครื่องมือส่ือสารในชีวิตประจาวันท่ีผู้เรียนมีอยู่หรือหาได้ง่าย ๆ เช่นโทรศัพท์มือถือ หรือกล้อง
ดิจิตอล เป็นต้น ซ่ึงกิจกรรมในช้ันเรียนลักษณะน้ีจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการต่ืนตัว สนใจในวิธีการนาเสนอและ
การส่ือสารรูปแบบต่าง ๆ ได้

ขั้นที่ห้า เป็นข้ันของการบริการสังคมและจิตสาธารณะ หลังจากท่ีผู้เรียนได้มีการส่ือสารด้วยวิธีต่าง ๆ
แล้ว ข้อมูลความรู้ที่ผู้เรียนได้มีการสื่อสารโดยการบันทึกไว้ในลักษณะต่าง ๆ ในขั้นที่ส่ี เช่นคลิปวีดีโอการพูด
ส่ือสารลักษณะต่าง ๆ เรียงความ บทความ เกี่ยวกับภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ท่ีเป็นผลงานนักเรียน
ครูอาจจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้มีการเผยแพร่องค์ความรู้ ส่งเสริมให้ผู้เรียนตระหนักและเห็นคุณค่าในผลงาน
ของตน แล้วนาผลงานของตนมาเผยแพร่ในกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การจัดนิทรรศการผลงานคลิปวิดีโอ งานเขียน
เพื่อเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้แกค่ นอนื่ ในโรงเรยี น เปน็ ตน้

การสอนวรรณคดไี ทย
แมว้ า่ ครูผู้สอนจะสอนวรรณคดไี ทยในระดบั ชั้นประถมศึกษาหรอื มัธยมศึกษากต็ าม การเรียนการสอน

วรรณคดีไทยยังคงประสบปญั หาหลายอยา่ ง เช่น ผเู้ รียนไมเ่ ห็นคุณค่าของวรรณคดีไทยอย่างแทจ้ ริง ครูมักจะ
มงุ่ เนน้ ในการสอนคาศัพทแ์ ละเนอ้ื หาของวรรณคดมี ากกว่าการพฒั นาความคิดของผูเ้ รยี น ใหร้ จู้ กั สังเกต
แยกแยะ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ ฉะน้นั เพอ่ื ให้การสอนวรรณคดีเป็นไปตามหลักการท่ีเหมาะสม ครจู ะต้องสอน
เน้ือหาวรรณคดใี ห้มคี วามสัมพนั ธก์ ับชวี ติ ประจาวันของผูเ้ รียน ให้ผ้เู รยี นเกิดประสบการณ์จากการเรยี นรู้
สามารถดึงแง่คิด วิเคราะหว์ ิจารณ์สงั คม ตวั ละครได้อย่างมีเหตมุ ีผล และมีวิจารณญาณได้ นอกจากน้ีครจู ะต้อง

29

สามารถสอนวรรณคดีในฐานะเปน็ มรดกทางวัฒนธรรมได้ จะต้องสอนวรรณคดีในฐานะเป็นศิลปะภาษา
จะตอ้ งสอนวรรณคดีในฐานะเปน็ ประสบการณ์ชีวิต โดยจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนมงุ่ เน้นการพฒั นา
ความคดิ ของผเู้ รียน ให้อิสระทางความคดิ ของผู้เรยี น ครจู ะต้องช้แี นะแนวทางวธิ กี ารคดิ ท่ถี กู ต้องและ
หลากหลาย เพอื่ ใหผ้ ู้เรยี นสนใจและเรียนรวู้ รรณคดีอย่างเห็นคุณคา่ ตลอดจนความงามของวรรณคดเี พ่ือให้
การจดั การเรยี นการสอนเป็นไปในทศิ ทางมาตรฐานสากล ผู้เขียนจงึ ขอนาเสนอวธิ สี อนวรรณคดีโดยใช้บนั ได ๕
ขน้ั มาใช้ในการจัดการเรยี นรู้พอสงั เขปดังน้ี

ขนั้ ท่ี 1 ขั้นการต้งั คาถาม / สมมติฐาน ไม่ว่าจะเป็นการสอนวรรณคดรี ะดบั ประถมหรือมธั ยมก็ตาม
การกระตุ้นให้ผ้เู รียนเกิดการคิด เกดิ ข้อสงสัยจะสามารถทาให้ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรทู้ ด่ี ีและหาคาตอบด้วย
ตนเองได้ ดังนน้ั เพื่อใหเ้ กิดความตืน่ เต้นสนุกและน่าสนใจในการเรยี นรู้วรรณคดขี องผูเ้ รยี น ครคู วรจัดกิจกรรม
การเรยี นการสอนดงั นี้

- ครูกาหนดวรรณคดเี ร่ืองท่จี ะสอนเร่ืองใดเรื่องหน่ึงข้ึนมาเปน็ ตวั ตง้ั จากนั้นครูบอกและอธบิ าย
ตัวช้ีวัดการเรียนรทู้ ผี่ เู้ รยี นกาลงั จะเรยี น

- ครูคอยกระตนุ้ ให้นักเรยี นตั้งคาถามตามทีน่ กั เรียนสนใจอยากจะรู้ หรือเชิญชวนให้นกั เรยี นตัง้
ประเดน็ ข้อสงสัยในเน้ือหาวรรณคดีเรือ่ งที่จะเรยี น ยกตัวอยา่ งคาถามเก่ียวกับวรรณคดีเร่ืองขนุ ช้างขุนแผน
ตอนพลายแก้วแตง่ งานกับนางพมิ เช่น เพราะอะไรมนษุ ยจ์ ึงต้องแตง่ งานกนั ? การแตง่ งานมขี น้ั ตอน
อยา่ งไร? เพราะอะไรการแตง่ งานจงึ ตอ้ งมีสนิ สอดทองหมัน้ ? เพราะเหตุใดนางพิม จึงเลอื กแตง่ งานกับพลาย
แก้ว ท้งั ๆ ทีข่ นุ ช้างกร็ า่ รวยกว่า ?

- เม่อื ผ้เู รียนสร้างคาถามแลว้ ครแู ละนักเรียนพจิ ารณาคาถามรว่ มกัน แลว้ ชว่ ยกันเลอื กคาถามเพื่อ
นาไปสบื คน้ เรียนรู้และหาคาตอบ

ขั้นท่ี 2 ขนั้ การสืบคน้ ข้อมลู เมื่อผเู้ รียนได้ขอ้ คาถามแล้ว ครูทาหน้าท่ีแนะนาแหลง่ วทิ ยาการให้
ผเู้ รียนไดไ้ ปศึกษาหาความรู้ อาจเป็นการสืบค้นทางอินเทอร์เนต็ เขา้ ห้องสมุด หรือถ้าเป็นนกั เรยี นระดบั ชนั้ โต
ก็สามารถให้นักเรียนไปเกบ็ ข้อมูล หรือสัมภาษณ์ความร้จู ากผหู้ ลกั ผใู้ หญ่ซึ่งอยู่ในชุมชนของผเู้ รยี นเอง ซ่ึงการ
เก็บข้อมลู ครูจะตอ้ งให้ความช่วยเหลอื เป็นทป่ี รึกษาในการออกแบบวธิ กี ารเกบ็ ข้อมลู แบบสัมภาษณ์ เพ่ือให้ได้
ข้อมูลที่เหมาะสม

ขั้นที่ 3 การสรา้ งองคค์ วามรู้ ข้ันนี้ถือได้ว่าเปน็ ข้ันทีผ่ เู้ รียนจะได้เกิดการสะท้อนความรู้ ครูอาจเปิด
เวทีใหผ้ ูเ้ รยี นได้มีการอภิปรายความรคู้ าตอบและส่งิ ทต่ี นเองไดไ้ ปเรียนรู้มา ซ่งึ คาตอบทไี่ ด้มาอาจมีความ
แตกต่างกนั ครูควรเปดิ โอกาสให้ผูเ้ รยี นไดแ้ สดงความคดิ เห็น วพิ ากษ์วจิ ารณ์ความรู้รว่ มกันในมุมมองที่แตกต่าง
เพื่อหาขอ้ สรปุ ขององค์ความรู้ทไ่ี ดม้ า

ข้ันท่ี 4 การสือ่ สารและนาเสนออย่างมีประสิทธภิ าพ หากเปน็ ไปได้ในเด็กโต ครอู าจกาหนดให้
ผ้เู รียนได้มีการแบง่ กลุ่มและทางานร่วมกนั โดยให้ผูเ้ รียนทุกคนได้มีโอกาสนาความรู้ที่ได้ไปศึกษามาจดั
ประสบการณ์ด้วยวิธีการสอื่ สารการพูด การเขียน หรืออาจให้ผูเ้ รยี นช่วยกนั เขยี นบทละครจากวรรณคดที เี่ รียน
และนามาใหค้ รตู รวจสอบว่า บทละครที่เขยี นข้ึน ฉาก บรรยากาศ ตวั ละคร มคี วามสอดคลอ้ งกับเน้อื เรื่อง

30

หรือไม่ จากนั้นให้ผเู้ รียนไปซ้อมการแสดงตามบทละครที่กลมุ่ ตนเองเขยี นข้นึ มาเพ่ือนาไปแสดงหนา้ ชัน้ เรยี น
หรือ หน้าเสาธงกไ็ ด้

ข้ันที่ 5 การบริการสงั คมและจติ สาธารณะ เพอื่ เปน็ การสง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนได้เรียนวรรณคดอี ยา่ ง
เห็นคุณค่ามากยิ่งขึ้น การเชื่อมโยงขั้นทส่ี มี่ าสู่การบรกิ ารสังคมเป็นสิง่ ท่ีกระทาได้ไม่ยากคือ ครูอาจมอบหมาย
ให้แต่ละกลุ่มจัดการแสดงละครภายในโรงเรยี น แลว้ เชญิ ครูและนักเรยี นมารว่ มชมการแสดง หรืออาจจัดการ
แสดงในกจิ กรรมหนา้ เสาธงก็ไดต้ ามความเหมาะสม

จากแนวทางวิธีวิทยาการการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้บันได 5 ขั้น ของการพัฒนาผู้เรียน
สมู่ าตรฐานสากลข้างต้นน้ัน เป็นเพยี งแนวคิดที่ต้องการนาเสนอให้ครูผสู้ อนภาษาไทยได้เห็นภาพว่าการจัดการ
เรยี นการสอนด้วยวิธดี ังกลา่ วสามารถที่จะนามาบรู ณาการการจัดการเรยี นรู้ให้เขา้ กบั ตัวชีว้ ัดชองสาระวิชาตาม
หลักสูตรได้ทัง้ สิ้น หากเพียงแค่ครูได้กาหนดวิธีการที่เหมาะสมโดยใช้วธิ ีการกระตุ้นการตั้งคาถามของผู้เรียนให้
สอดคลอ้ งกับเร่ืองทีก่ าลังจะสอนให้ได้มากที่สุด ก็จะสามารถเป็นบันไดสู่การเรียนรขู้ องผู้เรยี นได้ อย่างไรก็ตาม
แม้ว่าในศตวรรษท่ี 21 จะมุ่งเน้นใหผ้ ู้เรยี นรู้จกั การศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเองเปน็ สาคัญของการพัฒนาการเรยี นรู้
มากข้ึนเพียงใดก็ตาม กระบวนการท่ีกล่าวมาก็ไม่ได้ถือว่าเป็นแนวคิดใหม่แต่อย่างไร หากจะมองในเร่ืองของ
ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้แล้วบันได 5 ข้ันล้วนสัมพันธ์กับทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้นิยม หรือที่เรียกว่า
คอนสตรัคติวิซึม (Constructivism) ซ่ึงเป็นแนวคิดทางจิตวิทยา โดยมุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้จากประเด็นข้อ
สงสัยและการหาคาตอบ เป็นทฤษฎีพหุปัญญา ซึ่งผู้สอนต้องเข้าใจและเห็นถึงคุณค่าความแตกต่างของ
ผู้เรียนแต่ละคน โดยมองว่าผู้เรียนแต่ละคนมีความรู้และประสบการณ์ท่ีแตกต่างกัน ซึ่งนักการศึกษาหลาย
ท่านเห็นว่าผู้เรียนทุกคนมีศักยภาพและสามารถที่จะเรียนรู้ได้ในประสบการณ์และแนวคิดที่แตกต่างกันถ้า
ผู้เรียนมีความรู้เดิมอยู่บ้างจะสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ได้โดยการเชื่อมโยงประสบการณ์ใหม่เข้ากับความรู้
เดมิ ที่มีอยู่ ดงั น้ันบทบาทผู้สอนเป็นเพียงผู้คน้ หาความร้เู ดมิ ผู้เรียนแล้วจดั สถานการณ์ใหมเ่ พื่อกระตุ้นให้ผ้เู รยี น
สามารถสร้างองค์ความรู้ข้ึนเองได้ และการเรียนรู้ตามแนวคิดน้ีเป็นกระบวนการท่ีไม่ได้หยุดน่ิงอยู่กับที่ในการ
สรา้ ง การรวบรวม และการตกแต่งความรู้ของผ้เู รียนเอง ดงั นน้ั จะเหน็ ว่าแนวทางทั้งสองมีความสมั พันธ์กันเป็น
อย่างมาก ฉะนั้นผู้เขียนจึงเห็นว่า การนาบันได 5 ขั้น มาใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนจึงเป็นสิ่งท่ี
จาเป็นมากสาหรับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 แต่อย่างไรก็ตามหากครูสามารถท่ีจะปลูกฝังให้ผู้เรียนมี
จิตสานึกในการเรยี นรู้ เห็นคุณคา่ และประโยชน์ในการเรียนรู้ มีนสิ ัยในการเรยี นรูใ้ หม้ ากข้นึ ได้ บันได 5 ขั้นของ
การพัฒนาผู้เรียนสมู่ าตรฐานสากลก็จะไม่ใช่เรอ่ื งยากในการสอนของครูอีกต่อไป
กลยุทธก์ ารสอนภาษาไทยในศตวรรษที่ 21 เพ่ือพฒั นาทักษะการคิดข้ันสูง

Article Sidebar Main Article Content
สมรรถนะสาคัญในศตวรรษที่ 21 ของผู้เรียน คือ สมรรถนะด้านการคิด ซ่ึงการคิดเป็นกลไก
การตอบ สนองของสมองต่อสิ่งเร้าต่าง ๆ เป็นกิจกรรมทางจิตอย่างหน่ึงที่เกิดข้ึนกับทุกคนตลอดเวลา การคิด
ทาให้ มนุษย์แตกต่างจากสัตว์อ่ืน ๆ การคิดมีด้วยกัน 3 ระดับ คือ การคิดระดับพื้นฐาน การคิดระดับกลาง

31

และการ คิดระดบั สูง ประกอบด้วย 10 มิติ ครภู าษาไทยในศตวรรษที่ 21 จาเป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องส่งเสริมและ
พัฒนา ทักษะ การคิดให้แก่ผู้เรียนไปสู่ระดับการคิดข้ันสูง ทักษะการคิดข้ันสูงท่ีผู้เรียนพึงมี ได้แก่ การคิด
วิเคราะห์ การคิดแก้ปัญหา การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดสร้างสรรค์ โดยครูภาษาไทยจะต้องนา
รูปแบบ วิธี การสอน เทคนิคการสอนเพ่ือเป็นกลยุทธ์ในการพัฒนาทักษะการคิด ในบทความนี้ผู้เขียนได้
ยกตัวอยา่ ง กลยทุ ธ์การสอนของครภู าษาไทยที่นาไปใช้ในการพัฒนาทักษะการคิด ไดแ้ ก่ รูปแบบการสอนเน้น
การคิด วิเคราะห์ตามแนวคิดของบลูม รูปแบบการสอนเน้นการคิดแก้ปัญหาตามแนวคิดของทอร์แรนซ์
รูปแบบ การสอนเน้นการคิดสร้างสรรค์ตามแนวคิดซินเนคติกส์ และ รูปแบบการสอนเน้นการคิดอย่างมี
วิจารณญาณของ เพ็ญพิศุทธ์ิ เนคมานุรักษ์ โดยครูภาษาไทยอาจจะจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
จัดบรรยากาศ ส่ือและอุปกรณ์ ตลอดจนการบูรณาการเนื้อหากับทักษะการคิดเข้าด้วยกัน ทั้งน้ีเพ่ือพัฒนา
ทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียนอัน จะทาให้ผู้เรียนสามารถดารงชีวิตในประจาวันได้อย่างมีความสุข
(ณัฐกิตติ์ นาทา, 2558, น. 61)

ศตวรรษที่ 21 ศตวรรษแห่งการมุ่งเน้นทักษะการคิดข้ันสูงศตวรรษท่ี 21 ถือเป็นช่วงเวลาแห่งการ
เปล่ียนแปลงใน ทุก ๆ ด้าน เช่นการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศการ
เปลี่ยนแปลงดังกล่าวส่งผลกระทบต่อบุคคลนานัปการท้ังด้านความเป็นอยู่และสภาวะจิตใจดังจะเห็นได้จาก
การเกิดปัญหาต่าง ๆซ่ึงจะพบได้ในข่าวประจาวันท้ังโทรทัศน์อินเทอร์เน็ตหรือโซเชียลมีเดียต่าง ๆ ปัญหาท่ี
เกิดขึ้นนั้นส่วนหน่ึงมาจากความคิดท่ีไม่ได้รับการพัฒนาหรือส่งเสริมในทางท่ีดีดังน้ันครูในศตวรรษท่ี 21
จึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาทักษะการคิดข้ันสูงให้ แก่ผู้เรียนในบทความน้ีผู้เขียนขอเสนอทักษะการคิด
ขั้นสูง 4 ทักษะที่ครูควรพัฒนาและส่งเสริมให้เกิดกับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ 1. ทักษะการคิดวิเคราะห์
ความหมายของการคิดวิเคราะห์บลูม (Bloom, 1961) กล่าวว่าการคิดวิเคราะห์เป็นการจาแนกส่วนประกอบ
ของส่ิงใดสง่ิ หนึ่งหรือเรอื่ งใดเรื่องหนึ่งแล้วพิจารณาความสัมพันธร์ ะหว่างส่วนประกอบนั้นเพ่ือพิจารณาข้อสรุป
ท่ีถูกต้องสอดคล้องกับ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ (2546) ได้ให้ความหมายของการคิดวิเคราะห์ไว้ว่าเป็น
ความสามารถในการสืบค้นข้อเท็จจริงเพื่อตอบคาถามเก่ียวกับบางส่ิงบางอย่างโดยการตีความการจาแนก
แยกแยะและการทาความเข้าใจกับองค์ประกอบของสิ่งน้ันและองค์ประกอบอื่นๆที่สัมพันธ์กันรวมทั้งกลยุทธ์
การสอนภาษาไทยในศตวรรษท่ี 21

ในการจดั การเรียนการสอนวชิ าภาษาไทย จะตอ้ งมีกลยทุ ธ์การสอนภาษาไทยคือวิธีการสอนภาษาไทย
ที่ต้องอาศัยรูปแบบวิธีสอนและเทคนิคการสอนต่างๆเข้ามาช่วยในการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูงของผู้เรียน
ทั้งนี้การสอนภาษาไทยแต่เดิมน้ันมุ่งพัฒนาเฉพาะเนื้อหาสาระในรายวิชาไม่ได้เน้นทักษะการคิดข้ันสูงมากนัก
ทาใหผ้ ้เู รียนขาดทักษะดังกลา่ ว

32

ผ้เู ขยี นจึงได้นารปู แบบวิธี การสอนและเทคนคิ ต่าง ๆ มาใช้เปน็ กลยุทธ์ในการสอนภาษาไทยเพ่ือ
พัฒนาทกั ษะการคิดข้นั สงู ดงั นี้

1. กลยุทธ์การสอนภาษาไทยเพื่อพฒั นาทักษะการคิดวเิ คราะห์
2. กลยทุ ธก์ ารสอนภาษาไทยพัฒนาทักษะการคดิ แก้ปัญหา
3. กลยุทธก์ ารสอนภาษาไทยการสอนเพ่ือพฒั นาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
4. กลยุทธ์การสอนภาษาไทยพัฒนาทักษะการคดิ สร้างสรรค์

การสอนแบบการพฒั นาทักษะการคิดขั้นสงู ครจู ะตอ้ งมีการพฒั นาคือ
1. ครตู ้องมคี วามรูแ้ ละเขา้ ใจทฤษฏแี นวคิดและกระบวนการสอนคิดเปน็ อยา่ งดี
2. ครตู ้องให้ผ้เู รยี นได้ศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเองการท่ีครคู อยบอกหรอื สั่งให้ผ้เู รียนทางานหรือ

มอบหมายภาระงานนน้ั เป็นส่ิงที่กาหนดกรอบความคิดใหผ้ ูเ้ รียน
3. ครูควรใช้คาถามเพื่อพฒั นาความคิดของผเู้ รียน
4. ครตู อ้ งฝึกให้ผเู้ รยี นได้คดิ จากง่ายไปยากการฝกึ ทกั ษะการคิดควรเร่มิ ต้นจากการคิดระดบั พืน้ ฐาน
5. ครูตอ้ งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้คิดทกุ เวลา
6. ครูต้องให้ผู้เรียนไดค้ ้นหาคาตอบท่หี ลากหลาย
7. ครูต้องคอยกระตุ้นเพ่ือใหผ้ เู้ รียนไดเ้ กิดข้อสงสยั ต่างๆอย่างสม่าเสมอการสอนภาษาไทยน้ัน

วรรณคดีหรอื วรรณกรรมบางเรอื่ งผูเ้ รยี นอาจเกิดข้อสงสยั ต่างๆมากมายเช่นพระอภยั มณมี ี ลูกกับนางเงือกได้
อย่างไรเพราะคนกับสัตวไ์ มส่ ามารถมีลกู ได้อย่างแน่นอน

8. ครูต้องลดบทบาทการสอนมาเปน็ การอานวยความรู้ให้แกผ่ ูเ้ รียน
9. ครตู อ้ งสร้างห้องเรยี นที่เอ้ือต่อการพัฒนาการคิด
10. ครตู ้องร้จู ักนารปู แบบการสอนเทคนิควิธี สอนทสี่ ง่ เสรมิ การคดิ มาใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ดังนั้นครูภาษาไทยในศตวรรษท่ี 21 จาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องสอนการคิดให้ แก่ผู้เรียนเพราะหาก
ผู้เรียนมีทักษะการคิดข้ันสูงได้แก่การคิดวิเคราะห์ การคิดแก้ปัญหาการคิดอย่างมีวิจารณญาณและการคิด
สร้างสรรค์จะทาให้ผเู้ รยี นดารงชีวิตในประจาวันได้อย่างมีความสุขอย่างไรก็ตามการคิดขั้นสูงเป็นกระบวนการ
ท่สี ามารถฝกึ ฝนเสริมสรา้ งและพัฒนาไดค้ รูจงึ จาเป็นอยา่ งยิ่งท่ี จะตอ้ งพฒั นาทักษะดังกล่าวให้เกดิ กบั ผูเ้ รยี นทุก
คนทั้งน้ีอาจจะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจัดบรรยากาศส่ือและอุปกรณ์ตลอดจนการบูรณาการเน้ือหากับ
ทกั ษะการคิดเข้าดว้ ยกันเพ่อื พฒั นาทกั ษะการคดิ ข้นั สูงของผเู้ รยี นต้อไปกลยทุ ธก์ ารสอนภาษาไทยในศตวรรษ
ท่ี 21

33

เปา้ หมายปลายทางทช่ี ดั เจนเสริมสรา้ งแรงบันดาลใจ

โครงการถอดบทเรียน โรงเรียนตน้ แบบสาหรับโรงเรยี นมหาชน กรณศี กึ ษา โรงเรยี นมชี ยั พัฒนา

ผลการพฒั นาการศึกษาไทย
ผลการพัฒนาการศึกษาไทยท่ีผ่านมา พบว่า ในด้านคุณภาพของการศึกษาท้ังด้านวิชาการและ

คุณลักษณะของผู้เรียนยงั ไม่น่าพอใจ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจากคะแนน O-Net
ยังไม่เป็นที่น่าพึงพอใจ ความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนยังอยู่ในลาดับต่าเม่ือเทียบกับนานาประเทศทั่ว
โลกและประเทศในอาเซียนด้วยกัน แม้ว่า ทักษะในการเรียนรู้และใฝ่หาความรู้มีมากข้ึน แต่ยังขาด
ความสามารถในการจัดการและสังเคราะห์ข้อมูล นอกจากนี้ ทักษะของกาลังแรงงาน (ซึ่งเป็ นผลผลิตของ
การศึกษา) ยงั ไมต่ อบสนองความต้องการของผู้ประกอบการ

ในขณะที่ประเทศไทยจัดสรรงบประมาณเพื่อการศึกษาค่อนข้างสูง แต่กลับพบว่า คุณภาพของ
การศกึ ษายังอยู่ในระดับท่ีไมน่ ่าพึงพอใจ ซึ่งสะทอ้ นถึงประสทิ ธิภาพในการบริหารจดั การทรพั ยากรและการเงิน
เพ่ือการศึกษาของรัฐว่า ยังไม่ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็มท่ี ทั้งน้ีเกิดจากข้อจากัดหลาย
ประการ เช่น จานวนนักเรียนต่อห้องเรียน และจานวนนักเรียนต่อครูต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน จานวนครูเกิน
และขาดแคลนในบางสาขา ซ่ึงส่งผลต่อประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน สถานการศึกษาขนาดเล็ก
(นักเรียนน้อยกว่า 120 คน) มีจานวนมากเกินไป และเพิ่มขึ้นทุกปี ซ่ึงส่งผลต่อประสิทธิภาพในการบริหาร
จดั การสถานศึกษา

ในปัจจุบัน รัฐยังคงมีบทบาทหลักในการเป็นผู้จัดการศึกษาในทุกระดับและประเภทการศึกษา
การใช้จ่ายงบประมาณด้านการศึกษาของรัฐ ส่วนใหญ่เป็นรายจ่ายสาหรับการศึกษาภาคบังคับ ในส่วนของ
ผู้เรยี นนัน้ คา่ ใชจ้ า่ ยเพ่ือการศึกษาเปน็ ภาระสาหรบั กลมุ่ ครัวเรอื นท่ยี ากจน

โรงเรียนมชี ยั พัฒนาเกิดขน้ึ ไดอ้ ย่างไร
จากสภาพการณ์ท่พี บว่า การศึกษาสร้างคุณภาพของเด็กได้น้อยกวา่ ทส่ี ังคมต้องการ โลกเปลี่ยนแปลง

ไปเร็วมาก แต่การศึกษาตามไม่ทัน โรงเรียนเน้นการบรรยายให้ความรู้ มากกว่าการสร้างทักษะโดยให้
นักเรียนปฏิบัติจริง และเป็นการสอนแค่ทักษะตื้นๆ ซึ่งไม่เพียงพอต่อการดารงชีวิตอยู่ในโลกยุคใหม่ท่ี
เปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก ทาให้เด็กขาดทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ นอกจากนี้ รูปแบบการเรียนรู้
ไม่เหมาะสมกับเด็ก ไม่สามารถสร้างแรงบันดาลใจให้เด็กอยากเรียน ยังคงเน้นให้นักเรียนอ่านออก เขียนได้

34

และคิดเลขเป็น แต่ยังขาดการกระตุ้นให้นักเรียน มีนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ในการริเร่ิมสิ่งใหม่ ๆ
รวมทั้งไมไ่ ด้เตรียมนักเรียนไปสกู่ ารมชี ีวติ และการงานที่ดีในอนาคต

นอกจากน้ี ประเทศไทยซ่ึงมีโรงเรียนอยู่เป็นจานวนมาก โรงเรียนแต่ละแห่งมีทรัพยากรท่ีมีคุณค่า
ทางการพัฒนา ไม่ว่าจะเป็นท่ีดิน อาคารสถานท่ี วัสดุอุปกรณ์ และบุคลากรที่มีความรู้ แต่ยังใช้ประโยชน์
จากทรพั ยากรเหล่านีไ้ มเ่ ต็มศกั ยภาพ

นายมีชัย วีระไวทยะ เป็นนักพัฒนาสังคมคนหน่ึง ที่ต้องการจะเห็น “การศึกษาไทยเป็นเครื่องมือ
ในการพัฒนาสังคมอย่างแท้จริง” และคิดว่า ประเทศไทยจาเป็นต้องเปล่ียนแปลงวิธีการเรียนรู้ และเพ่ิม
บทบาทของโรงเรียนให้มีประโยชน์ต่อสังคมมากขึ้น เพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลงในอนาคต จึงได้ก่อตั้ง
โรงเรียนมีชัยพัฒนา ข้ึนที่อาเภอลาปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ ในปี พ.ศ.2552 ด้วยความตั้งใจท่ีจะริเริ่ม
สรา้ งสรรค์เสน้ ทางสายใหม่สาหรบั การศึกษาไทย

ปรชั ญาและแนวคดิ ของโรงเรียนมชี ยั พัฒนา
โรงเรียนมีชัยพัฒนา เป็นโรงเรียนเพ่ือสร้างนักธุรกิจเพื่อสังคมและนักพัฒนาชนบท เพื่อให้นักเรียนมี

ชีวิต และอาชีพท่ีดีในอนาคต สามารถดารงชีวิตอยู่ร่วมกับครอบครัวในชุมชนบ้านเกิด และเป็นผู้นาการ
เปลี่ยนแปลง (Change Agent) ในการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นของตน ดังน้ัน จึงมุ่งเน้นการปลูกฝงั ให้นักเรียนให้
เป็น “คนดี” มีความซ่ือสัตย์ มีทักษะชีวิตและทักษะทางธุรกิจ/อาชีพ รักความเสมอภาค มีความสามารถใน
การบริหารจัดการ รจู้ ักการแบ่งปันและช่วยเหลือสังคมโดยจัดกระบวนการเรียนการสอนท่ีส่งเสริมให้นักเรียน
มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ รู้จักการคิดนอกกรอบ และทันต่อการเปล่ียนแปลงของสังคมแต่ไม่ท้ิงรากเหง้า
วัฒนธรรมท่ดี ีงาม

นอกจากการพัฒนาในส่วนของนักเรียนแล้ว โรงเรียนยังมุ่งเน้นท่ีจะสร้างประโยชน์แก่ผู้ปกครอง
ชาวบ้านในชุมชนรอบโรงเรียน และประชาชนทั่วไป เพ่ือช่วยลดความเหล่ือมล้าทางสังคม โดยเพ่ิมบาทบาท
จากการเป็นเพียงสถานทส่ี อนหนังสอื สาหรับเด็กนักเรยี น มาเปน็ แหล่งเรยี นรู้ตลอดชีวิตสาหรับทกุ คน และเป็น
ศูนย์กลางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและรายได้ ดว้ ยการเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนทุกเพศ ทุกวยั โดยเฉพาะสตรี
เด็ก และผู้ด้อยโอกาส ได้เข้าถึงโอกาสในการพัฒนาตนเอง สามารถเข้ามาแลกเปลี่ยนรู้ และใช้ประโยชน์จาก
โรงเรยี น ในการฝึกทักษะทางธุรกจิ และดา้ นอน่ื ๆ ตามความสนใจ

35

วิสัยทศั น์ (Vision)
ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข ได้รับการเสริมสร้างศักยภาพ ทั้งในด้านการศึกษา ทักษะชีวิต และ

ทักษะอาชพี และปลูกฝังให้มีสานึกรักบ้านเกิด เพื่อเตรียมพร้อมท่ีจะมีชีวิตและการงานท่ีดีในอนาคต
สามารถดารงชีวิตอย่รู ่วมกบั ครอบครวั ในชุมชนของตนเอง โดยไม่ตอ้ งท้ิงบ้านเกดิ ไปทางานในเมอื ง

พนั ธกิจ (Mission)
1. พฒั นาใหโ้ รงเรียนเป็นแหลง่ เรยี นรตู้ ลอดชีวิตสาหรับทกุ คนและเป็นศนู ยก์ ลางในการพัฒนาคุณภาพ

ชวี ติ และรายได้
2. ส่งเสริมนักเรียนให้มีทักษะความเป็นผู้นา โดยสนับสนุนให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ

และดาเนินงานของโรงเรียน เช่น การต้อนรับและเป็นผู้ช้ีแจงแก่ผู้มาเย่ียมชมโรงเรียน การจัดซ้ือและตรวจสอบ
การดแู ลนักเรยี น การคัดเลอื กนกั เรียนและครู รวมถงึ การประเมินผลครู

3. สอนให้นักเรียนมีความคิดเชิงนวัตกรรม และคิดนอกกรอบ ถามเป็น คิดเป็น ค้นคว้าเป็นมีทักษะชีวิต
และทักษะอาชีพ

4. ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนและผู้ปกครองทาความดีเพ่ือสังคม เช่น การจ่ายค่าเทอมด้วยการ
ทาความดแี ละปลกู ต้นไม้ (นกั เรียน ผูป้ กครอง ทาความดคี นละ 365 ชว่ั โมงต่อปี และปลกู ต้นไม้คนละ 400 ต้น)

5. ร่วมช่วยเหลือโรงเรียนและหมู่บ้านให้มีกิจกรรมสร้างรายได้ในเชิงวิสาหกิจเพื่อสังคมของตนเองและ
ช่วยให้โรงเรียนเหล่านั้นเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของทุกคนในชุมชนและเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาชุมชน
(โดยรว่ มมือกบั ภาคธรุ กจิ เอกชน)

6. ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนทาธุรกิจ โดยจัดอบรมและสนับสนุนเงินกู้ สาหรับทาธุรกิจระหว่าง
การเรยี น

7. สนับสนุนให้นักเรยี นได้ฝกึ งานในหนว่ ยงานตา่ ง ๆ

วตั ถปุ ระสงค/์ เปา้ หมายของโรงเรียน
1. เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา โดยมโี รงเรียนเป็นแหล่งเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ ของทุกคนในชมุ ชน

และเป็นศนู ย์กลางในการพัฒนาคุณภาพชีวติ
2. เพ่อื ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน โดยเปิดโอกาส ให้ภาคี และภาคส่วนต่าง ๆ ได้เข้า

มีส่วนรว่ มในการสนับสนุนโรงเรียนในด้านตา่ ง ๆ
3. เพอื่ เตรียมคนไทยสศู่ ตวรรษที่ 21 ตาม เปา้ หมาย คือ

36

- เพอ่ื เตรียมคนดสี ่สู ังคม
- เพอ่ื สง่ เสริมการคิดแบบสรา้ งสรรคแ์ ละการมนี วัตกรรม
- เพื่อสร้างคนให้สอดคลอ้ งกบั ศักยภาพและความเหมาะสมของนักเรยี น
- เพ่ือผลิตคนให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและประเทศปรับหลักคิดของนักเรียน
โดยยึดหลัก คือ มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต โอบอ้อมอารีเอื้อเฟื้อแบ่งปัน มีสานึกความรับผิดชอบต่อสังคมและมี
จติ สาธารณะ
- เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนทาธุรกิจแบบแบ่งปันเป็น เพ่ือช่วยลดการทิ้งบ้านเกิด และพัฒนา
เศรษฐกจิ ของชมุ ชน
- เพื่อสง่ เสรมิ ให้นักเรียนคิดอยา่ งมีเหตมุ ผี ล การดาเนินชวี ติ เปน็ ใช้จา่ ยเงินเป็น และอ่นื ๆ

กรอบแนวคดิ การยกระดับการศกึ ษาไทย
ยุทธศาสตร์สู่ความสาเร็จในการยกระดับคุณภาพของการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 ตามแนวทาง

ของโครงการสานพลงั ประชารฐั ด้านการศึกษาพื้นฐาน และการพัฒนาผนู้ ามที ้งั สิน้ 10 ยทุ ธศาสตร์ ได้แก่
1. ความโปร่งใสของขอ้ มูลสถานศกึ ษา (Transparency)
2. กลไกการตลาด และการมสี ว่ นร่วมของชุมชน (Market Mechanism)
3. การพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาและครผู ูส้ อน (High Quality Principals and Teachers)
4. การเรยี นการสอนที่มุง่ เนน้ ให้เด็กนกั เรยี นเปน็ ศูนยก์ ลาง (Child Centric and Curriculum)
5. การเขา้ ถึงโครงสรา้ งพน้ื ฐานดิจติ ทลั ของสถานศกึ ษา (Digital Infrastructure)
6. การยกระดบั ความรู้ความสามารถด้านภาษาองั กฤษ (English Language Capability)
7. การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม จติ สาธารณะ และสง่ เสริมสุขอนามัยใหน้ ักเรยี น

(Health and Heart)
8. การสร้างมาตรการจูงใจด้านสิทธิประโยชน์ และการมีส่วนร่วมของผู้เชี่ยวชาญท้ังในและ

ต่างประเทศ (Tax Incentive for Local and International Professor)
9. การพัฒนาและส่งเสริมผูน้ ารุ่นใหม่ (Young Leadership Development)
10. ศนู ยก์ ลางการศึกษาเทคโนโลยีแหง่ อนาคตในระดับภูมิภาค (Technology R&D Hub)

37

โรงเรียนมชี ยั พฒั นามกี ารดาเนนิ งานสอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ 10 ขอ้ ดังกลา่ วข้างต้น นอกจากน้ี ยงั
มียุทธศาสตร์ทเี่ ป็นอตั ลักษณ์ (Identity) ตามปรชั ญาแนวคิดของการจัดต้ังโรงเรียนเพิ่มเติมอีก 2 ยทุ ธศาสตร์
คอื

1. การยกระดับความรู้ ความสามารถด้านทักษะการคน้ คว้าหาคาตอบ การติดต่อสื่อสาร
และการบรหิ ารจดั การ

2. การพฒั นาและสง่ เสรมิ นักพัฒนาชุมชนและนักธุรกิจเพื่อสงั คม

แนวทางในการดาเนินงานของโรงเรยี นมีชยั พัฒนา
กระบวนการ ข้นั ตอนการดาเนินงาน และนาเสนอโมเดลในการพัฒนานวัตกรรมการบรหิ ารจดั การ

สถานศึกษาของโรงเรียนมีชัยพฒั นา
ทบทวนปญั หาเกย่ี วกับระบบการศึกษาไทยทเ่ี ป็นอยใู่ นปจั จุบนั ซ่งึ พบปญั หาหลกั ดังทกี่ ล่าว คอื

คณุ ภาพของผเู้ รยี นยงั ไม่เปน็ ท่ีนา่ พึงพอใจ โรงเรียนเนน้ การใหน้ ักเรียนท่องจา มากกว่าการฝึกทักษะ รปู แบบ
การเรยี นรไู้ มเ่ หมาะสมกบั เด็ก ยังไมส่ ามารถสร้างแรงบนั ดาลใจใหเ้ ด็กอยากเรยี น นอกจากนี้ โรงเรียนซ่ึงมีอยู่
เป็นจานวนมากยงั สร้างประโยชนแ์ กส่ ังคมไดไ้ มเ่ ตม็ ศกั ยภาพ

38

กาหนดแนวทางในการปรับปรุงเปลยี่ นแปลง 3 ด้าน ดังนี้
1. การปรับปรุงสาระในการเรยี นรู้ โรงเรียนมีชัยพฒั นาดาเนินการปรบั ปรุงเนื้อหาสาระการเรียนรู้

ในสว่ นของหลกั สตู รสถานศกึ ษา เพื่อให้เปน็ ไปตามปรชั ญาแนวคิดของโรงเรียน และบริบทของชุมชน โดย
เนน้ เรื่องทักษะชวี ิต ทกั ษะอาชพี /การทาธุรกิจเพื่อสังคม การพัฒนาชุมชน การชว่ ยเหลือสังคม การแบง่ ปัน
การเป็นคนดี มีคณุ ธรรม (ความซอ่ื สตั ยส์ จุ รติ วินัย รักความเสมอภาค เหน็ อกเหน็ ใจผู้อน่ื ฯลฯ) เพอื่ ปลูกฝัง
จิตสานึกของการเป็นพลเมืองท่ีดี

2. การปรับปรุงวิธีการเรียนรู้ โดยถอดกรอบวิธีการสอนแบบเดิม ๆ ออกไป นั่นก็คือ การสอน
แบบให้นักเรียนท่องจาเป็น เพราะความรู้ ข้อมูลข่าวสารใหม่ๆ มีมากมายไร้ขีดจากัด และเปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา เกินกว่าที่นักเรียนจะสามารถท่องจาได้หมด ดังน้ัน สิ่งสาคัญ คือ การสอนให้นักเรยี นรู้จักวิธีการ
เรียนรู้ (Learn How to Learn)

3. เปลี่ยนบทบาทของครู จากการสอนแบบเดิม ๆ ที่มีครูเป็นศูนย์กลาง ทาหน้าท่ีเป็นผู้บรรยาย
ความรู้ให้นักเรียนฟัง มาเป็นการเรียนรู้โดยใช้นักเรียนเป็นศูนย์กลาง โดยมีครูเป็นพ่ีเลี้ยงอานวยการ
(Facilitator) ใหน้ กั เรียนเกิดการเรยี นรู้

3.1 ส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนรู้จักการค้นคว้า คิดวิเคราะห์ สร้างทางเลือก
ลงมอื ปฏิบตั จิ ริง แกป้ ญั หา และปรบั ปรุงพัฒนา โดยใชเ้ ทคนคิ วิธีการเรยี นรู้แบบต่าง ๆ อาทิ

- การเรยี นรูโ้ ดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project Based Learning)
- การเรยี นร้โู ดยใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน (Problem Based Learning)
- การส่งเสริมสนับสนนุ ให้นักเรียนทาธุรกจิ โดยโรงเรียนสนับสนุนทักษะความรู้ และเงินกู้ยืม
เพอ่ื เริม่ ต้นธุรกจิ เพ่อื ใหน้ กั เรยี นเกิดการเรยี นรู้ดว้ ยการปฏิบัตจิ ริง
- สง่ เสรมิ การเรียนร้นู อกหอ้ งเรียน และการฝึกงานในสถานประกอบการตา่ ง ๆ ทาใหน้ ักเรยี น
มีประสบการณ์ จากการได้พบเจอบุคคลหลากหลาย (เช่น นักวิชาการ นักธุรกิจ ผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ
ปราชญ์ชาวบ้าน ) และได้รับความรู้ ข้อมูลข่าวสารใหม่ๆ ในโลกแห่งความเป็นจริง ซึ่งช่วยขยายกรอบ
ความคดิ ของนกั เรียน ทาใหโ้ ลกทัศน์ ชีวทศั น์ (การมองโลก มองชวี ติ ) กวา้ งไกล และชัดเจนย่งิ ข้นึ
3.2 นักเรียนเป็นผู้กาหนดสิ่งท่ีตนเองอยากเรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ นักเรียนสามารถเลือกฝึกทักษะอาชีพที่ตนเองสนใจอยากทาในอนาคต ทาให้นักเรียนมีแรงจูงใจใน
การเรยี นรู้ เพราะรเู้ ป้าหมายทช่ี ัดเจนวา่ ผลลัพธส์ ุดท้ายทต่ี ้องการ คอื อะไร

39

3.3 เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะในด้านการเรียน
ของนักเรียนและการสอนของครู โรงเรียนมีชัยพัฒนาต้องการให้ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการสร้างการเรียนรู้
ให้กบั นกั เรียน

3.4 ส่งเสรมิ ให้นักเรียนมีส่วนรว่ มในการบริหารจดั การโรงเรียน เพอ่ื ใหน้ ักเรยี นไดเ้ รยี นรเู้ ร่อื ง
การบริหารจัดการจากการปฏิบัติจริง เช่น การให้นักเรียนเป็นผู้จัดซื้อ และตรวจสอบการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์
ต่างๆ ให้กับโรงเรียน ต้อนรับและบรรยายความรู้ให้แก่ผู้มาดูงาน และดูความเป็นระเบียบเรียบร้อยของ
โรงเรยี นและนักเรียน เป็นต้น การเรียนรดู้ ้วยวิธีการน้ี ช่วยพัฒนาทักษะการบริหารจัดการ (Management
Skill) การตดั สินใจ และสั่งสมทกั ษะการเป็นผู้นา (Leadership Skill) ซ่งึ เป็นทักษะทีจ่ าเปน็ ต่อการดารงชีวิต
อยู่ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว ซ่ึงการพัฒนานักเรียนให้มีทักษะการเป็น
ผู้นา จะทาให้สามารถรับมือกับสถานการณ์ได้ ไม่ถูกครอบงาโดยส่ิงแวดล้อมภายนอก มีจุดยืนของตนเอง
นอกจากนี้ การเรียนรู้ท่ีเน้นการปฏิบัติจริง เป็นวิธีการที่จะช่วยหล่อหลอมให้นักเรียนเป็นคนดี เพราะการ
ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ต้องอาศัยการบ่มเพาะผ่านการกระทาอย่างสม่าเสมอ ไม่ใช่จากการอ่านหนังสือ
หรอื ท่องจา

3.5 ส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักการคิดนอกกรอบ และริเร่ิมสร้างสรรค์ส่ิงใหม่ๆ เช่น การทา
พจนานุกรมตามทางเดิน

เปลยี่ นบทบาทของโรงเรยี น เพ่อื ให้เป็น “แหล่งเรียนรู้ตลอดชวี ติ ของทุกคนในชุมชนและเป็น
ศูนย์กลางของการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของคนในชนบท

1. พัฒนาศักยภาพครูผู้สอน ให้เป็นครูอเนกประสงค์ สามารถดาเนินงานตามปรัชญา
แนวคิดของโรงเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการอบรมพัฒนา และเปิดโอกาสให้แลกเปล่ียนเรียนรู้กับ
ครมู ืออาชีพจากสถาบนั การศกึ ษาภายนอก

2. เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนของสังคม มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาที่ตอบสนองความ
ต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ี

3. สร้างความเข้าใจกับผู้บรหิ ารโรงเรยี น ครู นักเรยี น ผปู้ กครอง ผ้นู าชุมชน และผู้ที่เก่ียวขอ้ ง
อื่น ๆ เกี่ยวกับแนวทางการดาเนนิ งานของโรงเรียนมชี ยั พัฒนา

4. ดาเนินงานตามแนวทางที่กาหนดและประเมนิ ผล

40

การจดั การเรยี นร้บู ูรณาการทกั ษะชีวติ : SANGWA Model

ครผู ู้ออกแบบนวัตกรรม

นายทรงฤทธ์ิ แก้วพรม
ครูกล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย
โรงเรยี นเวยี งวงกตวิทยาคม อาเภอเวียงเกา่
จังหวดั ขอนแกน่

รางวัลแหง่ ความภาคภูมิใจ
รางวัลเหรยี ญเงนิ ระดับภูมภิ าค
โครงการหนงึ่ โรงเรียน หน่ึงนวตั กรรม
ประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๓

แรงบนั ดาลใจในการออกแบบนวัตกรรม
ประโยคสนทนาภาษาอสี าน คาว่า “ซางว่า” ซงึ่ มีความหมาย “มนั เปน็ เช่นน้ันจรงิ หรือ”เช่น มาช่างว่า

แท้น้อน่ีบ้อคนที่เคยฮักกัน แปลว่า พูดออกมาได้ยังนี่หรือคนท่ีเคยรักกัน” โดยคาว่า “ซางว่า” มีความหมาย
แฝงให้รู้จักตั้งคาถามจากสิ่งท่ีพบหรือส่ิงที่ได้ยินก่อนจะตัดสินใจในส่ิงน้ัน ๆ ซึ่งต้องอาศัยทักษะชีวิต
ประสบการณ์และกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ ผู้คิดค้นแนวการสอนดังกล่าวมีมุมมองว่าผู้เรียนสมัยน้ีมี
แนวโน้มทางความคิดไปในทิศทางที่ไม่เหมาะสม สาเหตุหน่ึงมาจากโลกโซเชียล ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของ
ผู้เรียน เช่น ใช้ความรุนแรง ขาดเหตุผล ขาดการคิดใคร่ครวญ ไม่มีความเป็นผู้นา และขาดทักษะการดาเนิน
ชีวิตท่ีเหมาะสม ครูควรหาแนวทางการเรียนการสอน เพ่ือสอนวิชาความรู้ควบคู่ไปกับการสอนวิชาชีวิต

41

ครูผู้คิดค้นแนวการสอนนี้จึงได้มองย้อนดูว่าจากวัยเด็กมาสู่วัยผู้ใหญ่ เราใช้ทักษะใดบ้างที่จาเป็นจริง ๆ เช่น
ทักษะการสบื ค้น ทกั ษะการพดู ทักษะการนาเสนอ ทักษะการโต้แย้ง ทักษะการเอาตัวรอด และทักษะการ
บรู ณาการผูค้ ิดค้นจึงได้จัดชุมชนทางการเรียนรู้ รับฟังแนวคิดจากเพ่ือนครู แล้วนามาสร้างเป็นรปู แบบการสอน
ของตนเอง สามารถใช้สอนจนประสบผลสาเร็จต่อตัวผู้เรียน พร้อมยังสามารถยกผลสัมฤทธิ์คะแนนโอเน็ตข้ึน
ใน ปี ก ารศึ ก ษ า 25 60 ค รูผู้ คิ ด ค้ น รูป แ บ บ ก ารส อ น จึงได้ น าเส น อ ข้ อ มู ล เพื่ อ เผ ย แ พ ร่สิ่ งดี ๆ
สรา้ งแรงบนั ดาลใจในการสอนให้ครู พฒั นาตนเอง เพือ่ พฒั นานกั เรยี น และพัฒนาประเทศชาตติ ่อไป
การสอนทเ่ี นน้ ทกั ษะชวี ิต ในรูปแบบโมเดลการเรยี นรู้ SANGWA Model

ขนั้ ที่ 1 Search : ชื่อแผนการเรยี นรู้ “คนค้นความ”
ฝึกให้นกั เรียนสืบเสาะ ค้นหาขอ้ มลู อยา่ งถูกต้อง

ขั้นท่ี 2 Attitude : ช่อื แผนการเรยี นรู้ “มองมมุ ใหม่”
ฝึกให้นักเรียนมีทกั ษะในการคิดทีห่ ลากหลาย โดยอาศัยหลักคดิ แบบหมวกหกใบ

ขั้นท่ี 3 Narrative : ช่อื แผนการเรยี นรู้ “คนเล่าเรื่อง”
ฝึกใหน้ กั เรยี นสืบค้นข้อมลู ดว้ ยตนเอง แล้วนามาอภิปรายร่วมกนั เนน้ ในรูปแบบของการ

โต้วาที ผเู้ รยี นมีโอกาสในการใชท้ กั ษะการพดู โนม้ น้าว
ขน้ั ท่ี 4 Game : ช่ือแผนการเรียนรู้ “เกมจาลองปัญหา”
ฝกึ ให้นกั เรียนแสดงวธิ คี ิดทหี่ ลากหลาย ได้แก่ การเป็นผนู้ า การทางานเป็นทมี ความสามัคคี

ความคิดสร้างสรรค์ ผา่ นกิจกรรมจาลองเหตกุ ารณ์
ขั้นท่ี 5 Work : ชอ่ื แผนการเรยี นรู้ “นกั เรียนทอ่ งโลก”
ใหน้ ักเรยี นเขยี นสารคดีนอกห้องเรยี น โดยมีพืน้ ทใี่ นชุมชนของตนเป็นแหล่งเรยี นรู้
ขั้นที่ 6 Application : ชื่อแผนการเรยี นรู้ “หนังส้ัน สารคดี อินโฟกราฟิก”
ฝกึ ให้นักเรียนนาเสนอข้อมลู ที่

คน้ พบใหมด่ ้วยเทคโนโลยี ตดั ตอ่ วิดโี อ ทาหนงั สัน้
สารคดี อนิ โฟกราฟิก ทาให้เกิดความนา่ สนใจแก่
งานน้นั

42

บรรณานุกรม

จตภุ มู ิ เขตจตั รุ สั , พระฮอนดา้ เข็มมา, คม พวงยะ, ดาวรุวรรณ ถวลิ การ, ณรงค์ศักดิ์ รอบคอบ,
กิตติกัณพงศ์ ศรบี วั นา, ธนัท มูลเจริญพร. (2562). การติดตามและประเมินผลกระทบของการ
ประเมนิ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ. กรุงเทพฯ: สถาบนั ทดสอบทาง
การศึกษาแหง่ ชาติ (องคก์ ารมหาชน).

ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2552). ตวั ช้ีวัดและสาระแกนกลางกล่มุ สาระเรียนรภู้ าษาไทยตามหลกั สตู ร
การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่
ประเทศไทย จากัด.

ศกึ ษาธิการ, กระทรวง. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551.
กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ มุ นุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย.

สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. (2553). แนวทางการจัดการเรยี นรู้ ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ: พิมพ์คร้ังที่ 2, โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จากดั .

สรุ ชยั ไวยวรรณจติ ร และคณะ. (2557). การนาผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET)
ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 และช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 6 ไปใช้ในการพัฒนาผู้เรยี น: กรณศี ึกษา
โรงเรยี นเอกชนสอนศาสนาอิสลามในพนื้ ที่จังหวดั ชายแดนภาคใต้. กรุงเทพฯ: สถาบนั
ทดสอบทางการศึกษาแหง่ ชาติ (องค์การมหาชน).

อุบล แก้วป่ิน และคณะ. (2556). แนวทางการนาผลการทดสอบทางการศึกษาไปใช้ ในการพฒั นา
คุณภาพผู้เรียนของโรงเรียนในสงั กัดสานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาจงั หวดั
ร้อยเอ็ด. กรุงเทพฯ: สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน).