E-withholding tax ผู้ถูกหัก

E-withholding tax ผู้ถูกหัก
E-withholding tax ผู้ถูกหัก
Middle|Left Black

ข้อมูลหนังสือรับรองภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย

​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​

    • สมัครเลย

    InvisibleSectionName

    10

    Padding

    Black

    Middle|Left

    Left

    HtmlBlock

    11

    Padding

    จุดเด่น

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
     

     

    สะดวก และไม่จำเป็นต้องมา
    ขอหนังสือรับรองการหักภาษี
    ณ ที่จ่าย ที่สาขา

    ขอข้อมูลการหักภาษี
    ณ ที่จ่ายได้ข้อมูลทันที
    ผ่าน e-Withhol​ding Tax
    ของกรมสรรพากร ตลอด 24 ชม.

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
     

     

    ไม่ต้องยื่นเอกสาร
    หรือเก็บหลักฐาน
    เพื่อให้กรมสรรพากรตรวจสอบย้อนหลัง
    (paperless)

    Black

    Middle|Left

    Left

    InvisibleSectionName

    20

    Padding

    Black

    Middle|Left

    Left

    HtmlBlock

    21

    Padding

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    บุคคลธรรมดา

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    นิติบุคคล

    ที่ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายภาษีดอกเบี้ยเงินฝาก
    และ
    มีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร 13 หลัก
    ในระบบของธนาคารก่อนที่ธนาคาร
    จะหักภาษี ณ ที่จ่ายนำส่งให้กรมสรรพากร

    ​​

    Black

    Middle|Left

    Left

    InvisibleSectionName

    30

    Padding

    ลูกค้าที่มีเลขประจำตัวผู้เสียภาษี

    Black

    Middle|Left

    Left

    HtmlBlock

    31

    Padding

    ลูกค้าที่มีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร 13 หลักในระบบของธนาคาร

    ขั้นตอนการขอข้อมูลภาษีหัก ณ ที่จ่ายจากดอกเบี้ยเงินฝากออนไลน์

    ลงทะเบียนสมัครรหัสผู้ใช้งานเข้าระบบ e-Filing
    (สำหรับลูกค้าที่เคยยื่นภาษีออนไลน์ หรือมีรหัสผู้ใช้
    งานเข้าระบบ e-Filing แล้ว สามารถ
    ข้ามไปขั้นตอนที่ 2)

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    • เข้าสู่เว็บไซต์ https://epay.rd.go.th/
    • เลือกเมนู “ลงทะเบียน” และเลือก ประเภทผู้ใช้งาน
      • สำหรับลูกค้าบุคคลธรรมดา เลือก “บุคคลธรรมดาสัญชาติไทย”
      • สำหรับลูกค้านิติบุคคล เลือก “นิติบุคคล”
    • เข้าสู่เว็บไซต์ของระบบ e-Filing เพื่อให้ผู้ใช้งานลงทะเบียนที่ระบบ e-Filing

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    • ระบุเลขประจําตัวประชาชน / เลขประจําตัวผู้เสียภาษีอากร
    • คลิก “ฉันไม่ใช่โปรแกรมอัตโนมัติ” และลงทะเบียนตามขั้นตอนการลงทะเบียนในระบบ e-Filing

    ลงทะเบียนเพื่อเข้าใช้งานระบบ
    e-Withholding Tax (ลงทะเบียนครั้งแรกเท่านั้น)

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    เลือกเมนู “e-Withholding Tax”

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    เลือกเมนู “บริการคัดค้นข้อมูลภาษีและการใช้จ่าย”

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    เลือกเมนู “เข้าสู่ระบบ e-Filing”

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    Login ด้วยรหัสผู้ใช้งานและรหัสผ่านในระบบ e-Filing

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    • ผู้ใช้งานกรอกข้อมูลเพิ่มเติม
    • ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล หากถูกต้องแล้วเลือกถัดไป
    • ยอมรับเงื่อนไขการลงทะเบียนและเลือก “ยอมรับเงื่อนไขการลงทะเบียน” หากไม่ยอมรับเงื่อนไขการลงทะเบียนจะไม่สามารถยืนยันตัวได้ และยืนยันตัวตนด้วยการรับรหัส OTP หรือ Email
    • ระบบแจ้งผลการลงทะเบียน และส่งอีเมลให้ผู้ใช้งานทราบ

    ขอข้อมูลภาษีหัก ณ ที่จ่ายจากดอกเบี้ยเงินฝาก
    ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Withholding Tax)

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    เลือกเมนู “เข้าสู่ระบบ e-Filing”

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    Login ด้วยรหัสผู้ใช้งานและรหัสผ่านที่เคยลงทะเบียนไว้ในระบบ e-Filing

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    เลือกเมนู “บริการคัดค้นข้อมูลภาษีและการใช้จ่าย”

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    เลือก “ดูข้อมูล” ภาษีหัก ณ ที่จ่าย

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    • เลือก ค้นหาข้อมูลภาษีหัก ณ ที่จ่าย
      จากระบบ e-Withholding Tax
    • เลือก ข้อมูลการถูกหักภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
      จากระบบ e-Withholding Tax ระบุช่วงเวลาที่ต้องการ
      และเลือกค้นหา

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
    E-withholding tax ผู้ถูกหัก

    ลูกค้าจะพบข้อมูลการหักภาษี ณ ที่จ่ายทั้งหมด และสามารถเลือกรายการและ download เอกสารได้

    Black

    Middle|Left

    Left

    InvisibleSectionName

    40

    Padding

    ลูกค้าที่ไม่มีเลขประจำตัวผู้เสียภาษี

    Black

    Middle|Left

    Left

    HtmlBlock

    41

    Padding

    ลูกค้าที่ไม่มีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร 13 หลักในระบบของธนาคาร

    ติดต่อสาขาของธนาคารที่สะดวก
    เพื่อขอเพิ่มเลขประจำตัวผู้เสียภาษี 13 หลัก
    และสามารถขอหนังสือรับรองการหักภาษี
    ณ ที่จ่ายจากดอกเบี้ยเงินฝากได้

    เอกสารประกอบการใช้บริการ

    บุคคลธรรมดาสัญชาติไทย

    • บัตรประจำตัวประชาชน
    • สมุดบัญชีเงินฝาก

    บุคคลธรรมดาชาวต่างชาติ และบุคคลธรรมดาต่างด้าว

    • เอกสารแสดงตนตัวจริง ได้แก่ หนังสือเดินทาง (Passport), บัตรประจำตัวคนต่างด้าว
    • บัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
    • สมุดบัญชีเงินฝาก

    เอกสารประกอบการใช้บริการ

    • หนังสือแจ้งความประสงค์ /รายงานการประชุม อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีรายละเอียดดังนี้
      • ระบุความประสงค์ และรายละเอียดที่ขอให้ธนาคารดำเนินการ
      • ลงนามโดยผู้มีอำนาจตามหน้าหนังสือรับรอง หรือผู้มีอำนาจกระทำการแทนนิติบุคคลตามหนังสือจัดตั้งและประทับตรานิติบุคคล (ถ้ามี)
    • หนังสือรับรองจดทะเบียนนิติบุคคล (มีอายุไม่เกิน 3 เดือน) หรือ หนังสือจัดตั้งแล้วแต่ประเภทนิติบุคคล (ไม่กำหนดอายุเอกสาร) ซึ่งแสดงรายชื่อผู้มีอำนาจกระทำการแทนนิติบุคคล
    • สมุดบัญชีเงินฝาก
    • บัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
    • บุคคลที่สามารถติดต่อขอดำเนินการ
      • ผู้มีอำนาจกระทำแทนนิติบุคคล (ผู้มีอำนาจตามหน้าหนังสือรับรองหรือหนังสือจัดตั้งแล้วแต่ประเภทนิติบุคคล) พร้อมด้วยเอกสารแสดงตน หรือ
      • ผู้มีอำนาจลงนามสั่งจ่าย/ถอนเงิน พร้อมด้วยเอกสารแสดงตน หรือ
      • ผู้รับมอบฉันทะ พร้อมด้วยเอกสารแสดงตน และเอกสารประกอบการมอบฉันทะ

    Black

    Middle|Left

    Left

    InvisibleSectionName

    50

    Padding

    Black

    Middle|Left

    Left

    HtmlBlock

    51

    Padding

    คำถามที่พบบ่อย

    ลูกค้าสามารถคัดค้นข้อมูลรายการภาษีหัก ณ ที่จ่ายดอกเบี้ยเงินฝาก ผ่าน e-Withholding Tax ของ
    กรมสรรพากรได้ตั้งแต่วันที่เท่าไหร่

    ลูกค้าสามารถขอข้อมูลรายการภาษีหัก ณ ที่จ่ายดอกเบี้ยเงินฝาก ผ่าน e-Withholding Tax ของ
    กรมสรรพากรได้อย่างไร

    ลูกค้ากลุ่มใดบ้างที่สามารถขอข้อมูลรายการภาษีหัก ณ ที่จ่ายดอกเบี้ยเงินฝาก ผ่าน e-Withholding Tax ของกรมสรรพากร

    กรณีค้นหาข้อมูลรายการภาษีหัก ณ ที่จ่ายดอกเบี้ยเงินฝากผ่าน e-Withholding Tax ของกรมสรรพากรแล้ว ไม่พบรายการภาษีหัก ณ ที่จ่ายต้องทำอย่างไร

    วิธีขอข้อมูลภาษีหัก ณ ที่จ่ายจากดอกเบี้ยเงินฝากผ่าน e-Withholding Tax ของกรมสรรพากร จะต้องทำอย่างไรบ้าง

    ลูกค้าสามารถขอข้อมูลภาษีหัก ณ ที่จ่ายดอกเบี้ยเงินฝากก่อนวันที่ 10 กรกฎาคม 2564 ผ่าน
    e-Withholding Taxของกรมสรรพากรได้หรือไม่

    กรณีลูกค้าติดต่อสาขาเพื่อขอหนังสือรับรองการ
    หักภาษี ณ ที่จ่ายภาษีดอกเบี้ยเงินฝาก ต้องเตรียมเอกสารอะไรบ้าง

    ลูกค้าบัญชีเงินฝาก Kbank สามารถขอข้อมูล
    ภาษีหัก ณ ที่จ่ายดอกเบี้ยเงินฝาก ช่องทางใดได้บ้าง

    กรณีพบปัญหาการใช้งาน e-Witholding Tax ของกรมสรรพากร ให้ติดต่อกรมสรรพากร ตามช่องทางดังนี้

    ลูกค้าที่ไม่ประสงค์นำยอดดอกเบี้ยเงินฝากไปรวมคำนวณภาษีรายได้ประจำปี เนื่องจากธนาคารได้นำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่ายไปแล้ว สามารถทำได้หรือไม่

    การขอข้อมูลภาษีหัก ณ ที่จ่ายดอกเบี้ยเงินฝากผ่าน e-Withholding Tax ของกรมสรรพากรต่างจาก
    ขอผ่านสาขาธนาคารอย่างไร?

    Black

    Middle|Left

    Left

    HtmlBlock

    9

    Padding

    ลูกค้าบัญชีเงินฝากกสิกร สามารถขอข้อมูลภาษีหัก ณ ที่จ่ายดอกเบี้ยเงินฝาก

    ผ่านระบบออนไลน์ e-Withholding Tax ​ จากเว็บไ​ซต์ของกรมสรรพากร ได้ข้อมูลทันที ตลอด 24 ชม.

    ซึ่งธนาคารมีการนำส่งข้อมูลรายการภาษี
    หัก ณ ที่จ่ายดอกเบี้ยเงินฝาก
    ให้กับกรมสรรพากร
    ตั้งแต่ 10 ก.ค. 64 เป็นต้นไป

    ​​

    Black

    Middle|Left

    Left

    None

    10

    Padding

    E-withholding tax ผู้ถูกหัก
     

    ภาษีดอกเบี้ยเงินฝาก ที่ถูกหักเดือน ธ.ค. 2565​

    ลูกค้าสามารถขอผ่าน ระบบออนไ​ลน์
    e-Witholding Tax
    เว็บไซต์ของกรมสรรพากรได้

    ตั้งแต่ 26 ธันวาคม 2565
    เป็นต้นไป

    Black

    Middle|Left

    Left

    None

    Padding

    Black

    Middle|Left

    Left

    None

    Padding

    Black

    Middle|Left

    Left

    None

    Padding

    Black

    Middle|Left

    Left

    None

    Padding

    Black

    Middle|Left

    Left

    None

    Padding

    Black

    Middle|Left

    Left

    None

    Padding

    Black

    Middle|Left

    Left

    None

    Padding

    Black

    Middle|Left

    Left

    None

    Padding

    Black

    Middle|Left

    Left

    None

    Padding

    Black

    Middle|Left

    Left

    None

    Padding

    Black

    Middle|Left

    Left