ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce

����������� ��ù��� ����֡�� ���������� >>

�ҳԪ������硷�͹ԡ��

��кǹ��÷ҧ����硷�͹ԡ��

�բ�鹵͹����Ӥѭ 5 ��鹵͹ �ѧ���

1. ��ä��Ң�����

��鹵͹�á�ͧ��ë����Թ����繡�ä��Ң������Թ��ҷ���ͧ��� ���ǹӢ�����������ҹ�������������º��º�ѹ �������䫵������ ���� Search Engines �� http://www.google.com �繵�

2. �����觫����Թ���

������١������͡�Թ��ҷ���ͧ������� �й���¡�÷���ͧ����������к��С��� ��Ш��ա�äӹdz �������·����� ���١������ö��Ѻ����¹��¡����л���ҳ��������

3. ��ê����Թ

������١��ҵѴ�Թ㨫����Թ��ҷ���ͧ��� 㹢�鹶Ѵ�Ҩ��繡�á�˹��Ըա�ê����Թ �������Ѻ�����дǡ�ͧ�١�����Ҩ����͡�Ը��˹

4. ������ͺ�Թ���

������١��ҡ�˹��Ըա�ê����Թ���º�������� ���������Ը����͡���Թ��� ��觡�����ͺ�Թ����Ҩ�Ѵ������١����µç ������ԡ�ú���ѷ�����Թ��� �����觼�ҹ��������硷�͹ԡ�� �� ��ô�ǹ���Ŵ�ŧ �繵�

5. ������ԡ����ѧ��â��

��ѧ�ҡ������鹡������Թ�������Ф��� ��ҹ��ҵ�ͧ�պ�ԡ����ѧ��â�����Ѻ�١��� ����Ҩ���繵Դ��͡Ѻ�١��Ҽ�ҹ�ҧ���͢����Թ������ �� ������ �����纺���

ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce
�������¢ͧ����硷�͹ԡ��
ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce
�����Ӥѭ�ͧ�ҳԪ������硷�͹ԡ��
ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce
�������ͧ�դ�������
ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce
��кǹ��÷ҧ����硷�͹ԡ��
ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce
���ҷ�ͧ�Ѱ㹡��������� E-Commerce
ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce
��ʹբͧ����� E - Commerce
ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce
��ͨӡѴ㹡���� E-Commerce
ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce
�Ƿҧ���
ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce
�������դ�������
ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce
����ª��ͧ�ҳԪ������硷�͹ԡ�� (E-Commerce)

ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce
ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce
ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce
ขั้นตอนการทําธุรกรรม e-commerce

ตัวอย่างการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ 

         1. การซื้อ-ขายสินค้าผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

         2. การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce - E-Commerce)

         3. การสมัครสมาชิกผ่านระบบออนไลน์

         4. การตกลงทำสัญญาซื้อ-ขาย หรือสัญญาตกลงตามข้อบังคับต่างๆ บนเครือข่าย

         5. การโอนเงินด้วยระบบอัตโนมัติผ่านระบบเครือข่าย

         6. การสื่อสาร ส่ง-รับข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเครือข่ายการสื่อสาร

         7. การสอบถามข้อมูลผ่านระบบออนไลน์

         8. การส่ง-รับ แลกเปลี่ยนข้อมูลและยืนยันเอกสารทางศุลกากรด้วยระบบการแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange - EDI) 

ที่มา:www.chakkham.ac.th

ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transaction) กับ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) เหมือนกันหรือไม่ อย่างไร ???

ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transaction) หมายถึง กิจกรรมใด ๆ ที่กระทำขึ้นระหว่างหน่วยธุรกิจ บุคคล รัฐ ตลอดจนองค์กรเอกชนหรือองค์กรของรัฐใด ๆ เพื่อวัตถุประสงค์ทางธุรกิจ การค้า และการติดต่องานราชการ โดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมดหรือแต่บางส่วน ยกตัวอย่าง เช่น การซื้อ-ขายสินค้าผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต, การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, การสมัครสมาชิกผ่านระบบออนไลน์, การตกลงทำสัญญาซื้อ-ขาย หรือสัญญาตกลงตามข้อบังคับต่างๆ บนเครือข่าย, การโอนเงินด้วยระบบอัตโนมัติผ่านระบบเครือข่าย, การสื่อสารรับ-ส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเครือข่ายการสื่อสาร และการสอบถามข้อมูลผ่านระบบออนไลน์ เป็นต้น           แต่ e-commerce เป็นการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายที่ครอบคลุมการซื้อการขายสินค้าและบริการ โดยกระทำผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นต้น เห็นได้ว่า ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Transaction) มีขอบเขตที่กว้างกว่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-commerce)

พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ กำหนดหลักเกณฑ์เรื่องลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างไร

          ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 กำหนดเรื่องลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ มี 2 ประเภท คือ

          1. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ทั่วไป ตามมาตรา 9 (หลักของ ม. 9 คือ การลงลายมือชื่อต้องใช้วิธีการที่เชื่อถือได้) รองรับความเท่าเทียมกันระหว่างลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์และลายมือชื่อที่เซ็นต์กันปกติ ซึ่งเป็นหลักเปิดกว้างเพื่อรองรับวิธีการทุกประเภทที่อาจนำมาใช้ในการลงลายมือชื่อในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดย มาตรา 9 แบ่งส่วนประกอบ 2 ส่วน ได้แก่

          ส่วนที่ 1 คือ เพื่อระบุตัวบุคคลผู้เป็นเจ้าของลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์

          ส่วนที่ 2 คือ การแสดงถึงความเห็นชอบของบุคคลในการรับรองข้อความที่อยู่ในรูปของข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็น “วิธีการที่เชื่อถือได้” (ดูพฤติการณ์ที่เหมาะสมในการกำหนดว่า อย่างไรคือ วิธีที่เชื่อถือได้ เช่น ความซับซ้อนของเครื่องมือ ศักยภาพของระบบ การติดต่อสื่อสาร เป็นต้น)

          2. ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อถือได้ ตามมาตรา 26 เมื่อใช้เทคโนโลยีตามคุณสมบัติหรือหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด ให้ถือว่า เป็นลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่เชื่อถือได้ โดย วิธีการเชื่อถือได้พิจารณาตามที่กฎหมายกำหนด เช่น เทคโนโลยีที่มีคุณสมบัติหรือลักษณะเป็นลายมือชื่อดิจิตัล (digital signature) (หมวด 2 แห่ง พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ เพื่อเสริมมาตรา 9) ดังนั้น ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรา 26 จึงเป็นการลงลายมือชื่อตามมาตรา 9 และสามารถใช้แทนกันได้ โดยไม่ต้องพิสูจน์ตามหลักเกณฑ์ในมาตรา 9 วรรคสอง ก. ถึง ค. อีก

สิ่งพิมพ์ออกตามประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการรับรองสิ่งพิมพ์ออก พ.ศ. 2555 คืออะไร

สิ่งพิมพ์ออกของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นเอกสารต้นฉบับ

การรับรองระบบการพิมพ์ออกตามประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการรับรองสิ่งพิมพ์ออก พ.ศ. 2555 คืออะไร

การรับรองกระบวนการในการพิมพ์เอกสาร โดยไม่ได้รับรองเนื้อหาหรือข้อความในเอกสารว่าถูกต้องแท้จริง

ประโยชน์ของการรับรองการพิมพ์ออกตามประกาศคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เรื่องการรับรองสิ่งพิมพ์ออก พ.ศ.2555 คืออะไร

สามารถใช้แทนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นต้นฉบับได้

การทำกิจกรรมลุ้นของรางวัลผ่านแอพพลิเคชั่น (Application) บนมือถือเป็นการดำเนินกิจกรรม
ที่ต้องมีการขออนุญาตตามกฎหมายธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์หรือไม่

โดยหลักแล้วการดำเนินกิจกรรมใด ๆ โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วนพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ได้กำหนดมาตรการหรือหลักเกณฑ์รองรับสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ให้เสมอด้วยกระดาษ เพื่อให้การกระทำใด ๆ ตามที่กฎหมายบัญญัติสามารถทำในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้และมีผลผูกพัน ตามกฎหมาย ดังนั้น เมื่อพิจารณารูปแบบการดำเนินกิจกรรมลุ้นของรางวัลผ่านแอพพลิเคชั่นบนมือถือ อาจพิจารณาได้ว่า เป็นกิจกรรมที่ทำขึ้นกับบุคคลโดยใช้วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ภายใต้พระราช บัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์

การพิจารณาว่ากิจกรรมดังกล่าวเป็นธุรกรรมที่ต้องขออนุญาตตามพระราช บัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 หรือไม่นั้น ผู้ให้บริการจะต้องพิจารณาว่าการดำเนินกิจกรรมของตนเป็นธุรกิจบริการเกี่ยว กับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นธุรกิจบริการที่จะต้อง มีการแจ้งให้ทราบ ขอขึ้นทะเบียน หรือขอใบอนุญาตก่อนประกอบกิจการด้วยหรือไม่ ซึ่งหลักเกณฑ์ที่กำหนดเงื่อนไขต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์กำหนดในหมวด 3 เรื่องธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ภายใต้พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544

อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันธุรกิจบริการเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ที่จะต้องแจ้งให้ทราบ ต้องขึ้นทะเบียน หรือต้องได้รับใบอนุญาตก่อนประกอบธุรกิจคือ ธุรกิจบริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ตามที่พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการควบ คุมดูแลธุรกิจบริการการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2551 กำหนด

นอกจากนี้ ผู้ให้บริการควรคำนึงถึงการปฏิบัติตามกฎหมายอื่น ๆ เช่น พระราชบัญญัติการพนัน พ.ศ. 2478 เป็นต้น ว่ากิจกรรมของตนเป็นการดำเนินกิจกรรมที่เข้าข่ายห้ามประกอบกิจการหรือต้อง ได้รับการอนุญาตตามกฎหมายก่อนหรือไม่ ซึ่งสอบถามได้จากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย