การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคุมไฟฟ้า pdf

3104-1004     การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคุมไฟฟ้า    2-3-3

(Computer programming in electrical control)

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้

1.      เข้าใจพื้นฐานของคอมพิวเตอร์และระบบบัสแบบต่างๆ

2.      เขียนและประยุกต์ใช้โปรแกรมในการควบคุมอุปกรณ์ภายนอก

3.   มีกิจนิสัยในการทำงานด้วยความประณีต รอบคอบ และปลอดภัย

สมรรถนะรายวิชา

1.      แสดงความรู้เกี่ยวกับพื้นฐานของคอมพิวเตอร์และระบบบัสแบบต่างๆ

2.      เขียนโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูงในการควบคุมอุปกรณ์ภายนอก

3.    ประยุกต์ใช้งานระบบคอมพิวเตอร์ติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอกผ่านทางพอร์ตขนาน พอร์ตอนุกรมและ บัสภายใน

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ การปฏิสัมพันธ์ระหว่างฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ การประมวลผลข้อมูล การออกแบบและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง การประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์เพื่อการควบคุม รับ และส่ง สัญญาณ ติดต่อกับอุปกรณ์ภายนอกผ่านทางพอร์ตอนุกรม พอร์ตขนาน การเชื่อมต่อกับระบบกำลัง

แผนการจดั การเรยี นรู้

การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ น
งานควบคุมไฟฟา
(3104-1004)

นางสาวกวสิ รา อับดลุ ลาติฟ
พนกั งานราชการครู

ประจาํ แผนกวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิทยาลัยการอาชีพปตตานี

100% สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

1

แผนการจัดการเรียนรู้

แบบฐานสมรรถนะบูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

วชิ า การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นงานควบคุมไฟฟา้
รหสั วิชา 3104-1004

หลกั สตู รประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้ันสงู พทุ ธศักราช 2557

จัดทำโดย
นางสาวกวสิ รา อบั ดลุ ลาติฟ

วทิ ยาลัยการอาชพี ปตั ตานี
สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ

2

คำนำ

แผนการจัดการเรียนรูว้ ิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคุมไฟฟ้า รหัสวชิ า 3104-
1004 เลม่ นี้ เรียบเรยี งขน้ึ ตามจุดประสงคร์ ายวิชา มาตรฐานรายวชิ า และคำอธบิ ายรายวิชา หลักสูตร
ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 ของสำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

แผนการจดั การเรียนรเู้ ล่มน้ีเปน็ แผนการจดั การเรียนร้มู ุ่งเน้นสมรรถนะ บรู ณาการหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วย 11 หน่วยการเรียน ใช้เวลาสอนทั้งหมด 90 ชั่วโมง
โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนด้านทักษะการคิดและความสามารถในการปฏิบัติการโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ด้วยวิธีการสอนแบบฝึกทักษะ มสี ือ่ ประกอบการเรียนการสอน เช่น เอกสารแนะแนวทาง ใบ
งาน บทเรียนแบบโปรแกรม และการใช้โปรแกรม ในส่วนการวัดและประเมินผลใช้แบบสังเกต
แบบทดสอบ และแบบประเมนิ

ขอขอบคุณผู้อำนวยการวิทยาลัยการอาชีพปัตตานี รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ หัวหน้าแผนก
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและหัวหน้างานหลักสูตรที่ได้จัดโครงการพัฒนาความรู้ ความสามารถในการ
เขียนแผนการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะและบูรณาการหลักของปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียงให้กับ
เพื่อนครู โดยมุ่งหวังให้ครูได้สร้างสรรค์ผลงานวิชาการประเภทแผนการจัดการเรียนรู้การเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ในงานควบคุมไฟฟ้าที่เน้นกระบวนการฝึกทักษะด้านสมรรถนะหลักที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21
และการบูรณาการหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล
สงู สุดต่อผเู้ รียน

กวิสรา อบั ดุลลาติฟ

สารบัญ 3

แผนการจดั การเรยี นรู้ หนา้
การวิเคราะห์หนว่ ยการเรียนร้แู ละสมรรถนรายวิชา 1
ตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู รรายวิชา 4
ตารางวเิ คราะหห์ น่วยการเรยี นรแู้ ละเวลาทใ่ี ชใ้ นการจดั การเรียนรู้ 5
ปฐมนิเทศ (การเตรยี มความพร้อมก่อนเรียน) 6
7
- แบบทดสอบก่อนเรยี น
หน่วยท่ี 1 สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และองคป์ ระกอบของระบบ 7

คอมพิวเตอร์ 12
หน่วยที่ 2 การออกแบบและขัน้ ตอนการพฒั นาโปรแกรม 17
หน่วยท่ี 3 รหัสเทียม 22
หนว่ ยที่ 4 ขน้ั ตอนการแก้ไขปัญหา 28
หนว่ ยท่ี 5 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอรร์ ะดบั สงู 34
หนว่ ยท่ี 6 โครงสร้างของโปรแกรมและการใชง้ านฟังกช์ ันต่างๆ 41
หน่วยท่ี 7 โครงสรา้ งควบคุมการทำซำ้ 48
หน่วยท่ี 8 การประยุกตใ์ ช้งานคอมพิวเตอร์เพ่ือการควบคุมฟ้า ควบคุม
54
LED/Resister/เปิด-ปดิ ไฟ 0-220 V ด้วย Relay
หนว่ ยท่ี 9 การประยุกตใ์ ชง้ านคอมพิวเตอร์เพื่อการควบคมุ ฟา้ ควบคุม 60

เซนเซอรว์ ัดความชื้นและอุณหภมู ิ DHT11 การติดต่อและ 66
แสดงผลบนจอ LCD แบบ I2C
หน่วยท่ี 10 การประยุกตใ์ ช้งานคอมพวิ เตอร์เพื่อการควบคุมฟ้า ควบคุม
Motor Servo
หน่วยท่ี 11 การประยุกตใ์ ชง้ านคอมพิวเตอร์เพ่ือการควบคุมฟา้ ควบคุม
Motor
ปัจฉิมนิเทศ
แบบทดสอบหลังเรียน
ภาคผนวก
แบบประเมนิ ตนเองของนกั ศึกษา
แบบประเมนิ ครูผสู้ อน

แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
บรรณานุกรม

4

การวิเคราะห์หนว่ ยการเรียนรู้และสมรรถนรายวชิ า

การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคมุ ไฟฟ้า รหสั วิชา 3104-1004

หนว่ ย ช่อื หน่วย สมรรถนะรายวิชา

ที่

1 สถาปัตยกรรมคอมพวิ เตอร์และองค์ประกอบของ แสดงความรู้สถาปตั ยกรรมคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ และองคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์

2 การออกแบบและข้ันตอนการพฒั นาโปรแกรม แสดงความรู้และทกั ษะการออกแบบและ
ขน้ั ตอนการพัฒนาโปรแกรม

3 รหสั เทยี ม แสดงความรู้รหสั เทียม

4 ข้นั ตอนการแก้ไขปัญหา แสดงความรู้ขน้ั ตอนการแก้ไขปัญหา

5 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพวิ เตอร์ระดับสูง แสดงความรู้และทกั ษะการเขียนโปรแกรม
ดว้ ยภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสงู

6 โครงสรา้ งของโปรแกรมและการใชง้ านฟงั กช์ ันตา่ งๆ แสดงความรู้และทักษะโครงสร้างของ

โปรแกรมและการใช้งานฟงั ก์ชันต่างๆ

7 โครงสร้างควบคมุ การทำซำ้ แสดงความรู้และทกั ษะโครงสร้างควบคุม

การทำซำ้

8 การประยุกต์ใช้งานคอมพวิ เตอรเ์ พื่อการควบคมุ ฟ้า แสดงความรูแ้ ละทกั ษะการประยกุ ต์ใชง้ าน

ควบคมุ LED/Resister/เปิด-ปดิ ไฟ 0-220 V ด้วย คอมพวิ เตอร์เพ่ือการควบคมุ ฟา้ ควบคมุ

Relay LED/Resister/เปิด-ปดิ ไฟ 0-220 V ดว้ ย

Relay

การประยุกต์ใชง้ านคอมพิวเตอรเ์ พื่อการควบคมุ ฟา้ แสดงความรแู้ ละทักษะการประยกุ ต์ใชง้ าน

ควบคุม เซนเซอร์วดั ความช้นื และอุณหภมู ิ DHT11 คอมพวิ เตอร์เพื่อการควบคมุ ฟา้ ควบคุม

9 การตดิ ต่อและแสดงผลบนจอ LCD แบบ I2C เซนเซอร์วดั ความชนื้ และอุณหภมู ิ DHT11

การตดิ ต่อและแสดงผลบนจอ LCD แบบ

I2C

การประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอรเ์ พ่ือการควบคมุ ฟา้ แสดงความร้แู ละทักษะการประยกุ ต์ใชง้ าน

10 ควบคมุ Motor Servo คอมพวิ เตอร์เพื่อการควบคุมฟา้ ควบคุม

Motor Servo

การประยุกต์ใช้งานคอมพวิ เตอร์เพ่ือการควบคุมฟา้ แสดงความรู้และทักษะการประยุกต์ใชง้ าน

11 ควบคุม Motor คอมพวิ เตอร์เพื่อการควบคมุ ฟ้า ควบคุม

Motor

5

ตารางวิเคราะห์หลักสูตรรายวชิ า
การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคมุ ไฟฟ้า รหัสวิชา 3104-1004

ระดบั พฤตกิ รรมท่พี ึงประสงค์

หนว่ ย พุทธพิ ิสัย (K)
ที่
ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ ความรู้
ความเ ้ขาใจ
การนำไปใ ้ช
การ ิวเคราะ ์ห
การ ัสงเคราะห์
ประเ ิมนค่า
ทักษะ ิพ ัสย (P)
ิจตพิ ัสย (A)
เวลา (ชม.)

1. สถาปัตยกรรมคอมพวิ เตอร์และ 0.5 0.5 - 1.5 5
องคป์ ระกอบของระบบคอมพิวเตอร์ 0.5 0.5 5 1.5 5
0.5 0.5 5 1.5 5
2. การออกแบบและขน้ั ตอนการพัฒนา
โปรแกรม

3. รหสั เทยี ม

4. ข้ันตอนการแก้ไขปัญหา 11 5 1.5 10

5. การเขียนโปรแกรมด้วย 0.5 0.5 0.5 5 2 10
5 2 10
ภาษาคอมพิวเตอรร์ ะดบั สูง 5 2 10

6. โครงสรา้ งของโปรแกรมและการใชง้ าน 1 1 0.5

ฟังกช์ นั ต่างๆ

7. โครงสรา้ งควบคุมการทำซำ้ 111

8 การประยุกต์ใชง้ านคอมพิวเตอรเ์ พื่อการ 1 1 1.5 1.5 5 2 10

ควบคุมฟ้า ควบคมุ LED/Resister/

เปิด-ปิดไฟ 0-220 V ดว้ ย Relay

9. การประยุกต์ใชง้ านคอมพิวเตอรเ์ พ่ือการ 1 1 1 1 5 2 10

ควบคุมฟ้า ควบคุม เซนเซอร์วดั

ความชื้นและอุณหภูมิ DHT11 การ

ติดตอ่ และแสดงผลบนจอ LCD แบบ

I2C

10. การประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอรเ์ พื่อการ 1 1 1 1 5 2 10

ควบคมุ ฟ้า ควบคุม Motor Servo

11. การประยุกต์ใช้งานคอมพวิ เตอรเ์ พื่อการ 1 1 1.5 1.5 5 2 5

ควบคมุ ฟ้า ควบคมุ Motor

รวม 5 5 6 4 5 5 50 20 90

สดั ส่วนคะแนน (รอ้ ยละ) 30 50 20 90

หมายเหตุ อัตราส่วนคะแนน ทฤษฎี : ปฏบิ ัติ = 30 : 50

6

ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรแู้ ละเวลาทีใ่ ช้ในการจัดการเรยี นรู้
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคุมไฟฟ้า รหัสวชิ า 3104-1004

หน่วยที่ ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้และรายการสอน สปั ดาห์ที่ ชวั่ โมงที่
1. สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบของ 1 5
ระบบคอมพิวเตอร์
2. 2 5
3. การออกแบบและขน้ั ตอนการพฒั นาโปรแกรม 3 5
4. 4-5 10
5. รหัสเทียม 6-7 10
6. 8-9 10
7. ข้ันตอนการแก้ไขปัญหา 10 -11 10
8 การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาคอมพวิ เตอร์ระดับสูง 12 -13 10

9. โครงสร้างของโปรแกรมและการใช้งานฟังก์ชนั ต่างๆ 14 -15 10

10. โครงสรา้ งควบคมุ การทำซำ้ 16 - 17 10

11. การประยุกต์ใช้งานคอมพวิ เตอรเ์ พื่อการควบคุมฟ้า 18 5
ควบคมุ LED/Resister/เปิด-ปิดไฟ 0-220 V ดว้ ย
Relay 18 90

การประยุกต์ใชง้ านคอมพิวเตอร์เพ่ือการควบคมุ ฟา้
ควบคุม เซนเซอรว์ ดั ความชื้นและอุณหภูมิ DHT11
การตดิ ต่อและแสดงผลบนจอ LCD แบบ I2C

การประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอรเ์ พื่อการควบคมุ ฟ้า
ควบคมุ Motor Servo

การประยุกต์ใชง้ านคอมพวิ เตอร์เพื่อการควบคุมฟ้า
ควบคมุ Motor

สอบประมวลความรู้

7

แผนการสอน/แผนการเรยี นรภู้ าคทฤษฎี

แผนการสอน/การเรยี นรูภ้ าคทฤษฎี หนว่ ยท่ี 1

ชอ่ื วิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคุมไฟฟา้ สัปดาห์ท่ี 1

ชื่อหน่วย สถาปตั ยกรรมคอมพวิ เตอร์ องคป์ ระกอบของ 5 ช่ัวโมง

ระบบคอมพิวเตอร์

ชอ่ื เรื่อง สถาปตั ยกรรมคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์

หัวข้อเรือ่ ง

ด้านความรู้

1. ระบบคอมพวิ เตอร์

2. หลักการเขียนโปรแกรม

2.1 การวิเคราะห์งาน

2.1.1 การวิเคราะหผ์ ลลัพธ์

2.1.2 การวเิ คราะห์ข้อมูลเขา้

2.1.3 การวิเคราะห์กระบวนการแก้ปัญหาหรือการประมวลผลขอ้ มูล

2.1.4 ตวั อยา่ งการวิเคราะหง์ าน

2.2 การวางแผนแกป้ ัญหา

2.2.1 การใชผ้ งั งาน

2.2.2 การใช้รหสั เทียม

2.3 การเขยี นโปรแกรม

2.3.1 ภาษาคอมพวิ เตอร์

2.3.2 โครงสร้างแบบลำดบั ข้ัน

2.3.3 โครงสรา้ งแบบเลอื กทำ

2.3.4 โครงสรา้ งแบบทำซำ้

2.4 การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม

2.5 การทำเอกสารประกอบโปรแกรม

2.6 การบำรงุ รกั ษาโปรแกรม

ดา้ นทกั ษะ

-

ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม

1. ความรับผิดชอบ

2. ความสนใจใฝร่ ู้

8

สาระสำคญั
การเขียนโปรแกรม หรือ Programming หมายถึงกระบวนการเขียนชุดคำสัง่ ด้วยภาษา คอมพิวเตอร์

เพื่อกำหนดโครงสร้างของข้อมูล และกำหนดขั้นตอนการแก้ปัญหาเพื่อใช้แก้ปัญหา ตามที่ได้ออกแบบไว้
โดยอาศัยหลักเกณฑ์การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์แต่ละภาษา
การเขียนโปรแกรมหรือการเขียนชุดคำสั่งด้วยภาษาคอมพิวเตอร์นี้ โดยทั่วไปแต่ละภาษาจะมี
หลักเกณฑ์ในการเขียนและการออกแบบโปรแกรมเหมือนกัน ซึ่งสามารถแบ่งขั้นตอนการเขียน
โปรแกรมออกได้เป็น 6 ขั้นตอน คือ 1. การวิเคราะห์ปัญหา (Analysis the Problem) 2. วางแผน แก้ปัญหา
(Algorithm Design) 3. การเขยี นโปรแกรม (Program Coding) 4. ทดสอบและแก้ไข โปรแกรม (Program
Testing and Debugging) 5. ก า ร ท ำ เ อ ก ส า ร ป ร ะ ก อ บ โ ป ร แ ก ร ม ( D o c u m e n t a t i o n ) แ ล ะ
6.การบำรงุ รกั ษาโปรแกรม (Program Maintenance)
สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย

1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั สถาปัตยกรรมคอมพวิ เตอร์ องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
จุดประสงค์การสอน/การเรยี นรู้

จดุ ประสงคท์ ั่วไป / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1.เพื่อให้มคี วามรู้พื้นฐานเก่ียวหลักการเขยี นโปรแกรมและมีทศั นคติทดี่ ี (ด้านความรู้)
2.เพื่อให้มเี จตคติทด่ี ีต่อการเตรยี มความพร้อมด้าน วสั ดุ อุปกรณ์ และการปฏบิ ัตงิ านอยา่ ง
ถกู ต้องเรจ็ ภายในเวลาท่กี ำหนด มีเหตุและผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ด้าน
คณุ ธรรม จริยธรรม)

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1. บอกถงึ องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ ได้ถูกตอ้ ง (ดา้ นความรู้)
2. บอกถงึ หลักการเขียนโปรแกรม ได้ถูกต้อง (ดา้ นความรู้)
3. บอกความหมายการวิเคราะห์ผลลัพธ์ ได้ถูกต้อง (ด้านความร้)ู
4. บอกความหมายการวเิ คราะหข์ ้อมูลเขา้ ได้ถูกต้อง (ดา้ นความร้)ู
5. บอกความหมายการวเิ คราะหก์ ระบวนการแกป้ ญั หาหรอื การประมวลผลข้อมูลได้ถกู ต้อง
(ดา้ นความร)ู้
6. บอกความหมายการวางแผนแก้ปัญหา ได้ถูกตอ้ ง (ดา้ นความรู้)
7. บอกถึงลักษณะการเขียนโปรแกรมโครงสร้างแบบตา่ ง ๆ ได้ถูกต้อง (ด้านความรู้)
8. บอกความหมายการทดสอบและแก้ไขโปรแกรม ไดถ้ กู ต้อง (ด้านความร)ู้
9. บอกความหมายการทำเอกสารประกอบโปรแกรม ไดถ้ ูกต้อง (ด้านความรู้)
10. บอกความหมายการบ ารุงรกั ษาโปรแกรม ได้ถกู ต้อง (ด้านความร)ู้
11. การเตรียมความพร้อมด้านการเตรยี มวัสดุ อุปกรณ์ ผเู้ รียนจะต้องกระจายงานไดท้ ั่วถึง
และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทุกคน มีการจัดเตรียมสถานที่ ส่อื วสั ดุ
อุปกรณ์ไวอ้ ย่างพร้อม เพรยี ง (ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
12. ความมเี หตมุ ผี ลในการปฏิบตั ิงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เรียนจะต้อง
มีการใช้หลักการเรยี นรแู้ ละเวลาท่เี หมาะสมกบั การเรียนรู้ (ด้านคณุ ธรรม
จรยิ ธรรม/บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียง)

9

กิจกรรมการเรียนการสอนหรอื การเรียนรู้

ขน้ั ตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขนั้ ตอนการเรยี นรู้หรือกจิ กรรมของนักเรียน

1. ข้ันนำเขา้ สบู่ ทเรยี น การจัดการเรียนการสอน โดยใช้ 1. ขั้นนำเข้าส่บู ทเรยี น การจัดการเรียนการสอน

Google for Education โดยใช้ Google for Education
1. ผสู้ อนจัดเตรียมเอกสาร พร้อมกับแนะนำ รายวิชา 1. ผู้เรยี นเตรียมอุปกรณ์และฟงั ครผู ู้สอนแนะนำ
วิธีการใหค้ ะแนนและวิธกี ารเรียนผ่านห้องเรยี นออนไลน์ รายวชิ า วธิ กี ารให้คะแนนและวิธีการเรียนเร่ือง

Google Classroom เรอื่ ง สถาปตั ยกรรมคอมพิวเตอร์ สถาปัตยกรรมคอมพวิ เตอร์ องคป์ ระกอบของ
องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์ พรอ้ ม login เพ่ือเขา้ ห้องเรยี น
2. ผูส้ อนแจง้ จดุ ประสงค์การเรยี นของหนว่ ย Google Classroom

เรียนท่ี 1 และขอใหผ้ ู้เรยี นรว่ มกนั ทำกิจกรรมการเรียน 2. ผเู้ รยี นทำความเข้าใจเกย่ี วกับจุดประสงคก์ าร

การสอน เรียนของหนว่ ยเรยี นที่ 1

3. ผู้สอนเสนอสง่ิ เร้าให้ผเู้ รียนแสดงความรู้ โดยต้ังคำถาม ว่า และการให้ความร่วมมือในการ ทำกจิ กรรม

หลกั การเขียนโปรแกรมมีหลกั การอย่างไรพรอ้ มให้ 3. ผ้เู รียนแสดงความรูว้ ่าหลกั การเขยี นโปรแกรม
เหตุผลประกอบผ่าน padlet มีหลักการอย่างไร พร้อมให้เหตุผลประกอบผา่ น
2. ข้นั ใหค้ วามรู้ https://www.padlet.com/

1. ผสู้ อนทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ สถาปัตยกรรม 2. ขน้ั ให้ความรู้

คอมพิวเตอร์ องคป์ ระกอบของคอมพิวเตอร์โดยใหผ้ ู้เรยี นทำ 1. ผู้เรยี นตอบคำถามจากผูส้ อน เพื่อแสดงความรู้

แบบทดสอบกอ่ นเรียนด้วยโปรแกรม quizizz และความเข้าใจก่อนการเรียน วชิ า

2. ผู้สอนอธิบายเนือ้ หาเก่ยี วกับบทเรยี นวชิ า การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคมุ

การเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในงานควบคุมไฟฟ้า หนว่ ยท่ี ไฟฟา้ หน่วยที่ 1 เร่อื งสถาปัตยกรรมคอมพวิ เตอร์

1 เร่อื งสถาปตั ยกรรมคอมพวิ เตอร์ องค์ประกอบของ องคป์ ระกอบของคอมพวิ เตอร์และ

คอมพิวเตอร์และ ให้ผู้เรยี นศึกษาเอกสารประกอบการสอน ศกึ ษาเอกสารประกอบการสอน หนว่ ยที่ 1

หน่วยที่ 1 2. ผเู้ รียนอธิบายและยกตวั อยา่ งถงึ กระบวนการ

3. ผสู้ อนและผู้เรียนรว่ มกนั อภิปรายพรอ้ ม และองค์ประกอบของ

ยกตัวอย่างถงึ หลกั การเขียนโปรแกรมสถาปัตยกรรม คอมพวิ เตอร์ตามท่ีไดศ้ ึกษาจาก

คอมพวิ เตอร์ องคป์ ระกอบของคอมพิวเตอร์ตามที่ บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนในห้องเรียน

ได้ศึกษาจากบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน google Classroom
3. ขนั้ ประยุกต์ใช้ 3. ข้นั ประยกุ ต์ใช้
1. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำใบงานท่ี 1 1. ผู้เรียนทำใบงานที่ 1

2. ผู้สอนให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหดั ท้ายบทที่ 1 2. ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 1
4. ข้นั สรุปและประเมนิ ผล 4. ขนั้ สรุปและประเมินผล
1. ให้ผ้เู รียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน 1. ผเู้ รยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น

2. ผสู้ อนและผู้เรียนรว่ มกันสรปุ เน้อื หาที่ได้เรียน 2. ผู้สอนและผูเ้ รียนร่วมกันสรปุ เน้ือหาท่ีได้เรียน
ใหม้ ีความเข้าใจในทิศทางเดยี วกนั เพอื่ ใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกัน
3. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนศกึ ษาเพิ่มเตมิ นอกหอ้ งเรยี น 3. ผูเ้ รยี นศึกษาเพ่ิมเตมิ นอกหอ้ งเรยี น ด้วย

ด้วยบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนทจ่ี ัดทำขน้ึ บทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนทีจ่ ัดทำขนึ้
(บรรลุจดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-10) (บรรลจุ ดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมขอ้ ที่ 1-10)

10

งานที่มอบหมายหรอื กจิ กรรมการวัดผลและประเมนิ ผล
กอ่ นเรยี น

1. จดั เตรยี มเอกสาร สื่อการเรยี นการสอนหนว่ ยท่ี 1
2. ทำความเขา้ ใจเกีย่ วกบั จุดประสงค์การเรียนของหน่วยท่ี 1 และใหค้ วามร่วมมอื ในการ
ทำกิจกรรมในหน่วยที่ 1
3. ตอบคำถามก่อนเรยี น โดยการถาม – ตอบ หน่วยที่ 1
ขณะเรียน
1.ปฏบิ ัติตามใบความรู้ท่ี 1 เรอ่ื งสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์
2. ร่วมกันสรปุ “สถาปัตยกรรมคอมพวิ เตอร์ องคป์ ระกอบของคอมพวิ เตอร์”
3. ร่วมกันทำกิจกรรมการเรยี นรู้
หลงั เรียน
1.ทำใบงานท่ี 1
2.ทำแบบฝกึ หดั ท้ายบทท่ี 1
3.ทำแบบประเมนิ การเรยี นรู้
ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสำเรจ็ ของผู้เรียน
กจิ กรรม ใหผ้ เู้ รยี นทำแบบฝึกหัด
สมรรถนะทีพ่ ึงประสงค์
ผเู้ รยี นสร้างความเขา้ ใจเกย่ี วกับสถาปัตยกรรมคอมพวิ เตอร์ องคป์ ระกอบของคอมพวิ เตอร์

1.วิเคราะห์และตีความหมาย
2.ตง้ั คำถาม
3.อภปิ รายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4.การประยกุ ต์ความรู้สูง่ านอาชีพ
สมรรถนะการสร้างคา่ นิยม
การปลกู ฝังใหม้ ีความรบั ผิดชอบ มีความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ และมคี วามซ่ือสัตย์ในอาชีพของตน
สมรรถนะการปฏบิ ัตงิ านอาชีพ
1. นำความรเู้ กย่ี วกับแนะนำความรู้เบ้อื งต้นเกี่ยวกบั สถาปัตยกรรมคอมพวิ เตอร์ องค์ประกอบของ
คอมพวิ เตอร์ไปประยุกตใ์ ช้ใน การดดำเนนิ ชวี ติ ประจำวัน
สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้อง แนะนำความรเู้ บ้ืองต้นเก่ยี วกับสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของ
คอมพิวเตอร์ทำให้ผเู้ รยี นมีความรูเ้ พม่ิ ขึน้ เม่ือ ผู้เรียนได้เรยี นรู้ทำให้มีความรู้ในเร่ืองสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์มากข้นึ
สื่อการเรยี นการสอน/การเรียนรู้ ส่ือส่ิงพมิ พ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคุมไฟฟ้า (ใช้ประกอบการ
เรียนการสอนจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมข้อท่ี 1-10)
2. ใบความรูแ้ ละใบงาน

11

สื่อโสตทศั น์ /เทคโนโลยใี ช้ประกอบการสอน(ถ้ามี)
1. บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน เรื่องผงั งาน
2. Google App for Education
3.จบั กลุ่ม Classdojo
4. code.org ,tinkercad.com
5.padlet
6.เกมส์กลุม่ Quizizz ,Quizlet
7.นบั ถอยหลังออนไลน์ Classtools.net
8.ประเมินผลหลังเรียน Socreative

แหลง่ การเรยี นรู้
ในสถานศกึ ษา

1. หอ้ งสมดุ วิทยาลัย
2. หอ้ งปฏิบัตกิ ารคอมพิวเตอร์ ศกึ ษาหาข้อมูลทางอนิ เทอร์เน็ต นอกสถานศึกษา
ผู้ประกอบการ สถานประกอบการ ในท้องถน่ิ

การบรู ณาการ/ความสมั พันธ์กับวิชาอ่นื
1. บูรณาการกบั วชิ าชีวติ และวฒั นธรรมไทย ดา้ นการพูด การอา่ น การเขียนและการฝกึ
ปฏิบัติตนทางสงั คมดา้ นการเตรียมความพรอ้ ม ความรับผิดชอบ และความสนใจใฝ่รู้
2. บูรณาการกบั วิชาภาษาองั กฤษ การใชค้ ำศัพท์ ความหมาย การสบื ค้นข้อมูล
3. บรู ณาการกับวชิ ากีฬาเพื่อพฒั นาสุขภาพและบคุ ลิกภาพ ด้านบคุ ลกิ ภาพในการนำเสนอ หน้าชน้ั เรยี น
การประเมินผลการเรียนรู้
หลักการประเมนิ ผลการเรยี นรู้
กอ่ นเรยี น

1.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรยี น

1.สังเกตการทำงานกลุ่ม
หลงั เรยี น

1.ตรวจแบบฝกึ หัดท้ายบท
2.ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน
3.สรุปผลการรายงานหนา้ ชัน้ เรยี น
ผลงาน/ช้ินงาน/ผลสำเร็จของผเู้ รียน
ตรวจผลงาน กิจกรรม
- กจิ กรรม แบบฝกึ หัด ใบงาน
รายละเอยี ดการประเมินผลการเรยี นรู้

• จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ประกอบด้วย 10 ข้อ 10 คะแนน ดังนี้
1.วิธีการประเมิน : ทดสอบ
2.เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ
3.เกณฑ์การให้คะแนน : ข้อละ 1 คะแนน

12

แผนการสอน/แผนการเรียนร้ภู าคทฤษฎี

แผนการสอน/การเรยี นร้ภู าคทฤษฎี หนว่ ยท่ี 2

ช่อื วิชา การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นงานควบคุมไฟฟ้า สปั ดาหท์ ี่ 2

ช่ือหน่วย การออกแบบและขัน้ ตอนการพฒั นาโปรแกรม 5 ชว่ั โมง

ชื่อเร่อื ง การออกแบบและข้ันตอนการพัฒนาโปรแกรม
หัวข้อเรือ่ ง

ด้านความรู้
1. ความหมายของผงั งาน
2. สญั ลกั ษณ์สำหรับการเขียนผงั งาน
3. หลกั การเขยี นผงั งาน
4. รปู แบบการเขียนผังงาน
4.1 การเขียนผงั งานแบบลำดับขน้ั
4.2 การเขยี นผงั งานแบบเลือกทำ
4.3 การเขียนผังงานแบบทำซ้ำ

ด้านทักษะ
1. เขียนผงั งานตามลกั ษณะงาน

ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1. ความรบั ผดิ ชอบ
2. ความสนใจใฝร่ ู้

สาระสำคญั
ผงั งาน คือการเขียนอธบิ ายข้ันตอนวธิ กี ารทำงานในลักษณะของรูปภาพสญั ลักษณ์ ซง่ึ จะทำให้

สามารถมองเห็นลำดับขั้นตอนการทำงานได้ชัดเจนกว่าการอธิบายในลักษณะของข้อความ ผังงาน
สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญๆ่ คอื ผงั งานระบบ (System Flowchart) และผังงานโปรแกรม(Program
Flowchart) ผังานเป็นการใช้รูปภาพ หรือสัญลักษณ์ ที่เป็นมาตรฐานสากล รวมทั้ง คำอธิบายต่าง ๆ
แสดงลำดับขั้นตอนของการทำ งานของวิธีการประมวลผลตั้งแต่จุดเริ่มต้นจนถึง จุดสิ้นสุด
โดยสัญลกั ษณท์ ่ใี ช้ในผงั งาน รวมถงึ ความหมายของแตล่ ะสญั ลักษณ์ไดถ้ ูกสรา้ งและกำหนด ข้ึนมาจากหนว่ ยงาน
American National Standard Institute (ANSI) และ International Standard Organization (ISO)

13

สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย
1.แสดงความรู้เกี่ยวกับผงั งาน
2.เขียนผังงานตามลักษณะงาน

จดุ ประสงคก์ ารสอน/การเรียนรู้
จดุ ประสงค์ทั่วไป / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง

1.เพื่อให้มคี วามรู้พนื้ ฐานเกี่ยวผังงาน และมที ัศนคติทดี่ ี (ดา้ นความรู้)
2.เพื่อให้มที ักษะการเขยี นผงั งานตามลักษณะงาน (ดา้ นทักษะ)
3.เพื่อให้มเี จตคติทดี่ ีต่อการเตรยี มความพร้อมด้าน วสั ดุ อุปกรณ์ และการปฏิบัติงานอยา่ ง ถูกต้อง
สำเร็จภายในเวลาท่กี ำหนด มีเหตแุ ละผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ด้าน คุณธรรม จรยิ ธรรม)
จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1. บอกความหมายของผงั งาน ได้ถกู ต้อง (ด้านความรู้)
2. บอกสัญลักษณ์สำหรับการเขียนผงั งาน ได้ถูกต้อง (ด้านความร)ู้
3. บอกหลักการเขยี นผงั งาน ได้ถูกตอ้ ง (ด้านความรู้)
4. เขยี นผงั งานแบบลำดับข้นั ไดถ้ กู ต้อง (ดา้ นทักษะ)
5. เขียนผงั งานแบบเลอื กทำ ได้ถกู ต้อง (ด้านทกั ษะ)
6. เขยี นผงั งานแบบทำซ้ำ ได้ถูกต้อง (ด้านทกั ษะ)
7. การเตรยี มความพร้อมด้านการเตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ ผู้เรียนจะตอ้ งกระจายงานไดท้ ว่ั ถงึ
และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทกุ คน มีการจัดเตรยี มสถานที่ ส่อื วสั ดุ อุปกรณไ์ ว้อยา่ งพร้อม เพรียง
(ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
8. ความมเี หตมุ ผี ลในการปฏบิ ัตงิ าน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เรยี นจะต้องมี
การใช้หลกั การเรียนร้แู ละเวลาทเ่ี หมาะสมกบั การเรยี นรู้ (ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพยี ง)

14

กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรยี นรู้

ขั้นตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ขนั้ ตอนการเรียนรู้หรือกิจกรรมของนักเรียน

1. ข้นั นำเข้าสบู่ ทเรียน (60 นาที) 1. ข้นั นำเข้าสูบ่ ทเรียน (60 นาท)ี

1. ผู้สอนจัดเตรยี มเอกสาร 1. ผูเ้ รียนเตรียมอปุ กรณ์

2. ผู้สอนแจง้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี น 2. เขา้ หอ้ งเรียนออนไลน์ Google Classroom

3. ผู้สอนให้ผู้เรยี นแสดงความรู้ โดยตง้ั คำถามดว้ ย 3. ผู้เรียนทำความเข้าใจเกี่ยวกบั จุดประสงค์การ

กระดาน Padlet เรียน

4. ผสู้ อนใชห้ ้องเรียนออนไลน์ Google 4.ผูเ้ รียนแสดงความร้ถู ึงหลักการเขียนผังงาน

Classroom และขอใหผ้ เู้ รียนรว่ มกันทำกิจกรรม แบบเลือกทำ และแบบทำซ้ำพร้อมให้เหตุผลประกอบ

2. ผู้เรยี นทำความเข้าใจเก่ยี วกบั จดุ ประสงคก์ าร
เรยี นของหนว่ ยเรยี นที่ 2
และการให้ความรว่ มมือในการทำกจิ กรรม
3. เรียนแสดงความรวู้ า่ ผังงานมีหลักการอย่างไร
พร้อมใหเ้ หตผุ ลประกอบผา่ นกระดาน Padled

2. ขนั้ ใหค้ วามรู้ (180 นาที) 2. ขน้ั ให้ความรู้ (180 นาที)

1.ผู้สอนทดสอบความร้คู วามเขา้ ใจเก่ียวกบั ผังงาน 1.ผ้เู รยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นผ่าน Quizizz

โดยให้ผูเ้ รยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนดว้ ย Quizizz เพ่ือแสดงความรแู้ ละความเข้าใจกอ่ นการเรียน

หนว่ ยท่ี 2 และใหผ้ ้เู รยี นศกึ ษาเอกสาร

ประกอบการสอน หนว่ ยท่ี 2

2.ผูเ้ รยี นอธบิ ายและยกตัวอย่างผังงานได้ศึกษา

1.ผสู้ อนใหผ้ ู้เรียนทำแบบฝึกปฏบิ ัติ 1. ผเู้ รียนทำแบบฝึกปฏิบตั ิ
รปู แบบการเขียนผงั งานท้งั 3 รูปแบบ 2. ผ้เู รียนทำใบงานที่ 2 และใบงานท่ี 3
2.ผสู้ อนให้ผ้เู รยี นทำใบงานท่ี 2 และใบงานที่ 3

4. ขั้นสรปุ และประเมนิ ผล (60 นาที) 4. ขน้ั สรปุ และประเมินผล (60 นาท)ี

1. ใหผ้ เู้ รียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน 1. ผเู้ รียนทำแบบทดสอบหลังเรียน

2. ผสู้ อนและผเู้ รยี นร่วมกนั สรปุ เนอ้ื หาท่ีไดเ้ รียน 2. ผ้สู อนและผูเ้ รียนร่วมกันสรุปเนื้อหาที่ไดเ้ รียน

ให้มีความเขา้ ใจในทศิ ทางเดยี วกัน เพ่ือใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกนั

3. ผ้สู อนเปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นซักถามและความคาดหวงั 3. ผเู้ รียนซักถามร่วมกันแสดงความคาดหวังและ

และใหผ้ ู้เรยี นศึกษาเพมิ่ เติมนอกห้องเรียน ศกึ ษาเพ่มิ เตมิ นอกห้องเรียน ดว้ ย

ด้วยบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนท่ีจัดทำข้นึ ผา่ น บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนท่ีจดั ทำขน้ึ ผา่ น

หอ้ งเรยี นออนไลน์ ห้องเรียนออนไลน์

15

งานทีม่ อบหมายหรือกิจกรรมการวัดผลและประเมินผล กอ่ นเรยี น
1. จดั เตรียมเอกสาร ส่อื การเรียนการสอนหนว่ ยที่ 2
2. ทำความเข้าใจเกย่ี วกับจุดประสงคก์ ารเรียนของหนว่ ยท่ี 2 และใหค้ วามรว่ มมือในการทำกจิ กรรม

ในหนว่ ยที่ 2
3. ตอบคำถามก่อนเรียน โดยการถาม – ตอบ หนว่ ยที่ 2

ขณะเรียน
1.ปฏบิ ัตติ ามใบความรู้ท่ี 2 เรอื่ งผังงาน
2. ร่วมกันสรปุ
3. ร่วมกนั ทำกจิ กรรมการเรยี นรู้

หลังเรียน
1.ทำใบงานท่ี 2-3
2.ทำแบบฝกึ หัดท้ายบทท่ี 2
3.ทำแบบประเมนิ การเรยี นรู้

ผลงาน/ชิน้ งาน/ความสำเรจ็ ของผเู้ รียน กจิ กรรม ให้ผ้เู รยี นทำแบบฝึกหดั
สมรรถนะที่พึงประสงค์

ผเู้ รียนสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับผงั งาน
1.วิเคราะห์และตีความหมาย
2.ตั้งคำถาม
3.อภิปรายแสดงความคิดเหน็ ระดมสมอง
4.การประยกุ ต์ความรู้สงู่ านอาชพี
สมรรถนะการสรา้ งค่านิยม
การปลกู ฝงั ใหม้ ีความรบั ผิดชอบ มคี วามคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ และมคี วามซือ่ สตั ย์ในอาชพี ของตน
สมรรถนะการปฏบิ ตั งิ านอาชีพ
1. นำความร้เู กย่ี วกบั แนะนำความร้เู บื้องตน้ เกยี่ วกบั ผังงานไปประยุกต์ใช้ในการดำเนิน ชีวิตประจำวนั
สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้องแนะนำความรเู้ บ้ืองตน้ เกีย่ วกับผงั งานทำใหผ้ เู้ รยี นมีความรเู้ พิ่มขนึ้
เมอื่ ผ้เู รียนได้เรยี นรู้ทำให้ มีความรูใ้ นเรอ่ื งผังงานมากข้ึน
สอ่ื การเรียนการสอน/การเรียนรู้ สอ่ื ส่ิงพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในงานควบคมุ ไฟฟา้ (ใชป้ ระกอบการ
เรยี นการสอนจุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมข้อที่ 1-6)
2. ใบความรู้และใบงาน
สื่อโสตทศั น์ /เทคโนโลยีใช้ประกอบการสอน(ถา้ มี)
1. บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน เร่ืองผงั งาน
2. Google App for Education
3.จับกลมุ่ Classdojo
4. code.org ,tinkercad.com
5.padlet

16

6.เกมสก์ ลุ่ม Quizizz ,Quizlet
7.นบั ถอยหลงั ออนไลน์ Classtools.net
8.ประเมนิ ผลหลงั เรยี น Socreative

แหล่งการเรียนรู้
ในสถานศกึ ษา

1. ห้องสมุดวิทยาลัย
2. ห้องปฏบิ ัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ ศกึ ษาหาข้อมูลทางอินเทอร์เนต็ นอกสถานศกึ ษา ผูป้ ระกอบการ
สถานประกอบการ ในท้องถิน่
การบูรณาการ/ความสัมพันธ์กบั วชิ าอ่นื
1. บูรณาการกับวิชาชีวติ และวฒั นธรรมไทย ดา้ นการพูด การอ่าน การเขยี นและการฝกึ
ปฏบิ ตั ติ นทางสังคมดา้ นการเตรียมความพร้อม ความรับผิดชอบ และความสนใจใฝร่ ู้
2. บูรณาการกับวชิ าภาษาองั กฤษ การใช้คำศัพท์ ความหมาย การสืบคน้ ข้อมลู
3. บรู ณาการกบั วชิ ากีฬาเพ่ือพฒั นาสขุ ภาพและบคุ ลิกภาพ ดา้ นบคุ ลิกภาพในการนำเสนอ
หน้าช้นั เรียน

การประเมินผลการเรียนรู้

การประเมนิ ผลการเรียนรู้
หลกั การประเมนิ ผลการเรียนรู้
กอ่ นเรียน

1.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรยี น

1.สังเกตการทำงานกลุ่ม
หลงั เรียน

1.ตรวจแบบฝกึ หัดท้ายบท
2.ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น
3.สรุปผลการรายงานหนา้ ชัน้ เรียน
ผลงาน/ชิ้นงาน/ผลสำเรจ็ ของผ้เู รียน
ตรวจผลงาน กจิ กรรม
- กจิ กรรม แบบฝึกหดั ใบงาน
รายละเอยี ดการประเมินผลการเรียนรู้
• จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม ประกอบดว้ ย 10 ข้อ 10 คะแนน ดังน้ี
1.วิธกี ารประเมิน : ทดสอบ
2.เครอ่ื งมือ : แบบทดสอบ
3.เกณฑ์การให้คะแนน : ข้อละ 1 คะแนน

17

แผนการสอน/แผนการเรยี นรภู้ าคทฤษฎี

แผนการสอน/การเรียนรูภ้ าคทฤษฎี หนว่ ยท่ี 3
ชอื่ วิชา การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคุมไฟฟา้ สปั ดาหท์ ี่ 3
ช่อื หน่วย รหัสเทยี ม 5 ชัว่ โมง

ชอ่ื เร่อื ง รหสั เทียม
หวั ข้อเรือ่ ง
ดา้ นความรู้

1. หลกั เกณฑ์ในการเขยี นรหัสเทียม
2. รปู แบบการเขยี นรหัสเทียม

2.1 การกำหนดค่า
2.2 การรบั ขอ้ มลู เข้า
2.3 การคำนวณ
2.4 การแสดงผลข้อมูล
2.5 การเปรียบเทียบเงื่อนไข
2.6 การทำซำ้
3. การเขียนรหัสเทียมจากจากลำดบั ขัน้ ตอนของวธิ กี ารประมวลผล
3.1 การเขยี นรหสั เทยี มแบบลำดับขน้ั
3.2 การเขียนรหสั เทียมแบบเลอื กทำ
3.3 การเขียนรหัสเทียมแบบทำซำ้
ดา้ นทักษะ
1. เขียนรหัสเทยี มตามลกั ษณะงาน
ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม
1. ความรบั ผดิ ชอบ
2. ความสนใจใฝ่รู้
สาระสำคญั
รหัสเทียม หรือ Pseudo Code เป็นคำบรรยายแสดงขั้นตอนวิธีของการเขียนโปรแกรม การ
เขียนรหัสเทียมไม่มีหลักเกณฑ์ตายตัวส ำคัญเพียงแต่เขียนให้ผู้อ่านเข้าใจโดยปกติแล้วจะประยุ กต์รูปแบบ
การเขยี นและโครงสรา้ งมาจากภาษาคอมพิวเตอร์แต่การเขียนรหสั เทียมจะเป็นลกั ษณะการเขยี นคำอธิบายมาก
กว่าการเขียนเป็นคำสั่งต่างๆและการเขียนรหัสเทียมนั้นมักจะไม่ใส่ใจใน รายละเอียดการเขียนมากนักเช่ น
อาจไม่มีขั้นตอนการประกาศตัวแปรเป้าหมายสำคัญของการเขียนรหัสเทียมคือทำลายกำแพง
ของภาษาลงไปการเขยี นรหัสเทยี มจงึ ไม่ใสใ่ จในการเขียนไวยากรณใ์ ห้ ถูกตอ้ งตามหลักภาษาแตจ่ ะเปน็ ไป
ตามใจของผูเ้ ขียนมากกวา่ การเขยี นรหสั เทียมจะมีค่าที่ใชใ้ นการปฏิบตั ิการคอมพิวเตอร์ประกอบ
อยู่เป็นสว่ นใหญ่ซึ่งช่วยให้การเปลย่ี นรหสั เทียมเปน็ ภาษาคอมพิวเตอร์ทำไดง้ ่ายขึน้ ซึง่ มีวธิ กี าร
และหลกั เกณฑใ์ นการ เขียนรหัสเทียม (Pseudo code)

18

สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย
1. แสดงความรเู้ กยี่ วกับรหสั เทียม
2. เขยี นรหสั เทียมตามลักษณะงาน

จดุ ประสงคก์ ารสอน/การเรียนรู้
จุดประสงค์ทั่วไป / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง

1.เพอ่ื ให้มีความรู้พ้ืนฐานเก่ียวกบั รหสั เทียม และมที ัศนคติที่ดี (ด้านความรู)้
2.เพอ่ื ให้มที ักษะการเขยี นรหสั เทียมตามลักษณะงาน (ด้านทกั ษะ)
3.เพอื่ ให้มเี จตคติที่ดีต่อการเตรียมความพร้อมด้าน วสั ดุ อปุ กรณ์ และการปฏบิ ตั ิงานอย่าง ถูกต้อง สำ
เรจ็ ภายในเวลาท่ีก าหนด มเี หตแุ ละผลตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ด้าน คุณธรรม จริยธรรม)
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม / บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. บอกหลักเกณฑ์การเขยี นรหสั เทยี ม ไดถ้ ูกต้อง (ด้านความรู้)
2. บอกรูปแบบการเขยี นรหสั เทยี มเพื่อการกำหนดค่า ได้ถกู ตอ้ ง (ด้านความรู้)
3. บอกรูปแบบการเขยี นรหัสเทยี มเพ่ือรับข้อมูลเขา้ ได้ถูกต้อง (ด้านความร้)ู
4. บอกรปู แบบการเขียนรหัสเทยี มเพื่อการคำนวณ ได้ถูกต้อง (ดา้ นความร)ู้
5. บอกรปู แบบการเขยี นรหัสเทียมเพ่ือการแสดงผลข้อมลู ได้ถกู ต้อง (ด้านความรู้)
6. บอกรูปแบบการเขยี นรหัสเทยี มเพ่ือเปรยี บเทยี บเง่ือนไข ได้ถูกต้อง (ดา้ นความรู้)
7. บอกรูปแบบการเขียนรหสั เทียมเพื่อการทำซ้ำได้ถูกต้อง (ด้านความร)ู้
8. เขยี นรหสั เทียมแบบลำดบั ขน้ั ไดถ้ ูกตอ้ ง (ด้านทักษะ)
9. เขียนรหัสเทยี มแบบเลอื กทำได้ถูกต้อง (ด้านทักษะ)
10. เขียนรหัสเทยี มแบบทำซ้ำไดถ้ ูกต้อง (ดา้ นทักษะ)
11. การเตรียมความพร้อมดา้ นการเตรยี มวัสดุ อุปกรณ์ ผ้เู รียนจะตอ้ งกระจายงานได้ท่ัวถึง
และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทกุ คน มีการจดั เตรยี มสถานท่ี สอ่ื วัสดุ อุปกรณ์ไว้อยา่ งพร้อม เพรยี ง
(ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง)
12. ความมเี หตุมีผลในการปฏบิ ตั งิ าน ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผ้เู รียนจะต้อง
มีการใช้หลกั การเรยี นร้แู ละเวลาทเ่ี หมาะสมกับการเรียนรู้ (ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง)
13.ความมีเหตุมผี ลในการปฏิบัติงาน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนกั ศึกษาจะต้องมี
การใชเ้ ทคนิคการจดบันทกึ งาน การสบื คน้ ข้อมลู ก่อนการเรยี นร้แู ละหลงั เรยี นรูเ้ พื่อใหก้ ารเรียนรู้
เหมาะสมกบั เวลา คุ้มค่าและประหยัด

19

กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรือการเรียนรู้

ข้ันตอนการสอนหรือกจิ กรรมของครู ข้นั ตอนการเรียนรู้หรอื กิจกรรมของนกั เรียน

1. ขั้นนำเขา้ สบู่ ทเรียน (60 นาท)ี 1. ขนั้ นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น (60 นาท)ี

1. ผู้สอนจดั เตรียมเอกสาร 1.1.ผ้เู รียนเตรียมอปุ กรณ์

2. ผู้สอนแจง้ จุดประสงค์การเรยี นของหน่วย 2. ผูเ้ รยี นทำความเข้าใจเกยี่ วกับจดุ ประสงคก์ าร

เรยี นที่ 3 และขอให้ผเู้ รียนรว่ มกนั ทำ เรยี นของหนว่ ยเรยี นที่ 3

กจิ กรรมการเรยี นการสอน และการให้ความรว่ มมือในการทำกิจกรรม

3. ผู้สอนชวนคยุ ประเด็นสถานการณป์ จั จุบนั (โค 3. ผ้เู รยี นแสดงความรู้การทอดไข่เจยี วสูตรลับลบั

วทิ ) เฉพาะบคุ คล

4.ผู้สอนให้ผู้เรียนแสดงความรู้ โดยตั้งคำถาม 2. ขัน้ ให้ความรู้ (100 นาท)ี

ปลายเปิด การทอดไขเ่ จยี วสูตรลบั เฉพาะบคุ คล 4. ผเู้ รียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น

2. ขนั้ ใหค้ วามรู้ (100 นาที) 5. ผู้เรยี นทำงานกลุ่ม ต้ังช่อื กลมุ่ และจำลอง

5.ผู้สอนแบ่งกลมุ่ ให้ตั้งช่ือกลุ่ม และจำลอง สถานการณ์ทำงานในรูปแบบออนไลน์ ตามกติกา

สถานการณ์ทำงานในรูปแบบออนไลน์ ตามกติกา เง่ือนไขที่กำหนด

เงอ่ื นไขที่กำหนด 6.ผ้เู รียนร่วมกันนำเสนอสูตรการทอดไขเ่ จียวแสน

6.ผูส้ อนให้ผเู้ รยี นร่วมกนั นำเสนอสตู รการทอดไข่ อรอ่ ย และตกแต่งบน Padlet อยา่ งสวยงาม

เจียวแสนอร่อย และตกแต่งบน Padlet อยา่ ง 7.ความรู้และความเขา้ ใจก่อนการเรียน

สวยงาม เร่ืองรหัสเทียม

7.ผู้สอนอธิบายเนื้อหาเก่ยี วกับบทเรียนวชิ า

การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในงานควบคุม ผเู้ รียนศึกษาบทเรียนวชิ าพนื้ ฐานการเขียนโปรแกรม

ไฟฟา้ หน่วยท่ี 3 เร่อื งรหัสเทียม คอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 3

และใหผ้ เู้ รียนศึกษาเอกสารประกอบการสอน เร่ืองรหสั เทียมและศึกษาเอกสารประกอบการสอน

หน่วยที่ 3 หนว่ ยท่ี 3

8.ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกันอธิบาย 8.ผเู้ รยี นอธบิ ายและยกตัวอย่างรหสั เทยี ม

พรอ้ มยกตัวอย่างรหสั เทยี มตามทีไ่ ด้ศึกษาจากบทเ9.ได้ศกึ ษาจากบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน

รยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน

3. ขัน้ ประยกุ ต์ใช้ (100 นาที) 3. ข้นั ประยกุ ต์ใช้ (100 นาที)

1.ผสู้ อนให้ผู้เรยี นทำแบบฝกึ หัดขอ้ 1-7 1. ผเู้ รียนทำแบบฝึกหดั ข้อ 1-7

2.ผูส้ อนให้ผู้เรยี นทำใบงานที่ 4-5 2. ผู้เรียนทำใบงานที่ 4

3.ผูส้ อนใหผ้ ้เู รียนทำแบบฝึกปฏิบัติ 3. ผู้เรยี นทำแบบฝึกปฏิบตั ิ เขียนรหสั เทียมแบบ

เขียนรหสั เทยี ม

4. ขน้ั สรปุ และประเมินผล (40 นาที) 4. ข้ันสรปุ และประเมินผล (40 นาที)

1. ใหผ้ ู้เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน 1. ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรียน

2. ผูส้ อนและผูเ้ รยี นร่วมกนั สรปุ เน้อื หาท่ีไดเ้ รยี น 2. ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกนั สรปุ เนอื้ หาท่ีได้เรียน

ใหม้ คี วามเขา้ ใจในทศิ ทางเดียวกัน เพอื่ ให้มคี วามเข้าใจในทศิ ทางเดียวกัน

3. ผู้สอนให้ผูเ้ รยี นศึกษาเพิ่มเตมิ นอกห้องเรยี น 3. ผู้เรยี นศกึ ษาเพิม่ เติมนอกห้องเรยี น ดว้ ย

ด้วยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนที่จดั ทำขน้ึ บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนท่จี ดั ทำขน้ึ

20

งานท่ีมอบหมายหรอื กจิ กรรมการวดั ผลและประเมนิ ผล ก่อนเรียน
1. จดั เตรยี มเอกสาร ส่ือการเรยี นการสอนหนว่ ยท่ี 3
2. ทำความเข้าใจเกีย่ วกับจุดประสงค์การเรยี นของหน่วยที่ 3 และให้ความร่วมมือในการ

ทำกิจกรรมในหนว่ ยท่ี 3
3. ตอบคำถามก่อนเรยี น โดยการถาม – ตอบ หน่วยท่ี 3

ขณะเรียน
1.ปฏิบตั ติ ามใบความรู้ท่ี 3 เรื่องรหสั เทียม
2. ร่วมกันสรปุ “รหัสเทยี ม”
3. ร่วมกันทำกิจกรรมการเรยี นรู้

หลงั เรียน
1.ทำใบงานท่ี 4-5
2.ทำแบบฝกึ หัดท้ายบทที่ 3
3.ทำแบบประเมนิ การเรียนรู้

ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเรจ็ ของผูเ้ รียน กจิ กรรม ให้ผู้เรยี นทำแบบฝกึ หดั
สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์

ผเู้ รียนสรา้ งความเขา้ ใจเก่ยี วกับรหัสเทยี ม
1.วเิ คราะห์และตีความหมาย
2.ตัง้ คำถาม
3.อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ ระดมสมอง
4.การประยุกตค์ วามรสู้ ่งู านอาชีพ
สมรรถนะการสรา้ งคา่ นยิ ม
การปลกู ฝังให้มีความรับผิดชอบ มีความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ และมีความซอ่ื สัตย์ในอาชีพของตน
สมรรถนะการปฏิบตั ิงานอาชีพ
1. นำความรู้เกีย่ วกบั แนะนำความรู้เบื้องตน้ เกยี่ วกับรหัสเทียมไปประยุกต์ใชใ้ นการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน
สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้อง แนะนำความรเู้ บือ้ งต้นเก่ียวกบั รหัสเทียมทำใหผ้ ้เู รียนมีความรู้เพิ่มขน้ึ เม่ือผเู้ รียนได้เรยี นรทู้ ำ
ให้มคี วามรใู้ นเร่ืองรหัสเทยี มมากข้นึ
สอ่ื การเรยี นการสอน/การเรียนรู้ สอื่ สิ่งพมิ พ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในงานควบคมุ ไฟฟ้า (ใชป้ ระกอบการ
เรยี นการสอนจุดประสงค์เชงิ พฤติกรรมข้อท่ี 1-10)
2. ใบความรแู้ ละใบงาน
ส่ือโสตทัศน์ /เทคโนโลยีใช้ประกอบการสอน(ถา้ มี)
1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องผังงาน
2. Google App for Education
3.จับกลมุ่ Classdojo
4. code.org ,tinkercad.com
5.padlet

21

6.เกมส์กลมุ่ Quizizz ,Quizlet
7.นับถอยหลังออนไลน์ Classtools.net
8.ประเมนิ ผลหลงั เรยี น Socreative
การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
หลกั การประเมินผลการเรยี นรู้
กอ่ นเรยี น
1.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น
ขณะเรียน
1.สังเกตการทำงานกลุ่ม
หลงั เรียน
1.ตรวจแบบฝึกหดั ท้ายบท
2.ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น
3.สรปุ ผลการรายงานหนา้ ช้ันเรยี น
ผลงาน/ชนิ้ งาน/ผลสำเรจ็ ของผ้เู รยี น
ตรวจผลงาน กจิ กรรม
- กจิ กรรม แบบฝึกหดั ใบงาน
รายละเอยี ดการประเมนิ ผลการเรียนรู้

• จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม ประกอบดว้ ย 10 ข้อ 10 คะแนน ดงั นี้
1.วธิ กี ารประเมิน : ทดสอบ
2.เครือ่ งมือ : แบบทดสอบ
3.เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ข้อละ 1 คะแนน

22

แผนการสอน/แผนการเรียนรภู้ าคทฤษฎี

แผนการสอน/การเรยี นรภู้ าคทฤษฎี หน่วยที่ 4
ช่ือวิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคุมไฟฟา้ สปั ดาห์ที่ 4-5
ชื่อหน่วย ข้ันตอนการแก้ไขปญั หา (Algorithm) 10 ชั่วโมง

ชื่อเรื่อง ขั้นตอนการแกไ้ ขปัญหา (Algorithm)
หัวข้อเรือ่ ง
ด้านความรู้

1. ความหมายของขัน้ ตอนการแก้ปญั หา
1.1 ลกั ษณะภาษาข้ันตอนการแกป้ ญั หา
1.2 จดุ ประสงค์ของการเขียนขน้ั ตอนการแก้ปญั หา
1.3 การเขียนขน้ั ตอนการแก้ปญั หาทด่ี ี

2. การเขียนข้ันตอนการแกป้ ัญหา
2.1 ขน้ั ตอนการแก้ปัญหาแบบล าดบั
2.2 ขน้ั ตอนการแกป้ ัญหาแบบมีเงือ่ นไข

2.3 ขน้ั ตอนการแก้ปัญหาแบบทำซ้ำ
ดา้ นทกั ษะ

1. เขยี นขนั้ ตอนการแกป้ ัญหา (Algorithm)
ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม

1. ความรับผิดชอบ
2. ความสนใจใฝ่รู้
สาระสำคัญ
การเขียนโปรแกรมที่ดีนั้นต้องเริ่มจากการพิจารณาโครงสร้างข้อมูลที่ใช้งานนั้น จัดล ำดับ
ขั้นตอนการกระทำต่อข้อมูลนั้น เพื่อป้องกันข้อผิดพลาดและปัญหาต่าง ๆ ในการพัฒนาโปรแกรมซ่ึง
วิธีการเหล่าน้ีเรียกวา่ ขั้นตอนการแก้ปัญหา หรืออัลกอริทึม (Algorithm) ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรืออัลกอริทมึ
(Algorithm) เปน็ กระบวนการในการทำงานทใี่ ชก้ ารตดั สินใจดว้ ยหลกั เหตผุ ลและคณติ ศาสตร์เป็นตัวชว่ ย
ในการเลอื กวิธีการหรือขัน้ ตอนการดำเนินงาน ต่อไปจนกระท่ังข้ันตอนสดุ ทา้ ย เปน็ วิธกี ารทีใ่ ชแ้ ยกยอ่ ยและ
เรยี งลำดบั ขัน้ ตอนของกระบวนการใน การทำงานต่าง ๆ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการค้นหาและแก้ไขปัญหา
สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับขน้ั ตอนการแกป้ ัญหา (Algorithm)
2. เขียนขัน้ ตอนการแก้ปญั หา (Algorithm) ตามลักษณะงาน

23

จุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้
จดุ ประสงค์ท่ัวไป / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง

1.เพือ่ ให้มีความรู้พื้นฐานเก่ยี วกับขั้นตอนการแก้ปญั หา และมที ัศนคติทีด่ ี (ด้านความรู้)
2.เพอ่ื ให้มที ักษะเขยี นข้นั ตอนการแก้ปัญหา (ดา้ นทักษะ)
3.เพื่อให้มีเจตคติท่ดี ีต่อการเตรียมความพร้อมด้าน วสั ดุ อปุ กรณ์ และการปฏิบตั งิ านอยา่ ง ถกู ต้อง
สำเรจ็ ภายในเวลาที่ก าหนด มีเหตุและผลตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ดา้ น คุณธรรม จริยธรรม)
จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. บอกความหมายและลักษณะภาษาขั้นตอนการแกป้ ญั หา ได้ถกู ตอ้ ง (ดา้ นความรู้)
2. บอกจดุ ประสงคข์ องการเขียนขั้นตอนการแก้ปัญหา ได้ถูกต้อง (ด้านความรู้)
3. บอกถึงการเขยี นขัน้ ตอนการแกไ้ ขปัญหาที่ดี ได้ถูกต้อง (ด้านความรู้)
4. เขยี นขนั้ ตอนการแกป้ ญั หาแบบล าดบั ไดถ้ ูกต้อง (ดา้ นทักษะ)
5. เขยี นขน้ั ตอนการแกป้ ัญหาแบบมีเง่ือนไข ได้ถูกต้อง (ดา้ นทักษะ)
6. เขียนขัน้ ตอนการแกป้ ัญหาแบบทำซำ้ ได้ถูกต้อง (ดา้ นทักษะ)
7. การเตรยี มความพร้อมด้านการเตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ ผูเ้ รยี นจะตอ้ งกระจายงานไดท้ วั่ ถึง
และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทุกคน มีการจัดเตรยี มสถานท่ี สื่อ วัสดุ อปุ กรณ์ไว้อยา่ งพรอ้ ม เพรียง
(ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพยี ง)
8. ความมีเหตุมีผลในการปฏบิ ตั งิ าน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผเู้ รียนจะต้องมี
การใช้หลักการเรยี นร้แู ละเวลาทเี่ หมาะสมกับการเรยี นรู้ (ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการ
เศรษฐกจิ พอเพียง)

24

กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรอื การเรียนรู้

ขัน้ ตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรยี นรหู้ รือกิจกรรมของนกั เรยี น

1.ขน้ั นำเขา้ สบู่ ทเรียน การจัดการเรียนการสอน โดยใช้ 1.ขัน้ นำเขา้ สบู่ ทเรียน การจัดการเรยี นการสอน โดยใช้

Google for Education Google for Education

1. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร 1. ผู้เรียนเตรียมอปุ กรณ์
2. ผสู้ อนแจง้ จุดประสงค์การเรยี นของหน่วย 2. ผเู้ รยี นทำความเข้าใจเกี่ยวกบั จุดประสงค์การ
เรยี นที่ 4 และขอให้ผู้เรยี นรว่ มกนั ทำ เรียนของหนว่ ยเรียนท่ี 4
กิจกรรมการเรยี นการสอน และการให้ความร่วมมือในการ
ทำกจิ กรรม
3. ผูส้ อนใหผ้ ู้เรียนแสดงความรู้ โดยตั้งคำถาม 3. ผเู้ รยี นแสดงความรู้วา่ ขัน้ ตอนการแก้ปัญหา
วา่ ข้ันตอนการแก้ปัญหา (Algorithm) การเรียนให้ (Algorithm) มีหลกั การอย่างไร
ประสบความสำเร็จมีหลักการ พรอ้ มให้เหตุผลประกอบ
อยา่ งไรพร้อมให้เหตุผลประกอบ

2. ข้นั ใหค้ วามรู้ 2. ขั้นใหค้ วามรู้

4.ผสู้ อนทดสอบความร้คู วามเข้าใจเก่ียวกบั 4. ผูเ้ รียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี นเพ่อื แสดง
ขัน้ ตอนการแก้ปัญหา (Algorithm) โดยให้ ความรู้และความเขา้ ใจก่อนการเรยี น เรอ่ื ง
ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน ขน้ั ตอนการแก้ปัญหา (Algorithm) ผู้เรียน
5.ผู้สอนอธิบายเนื้อหาเกีย่ วกับบทเรียนวิชา ศกึ ษาบทเรียนวชิ าพนื้ ฐานการเขยี นโปรแกรม
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคุมไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ หนว่ ยที่ 4 เรื่องข้นั ตอนการ
หนว่ ยที่ 4 เรือ่ งขนั้ ตอนการแก้ปัญหา แกป้ ญั หา (Algorithm) และศึกษาเอกสาร
(Algorithm) และให้ผเู้ รยี นศึกษาเอกสาร ประกอบการสอน หน่วยท่ี 4
ประกอบการสอน หนว่ ยท่ี 4 5. ผเู้ รยี นอธบิ ายและยกตัวอย่างขน้ั ตอนการ
6.ผู้สอนและผู้เรยี นร่วมกนั อธบิ ายพรอ้ ม แกป้ ัญหา (Algorithm) ได้ศกึ ษาจากบทเรียน
ยกตวั อย่างขน้ั ตอนการแกป้ ญั หา คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน
3. ขน้ั ประยกุ ต์ใช้ 3. ขนั้ ประยุกต์ใช้

7.ผสู้ อนให้ผู้เรียนทำแบบฝึกหัดข้อ 1-4 6. ผ้เู รียนทำแบบฝกึ หดั ข้อ 1-4
8.ผู้สอนให้ผเู้ รียนทำใบงานท่ี 6 และ code.org 7. ผเู้ รยี นทำใบงานท่ี 6 และ code.org
9.ผู้สอนให้ผเู้ รียนทำแบบฝึกปฏบิ ัติเขียน 8. ผู้เรียนทำแบบฝกึ ปฏิบตั ิ เขียนข้ันตอนการ
ข้นั ตอนการแก้ปัญหาแบบลำดบั แก้ปัญหาแบบลำดบั

4. ขนั้ สรุปและประเมินผล 3 ขนั้ สรปุ และประเมนิ ผล

1.0 ผสู้ อนและผู้เรียนรว่ มกันสรปุ เนอื้ หาทีไ่ ด้เรียน 9. ผ้สู อนและผู้เรยี นร่วมกันสรุปเนอ้ื หาท่ีได้เรยี น
ให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน เพ่ือใหม้ คี วามเข้าใจในทิศทางเดยี วกัน
11. ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นศกึ ษาเพิ่มเติมนอกหอ้ งเรียน 10. ผเู้ รียนศกึ ษาเพิ่มเติมนอกหอ้ งเรียน ด้วย
ดว้ ยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทีจ่ ัดทำขนึ้ บทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทจ่ี ดั ทำข้นึ

25

1. ขั้นนำเขา้ สู่บทเรยี น 1. ขัน้ นำเข้าสบู่ ทเรยี น

1. ผู้สอนจัดเตรยี มเอกสาร 1. ผเู้ รยี นเตรียมอปุ กรณ์

2. ผสู้ อนแจง้ จดุ ประสงค์การเรยี น 2. ผเู้ รยี นทำความเขา้ ใจเกยี่ วกบั จดุ ประสงคก์ าร

3. ผู้สอนใหผ้ เู้ รยี นแสดงความรู้ โดยตัง้ คำถาม เรยี น

วา่ การเขียนขนั้ ตอนการแก้ปัญหาแบบมีเงื่อนไขและ 3. ผเู้ รยี นแสดงความรถู้ ึงหลักการเขียนขนั้ ตอน

แบบทำซ้ำ มีหลักการอย่างไรพร้อมให้เหตุผลประกอบ การแก้ปัญหาแบบมเี งอ่ื นไขและแบบทำซ้ำพร้อมให้

2. ข้ันใหค้ วามรู้ เหตผุ ลประกอบ

1.ผู้สอนอธิบายเนอ้ื หาเก่ยี วกับการเขยี น 2. ขั้นใหค้ วามรู้

ข้นั ตอนการแก้ปัญหาแบบมเี งื่อนไขและแบบทำซำ้ 3. ผเู้ รียนอธิบายและยกตวั อย่างถึงการเขียน

2.ผู้สอนและผเู้ รียนร่วมกนั อธิบายพร้อม ข้นั ตอนการแก้ปัญหาแบบมเี ง่ือนไขและแบบ ทำซำ้

ยกตวั อยา่ งการเขยี นขัน้ ตอนการแก้ปญั หา ตามท่ีไดศ้ ึกษาจากบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ ช่วยสอน

แบบมีเงื่อนไขและแบบทำซ้ำ 3. ข้นั ประยกุ ต์ใช้

7. ผู้เรยี นทำแบบฝกึ หัดทา้ ยบทท่ี 4

3. ขั้นประยกุ ต์ใช้ 8. ผู้เรียนทำใบงานที่ 7 และ code.org

1.ผู้สอนใหผ้ เู้ รยี นทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 4 9. ผเู้ รยี นฝึกเขยี นข้นั ตอนการแกป้ ญั หาแบบมี

2.ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นทำใบงานที่ 7และ code.org เงื่อนไขและแบบทำซำ้

3.ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนฝึกเขยี นขัน้ ตอนการแก้ปัญหา 4. ขั้นสรปุ และประเมินผล

แบบมเี ง่ือนไขและแบบทำซำ้ 1. ผเู้ รยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน

4. ข้นั สรุปและประเมินผล 2. ผู้สอนและผู้เรียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาท่ีได้เรียน

1. ใหผ้ ้เู รียนทำแบบทดสอบหลังเรียน เพอ่ื ใหม้ ีความเขา้ ใจในทศิ ทางเดยี วกัน

2. ผสู้ อนและผูเ้ รยี นร่วมกนั สรปุ เน้อื หาที่ไดเ้ รียน 3. ผเู้ รียนศกึ ษาเพมิ่ เตมิ นอกหอ้ งเรียน ดว้ ย

ให้มีความเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกนั บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนทจ่ี ัดทำขึน้

3. ผสู้ อนให้ผเู้ รยี นศึกษาเพมิ่ เตมิ นอกห้องเรยี น

ดว้ ยบทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนที่จัดทำขึ้น

งานทม่ี อบหมายหรอื กิจกรรมการวัดผลและประเมนิ ผล
กอ่ นเรียน

1. จดั เตรยี มเอกสาร สอื่ การเรยี นการสอนหนว่ ยที่ 4
2. ทำความเขา้ ใจเกีย่ วกบั จุดประสงคก์ ารเรียนของหนว่ ยท่ี 4 และใหค้ วามรว่ มมือในการทำ
กจิ กรรมในหนว่ ยท่ี 4
3. ตอบคำถามก่อนเรยี น โดยการถาม – ตอบ หน่วยที่ 4
ขณะเรยี น
1.ปฏิบัตติ ามใบความรู้ที่ 4 เรอ่ื งข้นั ตอนการแกป้ ัญหา (Algorithm)
2. รว่ มกนั สรุป “ข้ันตอนการแกป้ ญั หา (Algorithm)”
3. รว่ มกนั ทำกจิ กรรมการเรียนรู้

26

หลังเรยี น
1.ทำใบงานที่ 6-7
2.ทำแบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 4
3.ทำแบบประเมนิ การเรยี นรู้

คำถาม
1. จงบอกความหมายและลักษณะภาษาข้ันตอนการแกป้ ญั หา
2. จงบอกจดุ ประสงคข์ องการเขียนข้ันตอนการแก้ปญั หา
3. จงบอกถึงการเขยี นขน้ั ตอนการแก้ไขปัญหาทีด่ ี

ผลงาน/ช้นิ งาน/ความสำเรจ็ ของผู้เรียน กิจกรรม ให้ผู้เรียนทำแบบฝกึ หดั
สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์

ผ้เู รยี นสรา้ งความเข้าใจเกี่ยวกับขนั้ ตอนการแก้ปัญหา (Algorithm)
1.วิเคราะหแ์ ละตีความหมาย
2.ตง้ั คำถาม
3.อภิปรายแสดงความคดิ เห็นระดมสมอง
4.การประยุกต์ความร้สู ู่งานอาชพี

สมรรถนะการสร้างค่านยิ ม
การปลกู ฝงั ใหม้ ีความรับผิดชอบ มีความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ และมีความซ่ือสัตย์ในอาชีพของตน

สมรรถนะการปฏิบตั งิ านอาชีพ
1. นำความรเู้ กีย่ วกับแนะนำความรู้เบ้อื งต้นเกี่ยวกับข้ันตอนการแกป้ ัญหา (Algorithm) ไป

ประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชวี ิตประจำวนั
สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้อง แนะนำความรู้เบ้อื งต้นเกย่ี วกบั ขัน้ ตอนการแก้ปัญหา (Algorithm) ทำใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้
เพ่ิมข้นึ เมอื่ ผู้เรยี นได้เรียนรทู้ ำให้มีความรใู้ นเร่ืองขั้นตอนการแก้ปญั หา (Algorithm) มากขน้ึ
สอ่ื การเรียนการสอน/การเรยี นรู้ ส่อื ส่ิงพมิ พ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคุมไฟฟ้า
2. ใบความรแู้ ละใบงาน
สื่อโสตทัศน์ /เทคโนโลยีใช้ประกอบการสอน(ถา้ ม)ี

1. บทเรยี นใบความรู้
2. Google App for Education
3.จบั กลมุ่ ClassDojo, Class123
4. code.org, tinkercad.com
5.padlet
6.เกมสก์ ลมุ่ Quizizz ,Quizlet
7.นบั ถอยหลังออนไลน์ Classtools.net
8.ประเมนิ ผลหลงั เรียน Socreative

27

การประเมินผลการเรียนรู้
หลกั การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
ก่อนเรียน

1.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรยี น

1.สังเกตการทำงานกลุ่ม
หลงั เรยี น

1.ตรวจแบบฝกึ หัดท้ายบท
2.ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน
3.สรปุ ผลการรายงานหน้าชนั้ เรยี น
ผลงาน/ช้ินงาน/ผลสำเรจ็ ของผเู้ รียน
ตรวจผลงาน กจิ กรรม
- กิจกรรม แบบฝึกหดั ใบงาน
รายละเอียดการประเมนิ ผลการเรียนรู้
จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ประกอบด้วย 10 ข้อ 10 คะแนน ดงั นี้
1.วธิ กี ารประเมนิ : ทดสอบ
2.เครื่องมือ: แบบทดสอบ
3.เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ข้อละ 1 คะแนน

28

แผนการสอน/แผนการเรยี นรู้ภาคทฤษฎี

แผนการสอน/การเรยี นร้ภู าคทฤษฎี หน่วยท่ี 5
ชือ่ วิชา การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นงานควบคุมไฟฟ้า สปั ดาห์ท่ี 6-7
ชือ่ หน่วย การเขียนโปรแกรมดว้ ย ภาษาคอมพวิ เตอรร์ ะดบั สงู 10 ช่ัวโมง

ชื่อเรอ่ื ง การเขียนโปรแกรมด้วย ภาษาคอมพิวเตอร์ระดบั สูง
หวั ข้อเรอื่ ง
ดา้ นความรู้

1. โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
2. ชนิดขอ้ มลู (Data Type)
3. ตัวแปร (Variable)
4. การแสดงผลขอ้ มูล
5. การรบั ข้อมูล
6. ค่าคงที่ (Constant)
7. ตัวดำเนนิ การ (Operator)

7.1 ตัวดำเนนิ การกำหนดคา่
7.2 ตัวดำเนินการทางคณติ ศาสตร์
7.3 ตวั ดำเนนิ การเปรียบเทียบ
7.4 ตวั ดำเนินการตรรกะ
8. นิพจน์ (Expression)
ด้านทักษะ
1. การเขยี นโปรแกรมดว้ ย ภาษาคอมพวิ เตอรร์ ะดบั สงู
ดา้ นคุณธรรม จริยธรรม
1. ความรับผิดชอบ
2. ความสนใจใฝร่ ู้
สาระสำคญั
ภาษาคอมพิวเตอร์ หมายถึงภาษาที่ใช้สื่อสารกับคอมพิวเตอร์หรือสื่อสารกับคอมพิวเตอร์ ด้วยกัน
และสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามนั้นได้ ภาษาคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ ภาษาระดับสูง
(High level) และภาษาระดบั ต่ า (Low level) โปรแกรมที่เขียนถูกต้องตามกฎเกณฑ์และไวยากรณ์ของภาษา
จะถูกแปลไปเป็นภาษาระดับต่ำ เพื่อให้คอมพิวเตอร์สามารถนำไปใช้งานหรือ ปฏิบัติตามคำสั่งได้ต่อไป
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เขียนด้วยภาษาระดับสูง แล้วแปลไปเป็น ออบเจกต์โค้ด (object code)
และเปลย่ี นให้เป็นชุดคำสงั่ ในภาษาเครอื่ งอกี ทีหน่ึง ซ่ึงภาษา C จดั เป็นภาษาโปรแกรมทถ่ี ือวา่ เป็นทั้งภาษา
ระดบั สูงและระดับต่ำ ท้ังน้เี พราะภาษา C มีวิธีใชข้ ้อมูลและมโี ครงสรา้ งการควบคุมการทำงานของโปรแกรม
แบบเดียวกับภาษาโปรแกรมระดับสูงอื่นๆและยังสามารถควบคุมฮาร์ดแวร์ได้เช่นเดียวกับภาษาระดับต ่ำ
การเขียนโปรแกรมจะได้มาซึ่ง Source Code ของโปรแกรมนั้นๆ โดยปกติแล้วจะอยู่ใน รูปแบบของ plain
text ซึ่งไม่สามารถนำไปใช้งานไดจ้ ะต้องผา่ นการแปลSource Code นนั้ ให้เปน็ ภาษาเคร่อื งเสียกอ่ น

29

จึงจะไดเ้ ป็นโปรแกรมทพ่ี ร้อมใชง้ านโครงสร้างของโปรแกรมภาษา C ประกอบด้วยส่วนสำคญั
คอื สว่ นเร่ิมตน้ โปรแกรม สว่ นของ ตวั โปรแกรม และสว่ นคำอธิบายโปรแกรม ดงั มรี ายละเอยี ดจะกลา่ วถึง
ในบทตอ่ ไปนี้ ภาษา C เปน็ ภาษาระดบั สูงที่สนับสนนุ การเขียนโปรแกรมแบบโครงสรา้ งลักษณะของภาษา
มีโครงสร้างง่ายต่อการทำความเข้าใจ เหมาะสำหรับนักเรียน นักศึกษา หรือผู้ที่ต้องการเริ่มศึกษาการ
เขียนโปรแกรม นอกจากนั้นภาษา C ยังมีบทบาทต่อวงการธุรกิจ เนื่องจากองค์กรธุรกิจนำภาษา C ไป
เขียนเป็นโปรแกรมเพื่อควบคมอุปกรณ์อิเลกทรอนิกส์ต่างๆ โครงสร้างของโปรแกรมภาษา C
ประกอบด้วยส่วนสำคัญคือส่วนเริ่มต้นโปรแกรม ส่วนของ ตัวโปรแกรม และส่วนคำอธิบายโปรแกรม
โครงสร้างพื้นฐานของโปรแกรมภาษา C จะต้อง ประกอบด้วยโปรแกรมย่อย หรือเรียกว่าฟังก์ชัน (function)
อยา่ งน้อย1 ฟงั ก์ชนั คอื ฟังก์ชนั main( ) สมรรถนะอาชพี ประจำหนว่ ย

1. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั องค์ประกอบพืน้ ฐานของภาษา C
2. เขยี นโปรแกรมโดยใชอ้ งค์ประกอบพน้ื ฐานของภาษา C

จุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้
จดุ ประสงคท์ ั่วไป / บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง

1.เพื่อให้มคี วามรู้พ้นื ฐานเก่ยี วกับองคป์ ระกอบพน้ื ฐานของภาษา C และมีทศั นคตทิ ่ดี ี (ด้านความรู้)
2.เพอ่ื ให้มีทกั ษะในการเขียนโปรแกรมโดยใชอ้ งค์ประกอบพ้ืนฐานของภาษา C (ด้านทักษะ)
3.เพ่ือให้มีเจตคติท่ีดีต่อการเตรียมความพร้อมด้าน วสั ดุ อุปกรณ์ และการปฏบิ ัติงานอยา่ งกต้องสำ
เร็จภายในเวลาที่กำหนด มีเหตุและผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ดา้ น คุณธรรม จริยธรรม)
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม / บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. บอกลกั ษณะโครงสร้างโปรแกรมภาษา C ไดถ้ ูกต้อง (ด้านความร้)ู
2. บอกชนิดข้อมลู (Data Type) ได้ถกู ต้อง (ด้านความร)ู้
3. ประกาศตัวแปรเพื่อใชใ้ นการเขียนโปรแกรม ได้ถูกต้อง(ดา้ นทักษะ)
4. ใชค้ ำส่งั เพ่อื การแสดงผลข้อมูล ได้ถกู ต้อง (ด้านทกั ษะ)
5. ใชค้ ำสง่ั เพอ่ื การรบั ข้อมูลเข้าทางแปน้ พิมพ์ ได้ถกู ตอ้ ง (ด้านทกั ษะ)
6. ประกาศตวั แปรกำหนดค่าคงที่ ได้ถกู ต้อง (ด้านทกั ษะ)
7. เขียนคำส่งั โดยใช้ตัวดำเนินการเพื่อการกำหนดค่า ไดถ้ ูกต้อง (ดา้ นทกั ษะ)
8. เขียนคำส่ังโดยใชต้ วั ดำเนนิ การทางคณติ ศาสตร์ ได้ถูกต้อง (ดา้ นทักษะ)
9. เขยี นคำสัง่ โดยใชต้ วั ดำเนินการเปรียบเทียบ ได้ถูกต้อง (ดา้ นทักษะ)
10. เขยี นนิพจนเ์ พอื่ แก้ปัญหาโปรแกรม ไดถ้ ูกต้อง (ดา้ นทักษะ)
11. การเตรียมความพร้อมด้านการเตรยี มวัสดุ อปุ กรณ์ ผเู้ รียนจะตอ้ งกระจายงานไดท้ ่ัวถึง
และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทกุ คน มีการจัดเตรียมสถานที่ สื่อ วสั ดุ อุปกรณไ์ ว้อยา่ งพร้อม เพรียง
(ดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง)
12. ความมเี หตุมีผลในการปฏิบัตงิ าน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เรียนจะต้อง
มีการใช้หลกั การเรียนรแู้ ละเวลาท่ีเหมาะสมกบั การเรียนรู้ (ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการ
เศรษฐกิจพอเพียง)

30

กิจกรรมการเรียนการสอนหรอื การเรียนรู้

ขั้นตอนการสอนหรอื กิจกรรมของครู ข้นั ตอนการเรยี นรหู้ รอื กิจกรรมของนกั เรยี น

1.ขัน้ นำเข้าสู่บทเรยี น การจดั การเรียนการสอน โดยใช้ 1.ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรยี น การจดั การเรียนการสอน โดยใช้

Google for Education Google for Education

1. ผสู้ อนจดั เตรยี มเนอ้ื หา/เอกสาร 1. ผูเ้ รยี นเตรยี มเน้อื หา/อุปกรณ์

2. ให้ผู้เรยี นเข้าห้องเรียน Google Classroom 2. ผู้เรียนเขา้ ห้องเรียน Google Classroom

3. ผู้สอนแจง้ จุดประสงคร์ ายวิชาประจำหน่วย พูดคยุ 3. ผู้เรยี นทำความเข้าใจจดุ ประสงค์รายวชิ าประจำ

และแนะนำรายวิชา หน่วย พดู คยุ และแนะนำรายวิชา

4.ผู้สอนเสนอสิง่ เรา้ เรอ่ื งโครงสรา้ งของคอมพิวเตอร์ 4.ผู้เรยี นรว่ มกนั สะทอ้ นร่ืองโครงสรา้ งของคอมพวิ เตอร์

แลว้ ให้ผเู้ รียนสงั เกตต้ังคำถาม ผา่ น Padlet ผ่าน Padlet

5.ผู้สอนใหช้ มวดี ที ัศน์ เรอ่ื งโครงสรา้ งของคอมพวิ เตอร์ 5.ชมวีดีทัศน์ เรอ่ื งโครงสร้างของคอมพิวเตอร์

2. ข้ันใหค้ วามรู้ 2. ข้ันให้ความรู้

6.ผู้สอนทดสอบความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกับองคป์ ระกอ 6.ผเู้ รยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี นเพือ่ แสดงความรู้

บพน้ื ฐานของภาษา C โดยให้ผูเ้ รียนทำ และความเขา้ ใจก่อนการเรยี น เรื่ององค์ประกอบพื้

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น นฐานของภาษา C ผเู้ รียนศึกษาบทเรยี นวชิ าพ้ืนฐาน

6.ผ้สู อนอธิบายเน้ือหาเกีย่ วกับบทเรยี นวชิ าการเขยี น การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 5

โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในงานควบคมุ ไฟฟา้ หน่วยท่ี 5 เร่ืององค์ประกอบพื้นฐานของภาษา C

เร่อื งองคป์ ระกอบพื้นฐานของภาษา C และใหผ้ ้เู รียน และศึกษาเอกสารประกอบการสอน หน่วยท่ี 5

ศึกษาเอกสารประกอบการสอนหนว่ ยที่ 5 7. ผู้เรียนอธบิ ายและยกตัวอย่างองค์ประกอบ

6.ผู้สอนและผ้เู รยี นร่วมกนั อธบิ ายพรอ้ มยกตวั อยา่ งองค์พืน้ ฐานของภาษา C

ประกอบพน้ื ฐานของภาษา C ไดศ้ ึกษาจากบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน

ตามทไี่ ดศ้ ึกษาจากบทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน 3. ขั้นประยกุ ต์ใช้

3. ขั้นประยกุ ต์ใช้ 6. ผเู้ รยี นทำแบบฝกึ หัดข้อ 1-5

7. ผู้สอนใหผ้ ูเ้ รยี นทำแบบฝกึ หดั ขอ้ 1-5 7. ผูเ้ รยี นทำใบงานท่ี 8-9

8.ผูส้ อนใหผ้ เู้ รยี นทำใบงานท่ี 8-9 8. ขั้นสรปุ และประเมินผล

9. ขัน้ สรปุ และประเมนิ ผล 10. ผูส้ อนและผูเ้ รียนรว่ มกนั สรปุ เนอื้ หาที่ไดเ้ รยี น

10. ผูส้ อนและผเู้ รียนรว่ มกนั สรุปเนื้อหาทไี่ ด้เรียน เพ่ือใหม้ ีความเขา้ ใจในทิศทางเดียวกัน

ให้มคี วามเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกนั 11. ผเู้ รียนศึกษาเพม่ิ เติมนอกหอ้ งเรียน ดว้ ย

11. ผูส้ อนให้ผูเ้ รยี นศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอนทีจ่ ัดทำข้นึ

ดว้ ยบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนทจ่ี ัดทำข้ึน

31

1. ขนั้ นำเข้าสู่บทเรียน 1. ขนั้ นนำเข้าสู่บทเรยี น

1. ผู้สอนจดั เตรยี มเอกสาร 1. ผู้เรยี นเตรียมอุปกรณ์

2. ผสู้ อนแจง้ จุดประสงค์การเรียน 2. ผูเ้ รียนทำความเขา้ ใจเก่ยี วกับจุดประสงคก์ าร

3. ผู้สอนให้ผเู้ รยี นแสดงความรู้ โดยตง้ั คำถาม เรียน

วา่ ตวั แปรมีลักษณะและประโยชน์อย่างไร พร้อมให้ 3. ผู้เรียนแสดงความรู้ถึงตัวแปรมลี กั ษณะและ

เหตผุ ลประกอบ ประโยชน์อยา่ งไร พร้อมให้เหตุผลประกอบ

2. ขัน้ ให้ความรู้ 2. ขนั้ ให้ความรู้

3.ผู้สอนอธิบายเนอ้ื หาเกีย่ วกับการประกาศตัว แปร ตวั 4. ผเู้ รียนอธบิ ายและยกตัวอย่างถึงการประกาศตัว

ดำเนนิ การและนิพจน์ แปร ตัวดำเนินการและนิพจน์ ตามท่ไี ด้ศึกษา

4.ผูส้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกันอธิบายพรอ้ ม จากบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน

ยกตัวอย่างการประกาศตัวแปร ตวั

ดำเนินการและนิพจน์ 3. ขั้นประยกุ ต์ใช้

3. ขัน้ ประยกุ ต์ใช้ 10. ผเู้ รียนทำแบบฝกึ หัดทา้ ยบทท่ี 5

10. ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนทำแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 5 11. ผเู้ รียนทำใงานที่ 10

11. ผ้สู อนใหผ้ ู้เรยี นทำใบงานที่ 10 12. ผเู้ รยี นฝึกเขยี นโปรแกรมที่มกี ารประกาศตัวแปร

12. ผสู้ อนใหผ้ ู้เรียนฝกึ เขียนโปรแกรมท่ีมกี าร ตัวดำ เนนิ การและนิพจน์

ประกาศตวั แปร ตวั ดำเนนิ การและนพิ จน์ 4. ขั้นสรปุ และประเมินผล

4. ขน้ั สรปุ และประเมนิ ผล 1. ผู้เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน

1. ให้ผเู้ รยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน 2. ผูส้ อนและผูเ้ รยี นรว่ มกนั สรุปเนอ้ื หาท่ีไดเ้ รียน

2. ผสู้ อนและผ้เู รียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาท่ีไดเ้ รยี น เพ่ือให้มคี วามเข้าใจในทิศทางเดียวกัน

ให้มคี วามเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกัน 3. ผู้เรยี นศึกษาเพ่ิมเตมิ นอกหอ้ งเรยี น ด้วย

3. ผสู้ อนให้ผู้เรยี นศกึ ษาเพ่ิมเตมิ นอกห้องเรยี น บทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนที่จัดทำข้ึน

ดว้ ยบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนที่จัดทำขน้ึ

32

งานท่ีมอบหมายหรอื กจิ กรรมการวัดผลและประเมินผล
ก่อนเรยี น

1. จัดเตรยี มเอกสาร สอ่ื การเรยี นการสอนหนว่ ยท่ี 5
2. ทำความเข้าใจเก่ยี วกับจุดประสงคก์ ารเรียนของหนว่ ยท่ี 5 และใหค้ วามร่วมมือในการทำ
กจิ กรรมในหนว่ ยที่ 5
3. ตอบคำถามก่อนเรียน โดยการถาม – ตอบ หน่วยท่ี 5
ขณะเรียน
1.ปฏบิ ตั ติ ามใบความรู้ท่ี 5 เร่อื งองคป์ ระกอบพื้นฐานของภาษา C
2. ร่วมกันสรปุ “องคป์ ระกอบพน้ื ฐานของภาษา C”
3. ร่วมกนั ทำกจิ กรรมการเรยี นรู้
หลังเรยี น
1.ทำใบงานท่ี 8-10
2.ทำแบบฝึกหดั ท้ายบทที่ 5
3.ทำแบบประเมินการเรยี นรู้
ผลงาน/ชิ้นงาน/ความสำเรจ็ ของผเู้ รียน กิจกรรม ให้ผ้เู รียนทำแบบฝกึ หดั
สมรรถนะทพ่ี ึงประสงค์
ผเู้ รยี นสรา้ งความเขา้ ใจเก่ียวกับองคป์ ระกอบพื้นฐานของภาษา C
1.วิเคราะห์และตีความหมาย
2.ตงั้ คำถาม
3.อภิปรายแสดงความคิดเห็นระดมสมอง
4.การประยกุ ต์ความรสู้ งู่ านอาชีพ
สมรรถนะการสร้างคา่ นิยม
การปลกู ฝงั ใหม้ ีความรบั ผดิ ชอบ มคี วามคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์ และมคี วามซื่อสัตยใ์ นอาชีพของตน

สมรรถนะการปฏิบตั ิงานอาชีพ
1. นำความร้เู กยี่ วกับแนะนำความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกับองคป์ ระกอบพ้นื ฐานของภาษา C ไป

ประยุกตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชวี ิตประจำวัน
สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้อง แนะนำความรเู้ บ้ืองตน้ เกย่ี วกบั องค์ประกอบพื้นฐานของภาษา C ทำให้ผเู้ รยี นมีความรู้
เพิม่ ขน้ึ เม่ือผเู้ รียนไดเ้ รียนร้ทู ำใหม้ ีความรู้ในเร่ืององค์ประกอบพ้นื ฐานของภาษา C มากขึ้น

สอ่ื การเรียนการสอน/การเรยี นรู้ สือ่ ส่ิงพิมพ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นงานควบคมุ ไฟฟ้า (ใช้ประกอบการ

เรยี นการสอนจดุ ประสงค์เชงิ พฤติกรรมข้อที่ 1-10)
2. ใบความรู้และใบงาน

สือ่ โสตทัศน์ /เทคโนโลยใี ช้ประกอบการสอน(ถา้ ม)ี
1. บทเรยี นใบความรู้
2. Google App for Education

33

3.จับกลมุ่ ClassDojo, Class123
4. code.org, tinkercad.com
5.padlet
6.เกมสก์ ลุ่ม Quizizz ,Quizlet
7.นบั ถอยหลงั ออนไลน์ Classtools.net
8.ประเมนิ ผลหลงั เรียน Socreative
การประเมนิ ผลการเรียนรู้
หลักการประเมนิ ผลการเรียนรู้
ก่อนเรยี น
1.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น
ขณะเรยี น
1.สงั เกตการทำงานกลุ่ม
หลงั เรยี น
1.ตรวจแบบฝึกหัดทา้ ยบท
2.ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
3.สรปุ ผลการรายงานหนา้ ชน้ั เรียน
ผลงาน/ชน้ิ งาน/ผลสำเรจ็ ของผู้เรียน
ตรวจผลงาน กิจกรรม
- กจิ กรรม แบบฝึกหดั ใบงาน
รายละเอยี ดการประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ประกอบดว้ ย 10 ข้อ 10 คะแนน ดงั นี้
1.วิธีการประเมิน: ทดสอบ
2.เครอ่ื งมือ: แบบทดสอบ
3.เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ข้อละ 1 คะแนน

34

แผนการสอน/แผนการเรยี นรู้ภาคทฤษฎี

แผนการสอน/การเรยี นรูภ้ าคทฤษฎี หนว่ ยที่ 6
ชอ่ื วิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นงานควบคุมไฟฟ้า สัปดาห์ที่ 8-9
ชื่อหน่วย โครงสร้างของโปรแกรมและการใชง้ านฟงั ก์ชันตา่ งๆ 10 ช่ัวโมง

ชือ่ เรื่อง โครงสรา้ งของโปรแกรมและการใช้งานฟังก์ชันต่างๆ
หัวข้อเร่ือง
ดา้ นความรู้

1. โครงสร้างแบบทางเลือกเดียว
2. โครงสรา้ งแบบสองทางเลือก

2.1 คำสง่ั if
2.2 คำสัง่ if…else
2.3 การใช้นิพจน์แบบเง่ือนไข
3. โครงสร้างแบบหลายทางเลือก
3.1 คำสั่ง if แบบหลายทางเลือก
3.2 คำสัง่ switch
3.3 การใช้ตวั ดำเนินการตรรกะในคำส่ัง if
ด้านทกั ษะ
1. เขียนโปรแกรมแบบโครงสรา้ งควบคุมแบบเงอื่ นไขกรณี
ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม
1. ความรับผิดชอบ
2. ความสนใจใฝร่ ู้
สาระสำคญั
การเขียนโปรแกรมเป็นการกระทำให้ได้มาซึ่งรหัสคำสั่งหรือ Source Code ของโปรแกรม
โดยปกติแล้ว Source Code จะอยู่ในรูปแบบของข้อความธรรมดาที่ไม่สามารถนำไปใช้งานได้
จะต้องผ่านการแปลภาษาให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine Language) เสียก่อนจึงจะได้เป็นโปรแกรมที่
พร้อมใช้งาน ซึ่งสามารถเขียนโปรแกรมออกมาตามความต้องการทั้งแบบปกติธรรมดา และแบบที่
ซับซ้อนที่มีหลายทางเลือก ดังจะแบ่งโครงสร้างของโปรแกรมออกเป็นแบบต่าง ๆ ตามลักษณะการ
เขียนโปรแกรมโครงสร้างควบคมุ แบบเง่อื นไขกรณี ดงั น้ี
1. โครงสร้างแบบทางเลอื กเดียว
2. โครงสรา้ งแบบสองทางเลอื ก จะสามารถทำให้โปรแกรมสามารถตัดสนิ ใจหรือเปรยี บเทียบ
จากน้ันกจ็ ะเลือกดำเนินการไปในทศิ ทางหน่ึงจากสองทิศทาง ขึ้นอยู่กับผลทไ่ี ดจ้ ากการเปรยี บเทียบ นน้ั
2.1 คำสงั่ if เป็นคำส่งั ทใี่ ชใ้ นการเขยี นแบบเงอ่ื นไข

35

2.2 คำสง่ั if…else เป็นคำสั่งท่ตี ้องทำทงั้ ในกรณีท่ีเง่ือนไขเปน็ จรงิ และเปน็ เทจ็ โดย
ใชน้ ิพจนต์ รรกศาสตร์มาเปน็ เคร่ืองมือช่วยในการตรวจสอบเง่อื นไขมีรูปแบบคำสง่ั

2.3 การใช้นพิ จน์แบบเงื่อนไข โครงสร้างแบบสองทางเลือกยังสามารถเขยี นใน
รปู แบบการใช้นิพจน์แบบเงื่อนไข โดยอาศัยตวั ดำเนนิ การเง่ือนไขเปน็ ตวั ดำเนนิ การที่ใช้
ตรวจสอบเงือ่ นไขของนิพจน์

3. โครงสร้างแบบหลายทางเลือก
การเขียนโปรแกรมสั่งงานจะมบี างขนั้ ตอน
จะตอ้ งมที างเลือกโดยอาศยั ตัวแปรและค่าของตวั แปรเปน็ การระบเุ งื่อนไขเพ่อื กำหนดให้เปน็ ทางเลือก
ถ้าค่าตัวแปรตรงกบั ค่าทก่ี ำหนดในเงือ่ นไขให้ ปฏิบัติการตามคำส่งั อย่างใดอย่างหน่งึ
ขึ้นอยู่กับผ้เู ขียนโปรแกรมเปน็ คนกำหนด การกำหนดทางเลือก
จะมีก่ีทางก็ไดแ้ ตก่ รณีมีทางเลือกหลายทางกต็ ้องมเี ง่อื นไขหลายเงอื่ นไข เพ่ือตรวจสอบถ้าเปน็ จริงตาม
เงือ่ นไขก็ปฏบิ ตั ติ ามคำสัง่ หรือกลุ่มคำสั่งนั้น ๆ

3.1 คำสั่ง if แบบหลายทางเลือก
ในบางกรณีประโยคเงื่อนไขอาจจะมีความซบั ซ้อน มีการเปรยี บเทียบเงือ่ นไขเดยี วกันกับหลายค่า

3.2 คำส่งั switch เป็นคำส่ังที่มที างเลอื กแบบหลายทางเช่นเดยี วกับคำส่งั if
แบบเลอื กทำหลายทาง แต่คำส่งั switch เป็นคำส่ังทตี่ ดั สนิ ใจทางเลอื กกรณีที่มตี วั แปรเดียว
และเม่ือจบการทำงาน ในคำสัง่ ใด ๆ ในเง่ือนไขน้ัน ๆ จะต้องจบการทำงานด้วยคำส่ัง break;

3.3 การใชต้ วั ดำเนนิ การตรรกะในคำสงั่ if ข้อมูลชนดิ Boolean
เปน็ ขอ้ มลู ตรรกะซงึ่ มีคา่ ท่ี เป็นไปได้ 2 ค่าคือจริง(true) และเทจ็ (false) ข้อมูลชนิดน้ี สามารถนำ
ไปใชใ้ นการดำเนินการทางตรรกะ เชน่ AND และOR เปน็ ต้น
สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย

1. แสดงความรู้เกย่ี วกบั หลักโครงสร้างควบคุมแบบเง่ือนไขกรณี
2. เขยี นโปรแกรมแบบโครงสรา้ งควบคมุ แบบเงื่อนไขกรณี
จดุ ประสงคก์ ารสอน/การเรียนรู้
จดุ ประสงคท์ ั่วไป / บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.เพอ่ื ให้มคี วามรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงสร้างควบคุมแบบเงื่อนไขกรณี และมีทศั นคตทิ ีด่ ี (ด้านความรู้)
2.เพ่ือให้มีทกั ษะในการเขียนโปรแกรมโครงสรา้ งควบคมุ แบบเงื่อนไขกรณี (ดา้ นทักษะ)
3.เพอ่ื ให้มเี จตคติท่ดี ีต่อการเตรียมความพร้อมด้าน วัสดุ อปุ กรณ์ และการปฏิบตั ิงานอย่างถกู ต้อง
สำเรจ็ ภายในเวลาทีก่ ำหนด มีเหตแุ ละผลตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ด้าน คุณธรรม จรยิ ธรรม)
จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม / บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง
1. เขียนโปรแกรมแบบโครงสรา้ งทางเลือกเดียว ได้ถกู ต้อง (ด้านทักษะ)
2. เขยี นโปรแกรมแบบโครงสรา้ งทางเลือกดว้ ยคำสัง่ if ได้ถูกตอ้ ง (ด้านทักษะ)
3. เขยี นโปรแกรมแบบโครงสรา้ งทางเลือกดว้ ยคำสัง่ if…else ไดถ้ ูกต้อง (ด้านทักษะ)
4. เขียนโปรแกรมแบบโครงสร้างทางเลือกด้วยการใช้นิพจน์แบบเง่ือนไข ได้ถูกตอ้ ง (ดา้ นทกั ษะ)
5. เขยี นโปรแกรมแบบโครงสรา้ งหลายทางเลอื กด้วยคำสงั่ if ไดถ้ ูกต้อง (ด้านทักษะ)
6. เขยี นโปรแกรมแบบโครงสรา้ งหลายทางเลือกด้วยคำสงั่ switch ได้ถกู ตอ้ ง (ดา้ นทักษะ)
7. เขยี นโปรแกรมแบบโครงสร้างหลายทางเลือกดว้ ยการใช้ตัวดำเนนิ การตรรกะในคำส่ัง if ได้ถูกต้อง
(ดา้ นทักษะ)

36

8. การเตรยี มความพร้อมดา้ นการเตรียมวัสดุ อปุ กรณ์ ผเู้ รียนจะต้องกระจายงานได้ทวั่ ถงึ
และตรงตามความสามารถของสมาชิกทกุ คน มีการจดั เตรียมสถานที่ ส่อื วสั ดุ อปุ กรณ์ไว้อยา่ งพร้อมเพรียง
(ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง)

9. ความมเี หตุมผี ลในการปฏิบัตงิ าน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผเู้ รียนจะต้องมี
การใช้หลกั การเรียนรู้และเวลาทีเ่ หมาะสมกับการเรียนรู้ (ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง)

กิจกรรมการเรียนการสอนหรือการเรียนรู้

ขั้นตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขั้นตอนการเรียนรหู้ รือกจิ กรรมของนักเรยี น

1.ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน การจดั การเรียนการสอน โดยใช้ 1.ขน้ั นำเขา้ สู่บทเรยี น การจัดการเรียนการสอน โดยใช้

Google for Education Google for Education

1. ผสู้ อนจัดเตรยี มเนื้อหา/เอกสาร 1. ผูเ้ รียนเตรียมเคร่อื งมือ/อุปกรณ์

2.ใหผ้ ู้เรียนเขา้ ห้องเรียน Google Classroom 2.ผู้เรยี นเข้าหอ้ งเรยี น Google Classroom

3. ผสู้ อนแจ้งจุดประสงค์รายวิชาประจำหน่วย พดู คุย 3. ผเู้ รยี นทำความเข้าใจจุดประสงคร์ ายวชิ าประจำ

และแนะนำรายวชิ า หนว่ ย และให้ความร่วมมือพูดคยุ ในการทำกิจกรรม

4.ผ้สู อนเสนอสิง่ เร้าเรื่องโครงสรา้ งควบคมุ แบบเงอื่ นไข 4.ผูเ้ รียนสังเกตตัง้ คำถามรว่ มกนั สะท้อนความคดิ ผา่ น

ยกกรณีตวั อย่างแลว้ ใหผ้ ู้เรยี นสังเกตตัง้ คำถาม ผ่าน Padlet

Padlet

2. ขนั้ ใหค้ วามรู้ 2. ข้ันให้ความรู้

5.ผู้สอนทดสอบความร้คู วามเข้าใจเกี่ยวกับ 5. ผเู้ รียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นเพือ่ แสดง
โครงสร้างควบคุมแบบเงือ่ นไขกรณี โดยให้ ความรูแ้ ละความเข้าใจก่อนการเรยี น เรอ่ื ง
ผู้เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน โครงสรา้ งควบคุมแบบเงื่อนไขกรณี ผเู้ รียน
6.ผูส้ อนอธิบายเน้ือหาเกีย่ วกับบทเรียนวชิ า ศึกษาบทเรียนวชิ าพน้ื ฐานการเขียนโปรแกรม
การเขยี นโปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นงานควบคมุ ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ หน่วยท่ี 6 เรื่องการเขยี น
หน่วยท่ี 6 เรอ่ื งการเขยี นโปรแกรมโครงสร้าง โปรแกรมโครงสร้างทางเลอื กเดียว และแบบ
ทางเลอื กเดยี ว และแบบโครงสรา้ งทางเลือก โครงสรา้ งทางเลอื กด้วยคำสงั่ if และศึกษา
ดว้ ยคำส่งั if และใหผ้ เู้ รยี นศกึ ษาเอกสาร เอกสารประกอบการสอน หนว่ ยท่ี 6

37

ประกอบการสอน หน่วยที่ 6 6. ผเู้ รียนอธบิ ายและยกตัวอย่างการเขยี น

7.ผสู้ อนและผเู้ รียนร่วมกันอธบิ ายพรอ้ ม โปรแกรมโครงสร้างทางเลอื กเดียว และแบบ

ยกตวั อยา่ งการเขียนโปรแกรมโครงสรา้ ง โครงสร้างทางเลอื กด้วยคำส่ัง if ท่ไี ด้ศึกษาจาก

ทางเลอื กเดยี ว และแบบโครงสร้างทางเลือก ดว้ ยคำสัง่ บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน

if ตามท่ีไดศ้ ึกษาจากบทเรียน คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน 7.ผ้เู รยี นศกึ ษาเรยี นรูจ้ ากหอ้ งเรียน Code.org ด้วย

8.ผู้สอนใหผ้ ู้เรยี นศึกษาเรียนรูจ้ ากห้องเรียน Code.org ตนเอง

3. ขน้ั ประยุกต์ใช้ 3. ขัน้ ประยกุ ต์ใช้

9.ผสู้ อนใหผ้ ูเ้ รยี นทำแบบฝึกหัดข้อ 1-2 8. ผเู้ รยี นทำแบบฝึกหดั ข้อ 1-2

10.ผสู้ อนให้ผู้เรียนทำใบงานที่ 11 9. ผเู้ รยี นทำใบงานที่ 11

4. ขั้นสรปุ และประเมินผล 4. ขน้ั สรปุ และประเมินผล

11. ผสู้ อนและผ้เู รียนรว่ มกันสรปุ เนอ้ื หาท่ไี ดเ้ รียน 10. ผสู้ อนและผ้เู รยี นรว่ มกนั สรปุ เน้ือหาทไ่ี ด้เรียน

ให้มีความเข้าใจในทศิ ทางเดยี วกนั เพ่ือให้มีความเข้าใจในทศิ ทางเดยี วกนั

12. ผ้สู อนใหผ้ ู้เรียนศึกษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน 11. ผู้เรียนศกึ ษาเพ่มิ เติมนอกหอ้ งเรยี น ดว้ ย

ดว้ ยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอนทจ่ี ดั ทำข้ึน บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนทจี่ ัดทำข้ึน

1. ขน้ั นำเข้าสบู่ ทเรียน 1. ขัน้ นำเข้าส่บู ทเรียน

1. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสาร 1. ผู้เรยี นเตรียมอปุ กรณ์

2. ผู้สอนแจ้งจดุ ประสงค์การเรยี น 2. ผูเ้ รยี นทำความเข้าใจเกย่ี วกับจดุ ประสงคก์ าร

3. ผสู้ อนให้ผู้เรยี นแสดงความรู้ โดยต้งั คำถาม เรยี น

เก่ียวกับการเขียนโปรแกรมโครงสร้างทางเลอื กด้วย 3. ผ้เู รียนแสดงความรู้เก่ยี วกับการเขยี น

คำสั่ง if…else และโครงสร้างทางเลอื กด้วยการใช้ โปรแกรมโครงสรา้ งทางเลือกด้วยคำสงั่ if…else และ

นิพจน์แบบเง่ือนไข วา่ มีลักษณะอย่างไร พรอ้ มให้ โครงสรา้ งทางเลือกดว้ ยการใช้นพิ จน์แบบเงอ่ื นไข ว่ามี

เหตุผลประกอบ ลักษณะอยา่ งไร พรอ้ มให้เหตุผลประกอบ

2. ข้นั ให้ความรู้ 2. ขน้ั ใหค้ วามรู้

5.ผู้สอนอธบิ ายเนือ้ หาเกีย่ วกับการเขยี น 5. ผู้เรยี นอธบิ ายและยกตัวอย่างถงึ การเขยี น

โปรแกรมโครงสร้างทางเลือกด้วยคำสั่ง if…else โปรแกรมโครงสร้างทางเลอื กด้วยคำสง่ั if…else

และโครงสร้างทางเลอื กดว้ ยการใช้ นพิ จน์แบบเงื่อนไข และโครงสร้างทางเลือกดว้ ยการใชน้ พิ จน์แบบ เงื่อนไข

6.ผสู้ อนและผู้เรียนร่วมกนั อธิบายพร้อม ตามที่ไดศ้ กึ ษาจากบทเรียน คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน

ยกตวั อยา่ งโครงสรา้ งแบบหลายทางเลอื ก 3. ข้นั ประยกุ ต์ใช้

3. ขั้นประยุกต์ใช้ 13. ผู้เรียนทำใบงานที่ 12

13. ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนทำใบงานที่ 12 4. ขน้ั สรปุ และประเมินผล

4. ขนั้ สรุปและประเมินผล 14. ผ้เู รียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น

14. ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน 15. ผู้สอนและผเู้ รียนรว่ มกันสรุปเนื้อหาท่ไี ด้เรียน

15. ผสู้ อนและผู้เรยี นรว่ มกันสรปุ เนอื้ หาทไ่ี ด้เรยี น เพ่อื ให้มีความเขา้ ใจในทศิ ทางเดียวกนั

ให้มีความเข้าใจในทิศทางเดียวกัน 16. ผ้เู รียนศกึ ษาเพิ่มเติมนอกห้องเรียน ดว้ ย

16. ผู้สอนใหผ้ ู้เรยี นศึกษาเพ่ิมเตมิ นอกหอ้ งเรยี น บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนทีจ่ ัดทำข้ึน

ดว้ ยบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนทจี่ ดั ทำขึน้

38

1. ขัน้ นำเขา้ ส่บู ทเรยี น 1. ขนั้ นำเขา้ ส่บู ทเรยี น

1. ผสู้ อนจดั เตรียมเอกสาร 1. ผู้เรียนเตรยี มอุปกรณ์

2. ผู้สอนแจง้ จดุ ประสงค์การเรยี น 2. ผู้เรียนทำความเขา้ ใจเกีย่ วกับจดุ ประสงคก์ าร

3. ผู้สอนให้ผเู้ รียนแสดงความรู้ โดยต้ังคำถาม เรียน

เก่ียวกับการเขียนโปรแกรมโครงสร้างหลายทางเลือก 3. ผเู้ รยี นแสดงความรเู้ กี่ยวกับการเขยี น

ด้วยคำส่งั switch และการเขียนโปรแกรมโครงสรา้ ง โปรแกรมโครงสรา้ งหลายทางเลอื กดว้ ยคำสัง่ switch

หลายทางเลือกด้วยการใช้ตัวดำเนินการตรรกะใน และการเขียนโปรแกรมโครงสรา้ งหลายทางเลอื กดว้ ย

คำสั่ง if วา่ มีลกั ษณะอย่างไร พร้อมใหเ้ หตผุ ลประกอบ การใช้ตัวดำเนินการตรรกะในคำสัง่ if วา่ มลี กั ษณะ

2. ข้ันให้ความรู้ อยา่ งไร พรอ้ มให้เหตุผลประกอบ

1.ผสู้ อนอธบิ ายเนอื้ หาเก่ียวกับการเขยี น 2. ขั้นใหค้ วามรู้

โปรแกรมโครงสร้างหลายทางเลอื กด้วยคำสั่ง switch 1. ผเู้ รยี นอธบิ ายและยกตัวอย่างถงึ การเขยี น

และการเขยี นโปรแกรมโครงสรา้ ง โปรแกรมโครงสรา้ งหลายทางเลอื กด้วยคำสงั่ switch

หลายทางเลอื กด้วยการใช้ตวั ดำเนนิ การ ตรรกะใน และการเขียนโปรแกรมโครงสรา้ งหลาย

คำสงั่ if ทางเลอื กด้วยการใช้ตวั ดำเนินการตรรกะใน

2.ผสู้ อนและผเู้ รยี นรว่ มกันอธิบายพรอ้ ม คำส่ัง if ได้ศึกษาจากบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วย สอน

ยกตวั อย่างโครงสรา้ งแบบหลายทางเลือก 3. ข้ันประยุกต์ใช้

3. ข้ันประยุกต์ใช้ 1. ผ้เู รยี นทำแบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 6

1. ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนทำแบบฝกึ หัดทา้ ยบทที่ 6 2. ผ้เู รียนฝึกเขียนโปรแกรมโครงสร้างหลาย

2. ผูส้ อนให้ผู้เรยี นฝึกเขยี นโปรแกรมโครงสร้าง ทางเลือกดว้ ยคำสัง่ switch และการเขียน

หลายทางเลอื กด้วยคำส่งั switch และการ โปรแกรมโครงสรา้ งหลายทางเลอื กด้วยการใช้ ตวั

เขยี นโปรแกรมโครงสรา้ งหลายทางเลอื กดว้ ย การใช้ตวั ดำเนินการตรรกะในคำสง่ั if

ดำเนนิ การตรรกะในคำสั่ง if 4. ขน้ั สรปุ และประเมนิ ผล

4. ขัน้ สรุปและประเมินผล 1. ผูเ้ รยี นทำแบบทดสอบหลงั เรียน

1. ให้ผ้เู รียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น 2. ผูส้ อนและผเู้ รียนร่วมกนั สรุปเน้ือหาที่ไดเ้ รยี น

2. ผสู้ อนและผเู้ รียนรว่ มกันสรปุ เน้ือหาที่ไดเ้ รียน เพ่ือใหม้ คี วามเข้าใจในทศิ ทางเดยี วกัน

ใหม้ คี วามเข้าใจในทศิ ทางเดยี วกัน 3. ผูเ้ รียนศึกษาเพ่มิ เตมิ นอกห้องเรียน ดว้ ย

3. ผสู้ อนใหผ้ ู้เรียนศึกษาเพิ่มเตมิ นอกห้องเรยี น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่จัดทำข้นึ

ดว้ ยบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนท่ีจัดทำขึน้

39

งานท่มี อบหมายหรือกจิ กรรมการวดั ผลและประเมินผล
กอ่ นเรียน

1. จัดเตรยี มเอกสาร สอ่ื การเรียนการสอนหนว่ ยท่ี 6
2. ทำความเขา้ ใจเกย่ี วกับจดุ ประสงค์การเรียนของหน่วยท่ี 6 และใหค้ วามรว่ มมือในการทำ
กจิ กรรมในหนว่ ยที่ 6
3. ตอบคำถามก่อนเรียน โดยการถาม – ตอบ หนว่ ยที่ 6
ขณะเรียน
1.ปฏิบัตติ ามใบความรู้ที่ 6 เร่ืองโครงสร้างควบคุมแบบเง่ือนไขกรณี
2. รว่ มกนั สรุป “โครงสรา้ งควบคุมแบบเง่ือนไขกรณี”
3. ร่วมกันทำกิจกรรมการเรียนรู้
หลังเรียน
1.ทำใบงานที่ 11-12
2.ทำแบบฝกึ หดั ท้ายบทที่ 6
3.ทำแบบประเมนิ การเรยี นรู้
สมรรถนะท่ีพึงประสงค์
ผู้เรยี นสร้างความเข้าใจเกยี่ วกับโปรแกรมโครงสรา้ งควบคุมแบบเง่ือนไขกรณี
1.วเิ คราะห์และตีความหมาย
2.ตง้ั คำถาม
3.อภปิ รายแสดงความคดิ เห็นระดมสมอง
4.การประยกุ ตค์ วามรูส้ ่งู านอาชพี
สมรรถนะการสรา้ งคา่ นิยม
การปลูกฝังใหม้ ีความรับผดิ ชอบ มีความคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ และมคี วามซ่อื สตั ยใ์ นอาชีพของตน
สมรรถนะการปฏบิ ตั ิงานอาชีพ
1. นำความร้เู กย่ี วกบั แนะนำความรเู้ บ้ืองตน้ เกีย่ วกับโครงสร้างควบคมุ แบบเง่ือนไขกรณี ไป
ประยุกต์ใชใ้ นการดำเนินชีวิตประจำวนั
สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้อง แนะนำความรเู้ บอ้ื งต้นเกย่ี วกับโครงสรา้ งควบคมุ แบบเงือ่ นไขกรณี ทำให้ผูเ้ รียนมีความรู้
เพ่ิมขึ้น เมอ่ื ผเู้ รียนไดเ้ รยี นรู้ทำให้มคี วามรูใ้ นเรื่องโครงสรา้ งควบคุมแบบเง่ือนไขกรณี มากขนึ้
สื่อการเรียนการสอน/การเรียนรู้ สอ่ื สิ่งพมิ พ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นงานควบคมุ ไฟฟ้า (ใช้ประกอบการ
เรยี นการสอนจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมข้อท่ี 1-7)
2. ใบความรู้และใบงาน
ส่อื โสตทศั น์ /เทคโนโลยใี ช้ประกอบการสอน(ถา้ ม)ี
1. บทเรยี นใบความรู้
2. Google App for Education
3.จับกลุม่ ClassDojo, Class123
4. code.org, tinkercad.com
5.padlet

40

6.เกมส์กล่มุ Quizizz ,Quizlet
7.นบั ถอยหลงั ออนไลน์ Classtools.net
8.ประเมนิ ผลหลงั เรียน Socreative
การประเมินผลการเรียนรู้
หลกั การประเมนิ ผลการเรียนรู้
ก่อนเรียน
1.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
ขณะเรียน
1.สังเกตการทำงานกลุ่ม
หลงั เรียน
1.ตรวจแบบฝกึ หัดท้ายบท
2.ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน
3.สรปุ ผลการรายงานหน้าช้ันเรียน
ผลงาน/ช้นิ งาน/ผลสำเรจ็ ของผ้เู รยี น
ตรวจผลงาน กิจกรรม
- กิจกรรม แบบฝึกหัด ใบงาน
รายละเอียดการประเมินผลการเรยี นรู้
จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม ประกอบดว้ ย 10 ข้อ 10 คะแนน ดงั นี้
1.วิธกี ารประเมิน: ทดสอบ
2.เครื่องมือ: แบบทดสอบ
3.เกณฑ์การให้คะแนน : ข้อละ 1 คะแนน

41

แผนการสอน/แผนการเรยี นรู้ภาคทฤษฎี

แผนการสอน/การเรียนรภู้ าคทฤษฎี หน่วยที่ 7
ช่ือวิชา การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานควบคุมไฟฟ้า สัปดาหท์ ่ี10-11
ชอ่ื หน่วย โครงสร้างควบคุมแบบทำซ้ำ 10 ช่ัวโมง

ชอื่ เรอื่ ง โครงสร้างควบคุมแบบทำซ้ำ
หัวข้อเร่อื ง
ด้านความรู้

1. คำสง่ั while
2. คำสงั่ do…while
3. คำสั่ง for
4. การทำซ้ำแบบซ้อนกัน (Nested Loop)
ดา้ นทักษะ
1. เขยี นโปรแกรมโครงสรา้ งควบคุมแบบทำซำ้
ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม
1. ความรบั ผิดชอบ
2. ความสนใจใฝ่รู้
สาระสำคัญ
การเขียนโปรแกรมแบบทำซ้ำหรือที่เรียกว่าลูป (Loop) เป็นการกระทำในหนึ่งกระบวนการ
หลายครง้ั โดยมเี ง่อื นไขควบคุม ซงึ่ ในหน่วยน้จี ะขอกล่าวถึงคำสั่งทเี่ ป็นโครงสร้างแบบทำซ้ำ 4 รปู แบบ คือคำส่ัง
ทำซ้ำแบบ while คำสั่งทำซ้ำแบบ do-while คำสั่งทำซ้ำแบบ for และคำสั่งทำซ้ำแบบซ้อน
ซ่งึ การเลอื กใชโ้ ครงสรา้ งแบบทำซำ้ แตล่ ะรูปแบบข้นึ อยู่กับลกั ษณะของงานและผลลัพธท์ ี่ต้องการ
คำสั่ง while เป็นคำสั่งโครงสร้างแบบทำซ้ำที่จะมีการทดสอบเงื่อนไขก่อนทำคำสั่งในลูป ซึ่งถ้าเงื่อนไข
ที่อยู่หลัง while เป็นจริง จะทำคำสั่งในลูปและย้อนกลับมาทดสอบเงื่อนไขที่อยู่หลัง while ไปเรื่อย ๆ
จนกว่าเงอ่ื นไขท่ีอยู่หลัง while จะเปน็ เท็จ จึงจะออกนอกลูปคำส่งั do…while เป็นคำสงั่ โครงสร้างแบบทำซ้ำ
ที่จะมีการทำคำสั่งในลูปก่อนทดสอบเงื่อนไข โดยหากเงื่อนไขที่อยู่หลัง while เป็นจริง จะทำคำสั่งในลูป
และวนรอบตรวจสอบเงื่อนไขไปเรื่อย ๆ จนกว่าเงื่อนไขที่อยู่หลัง while จะเป็นเท็จคำสั่ง for เป็น
คำสั่งโครงสร้างแบบทำซ้ำที่จะมีการทดสอบเงื่อนไขก่อนทำคำสั่งในลูป โดย หากเงื่อนไข เป็นจริง จะทำ
คำสั่งในลูปไปเรื่อย ๆ จนกว่าเงื่อนไขเป็นเท็จ จึงจะออกนอกลูปการทำซ้ำแบบซ้อนกัน (Nested Loop) เป็น
คำสั่งโครงสร้างแบบทำซ้ำแบบลูปซ้อนลูป โดย จะมีการทำงานเริ่มจากลูป for ที่อยู่ภายนอกก่อน
จากนั้นจึงจะเข้าทำงานลูป for ที่อยู่ภายใน โดยทุก ๆ ค่าของลูป for นอก จะทำซ้ำคำสั่งภายในลูป for
ในให้ครบทุกรอบกอ่ น จงึ จะออกมาทำลูป for นอก

42

สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย
1.แสดงความรูเ้ กีย่ วกับโครงสร้างควบคมุ แบบทำซำ้
2.เขยี นโปรแกรมโครงสร้างควบคมุ แบบทำซ้ำ

จดุ ประสงค์การสอน/การเรยี นรู้
จุดประสงค์ทั่วไป / บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง

1.เพ่ือให้มีความรู้พืน้ ฐานเกีย่ วกบั โครงสรา้ งควบคุมแบบทำซ้ำและมีทศั นคติทด่ี ี (ด้านความรู้)
2.เพอ่ื ให้มีทักษะในการเขียนโปรแกรมโครงสรา้ งควบคุมแบบทำซำ้ (ด้านทกั ษะ)
3.เพื่อให้มีเจตคติท่ีดตี ่อการเตรียมความพร้อมด้าน วสั ดุ อปุ กรณ์ และการปฏบิ ตั ิงานอย่างถกู ต้อง
สำเรจ็ ภายในเวลาท่กี ำหนด มีเหตแุ ละผลตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ดา้ น คุณธรรม จริยธรรม)
จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม / บูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1. เขียนโปรแกรมโครงสร้างควบคุมแบบทำซำ้ ดว้ ยคำสง่ั while ไดถ้ กู ต้อง (ดา้ นทักษะ)
2. เขยี นโปรแกรมโครงสร้างควบคุมแบบทำซ้ำด้วยคำสง่ั do…while ไดถ้ กู ต้อง (ด้านทักษะ)
3. เขยี นโปรแกรมโครงสร้างควบคมุ แบบทำซ้ำด้วยคำส่ัง for ไดถ้ ูกต้อง (ด้านทักษะ)
4. เขยี นโปรแกรมโครงสร้างควบคุมแบบทำซำ้ แบบซ้อนกัน ไดถ้ กู ต้อง (ด้านทักษะ)
5. การเตรยี มความพรอ้ มด้านการเตรยี มวสั ดุ อุปกรณ์ ผู้เรยี นจะตอ้ งกระจายงานได้ท่ัวถึง
และตรงตามความสามารถของสมาชกิ ทกุ คน มีการจดั เตรียมสถานที่ สื่อ วัสดุ อุปกรณไ์ ว้อยา่ งพรอ้ ม เพรียง
(ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการเศรษฐกจิ พอเพียง)
6. ความมีเหตมุ ผี ลในการปฏิบัตงิ าน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผ้เู รียนจะต้องมี
การใชห้ ลกั การเรียนรแู้ ละเวลาท่เี หมาะสมกบั การเรยี นรู้ (ด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม/บรู ณาการ
เศรษฐกิจพอเพียง)

43

กจิ กรรมการเรยี นการสอนหรือการเรียนรู้

ขน้ั ตอนการสอนหรือกิจกรรมของครู ขัน้ ตอนการเรียนรู้หรือกจิ กรรมของนกั เรยี น

1. ขัน้ นำเข้าสบู่ ทเรยี น 1. ขั้นนำเขา้ สบู่ ทเรียน
1. ผสู้ อนจดั เตรียมเอกสาร 1. ผเู้ รียนเตรยี มอปุ กรณ์
2. ผู้สอนแจง้ จุดประสงค์การเรียนของหน่วย 2. ผู้เรยี นทำความเข้าใจเกยี่ วกบั จุดประสงค์การ
เรียนที่ 7 และขอใหผ้ ู้เรยี นร่วมกนั ทำ เรยี นของหน่วยเรยี นที่ 7
กจิ กรรมการเรียนการสอน และการให้ความรว่ มมือในการทำกจิ กรรม
3. ผ้สู อนให้ผเู้ รยี นแสดงความรู้ โดยต้ังคำถาม 3. ผเู้ รียนแสดงความรู้ว่าโครงสร้างควบคุมแบบ
ว่าโครงสร้างควบคุมแบบทำซ้ำมลี ักษณะอย่างไร ทำซำ้ มลี กั ษณะอย่างไร พรอ้ มให้เหตผุ ลประกอบ
พรอ้ มใหเ้ หตุผลประกอบ

2. ขัน้ ใหค้ วามรู้ 2. ขนั้ ใหค้ วามรู้

4. ผสู้ อนทดสอบความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ 4. ผู้เรยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี นเพือ่ แสดง

โครงสรา้ งควบคุมแบบทำซำ้ โดยใหผ้ ู้เรียนทำ ความรู้และความเขา้ ใจก่อนการเรยี น เร่อื ง

แบบทดสอบก่อนเรียน โครงสร้างควบคุมแบบทำซำ้ ผู้เรียนศึกษา

5. ผสู้ อนอธบิ ายเนื้อหาเกย่ี วกับบทเรียนวิชา บทเรยี นวชิ าพ้นื ฐานการเขยี นโปรแกรม

การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในงานควบคมุ ไฟฟ้า คอมพวิ เตอร์ หน่วยที่ 7 เร่ืองโครงสร้างควบคมุ

หน่วยท่ี 7 เร่ืองโครงสรา้ งควบคุมแบบทำซ้ำ แบบทำซ้ำด้วยคำสง่ั while และศกึ ษาเอกสาร

ดว้ ยคำส่งั while และให้ผู้เรยี นศกึ ษาเอกสาร ประกอบการสอน หนว่ ยท่ี 7

ประกอบการสอน หน่วยท่ี 7 5. ผูเ้ รยี นอธิบายและยกตัวอย่างโครงสรา้ งควบคมุ

6. ผู้สอนและผ้เู รียนร่วมกนั อธิบายพรอ้ ม แบบทำซำ้ ดว้ ยคำสงั่ while ท่ีไดศ้ ึกษาจาก

ยกตัวอย่างโครงสร้างควบคุมแบบทำซ้ำด้วย บทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน

คำส่งั while ตามที่ได้ศึกษาจากบทเรยี น 3. ขนั้ ประยกุ ต์ใช้

คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน 6. ผูเ้ รยี นทำแบบฝกึ หัดข้อ 1

3. ขน้ั ประยกุ ต์ใช้ 7. ผูเ้ รยี นทำใบงานท่ี 13

7.ผสู้ อนใหผ้ ู้เรียนทำแบบฝกึ หัดขอ้ 1 4. ขั้นสรุปและประเมนิ ผล

8.ผู้สอนใหผ้ เู้ รียนทำใบงานท่ี 13 8. ผูส้ อนและผเู้ รยี นร่วมกันสรปุ เนอ้ื หา

ทไี่ ดเ้ รยี นเพ่อื ให้มคี วามเข้าใจในทิศทางเดียวกัน

4. ขั้นสรปุ และประเมนิ ผล 9. ผู้เรยี นศกึ ษาเพมิ่ เติมนอกหอ้ งเรยี น

9. ผู้สอนและผเู้ รียนรว่ มกันสรุปเน้ือหาที่ไดเ้ รยี น ด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทีจ่ ัดทำขึน้

ใหม้ คี วามเขา้ ใจในทิศทางเดยี วกัน

10. ผู้สอนใหผ้ ู้เรียนศกึ ษาเพิ่มเติมนอก

ห้องเรียนด้วยบทเรยี นคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทจี่ ัดทำขนึ้

44

1. ขัน้ นำเขา้ สบู่ ทเรียน 1. ขั้นนำเขา้ สูบ่ ทเรียน

1. ผูส้ อนจัดเตรียมเอกสาร 1. ผู้เรียนเตรียมอุปกรณ์

2. ผู้สอนแจง้ จุดประสงค์การเรยี น 2. ผเู้ รียนทำความเข้าใจเกยี่ วกบั จดุ ประสงค์การ

3. ผู้สอนใหผ้ เู้ รยี นแสดงความรู้ โดยตั้งคำถาม เรยี น

เก่ยี วกบั โปรแกรมโครงสรา้ งควบคุมแบบทำซำ้ ด้วย 3. ผู้เรยี นแสดงความร้เู ก่ียวกับโปรแกรม

คำสง่ั do…while วา่ มลี ักษณะอยา่ งไร พร้อมให้ โครงสรา้ งควบคมุ แบบทำซำ้ ด้วยคำสง่ั do…while วา่ มี

เหตุผลประกอบ ลักษณะอยา่ งไร พรอ้ มให้เหตุผลประกอบ

2. ขน้ั ใหค้ วามรู้ 2. ขน้ั ใหค้ วามรู้

4.ผู้สอนอธบิ ายเน้ือหาเกยี่ วกับโครงสรา้ ง ควบคมุ แบบ 4. ผเู้ รยี นอธบิ ายและยกตัวอย่างถึงโครงสร้าง

ทำซำ้ ดว้ ยคำสง่ั do…while ควบคมุ แบบทำซ้ำดว้ ยคำสัง่ do…while ตามที่

5.ผสู้ อนและผูเ้ รียนร่วมกนั อธิบายพรอ้ ม ได้ศึกษาจากบทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน

ยกตัวอย่างโครงสร้างแบบหลายทางเลอื ก 3. ขั้นประยุกต์ใช้

3. ขน้ั ประยกุ ต์ใช้ 5. ผเู้ รยี นทำใบงานท่ี 14

6. ผสู้ อนใหผ้ เู้ รียนทำใบงานที่ 14 4. ขน้ั สรุปและประเมินผล

4. ขนั้ สรปุ และประเมินผล 6. ผู้เรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี น

7. ให้ผเู้ รียนทำแบบทดสอบหลังเรยี น 7. ผู้สอนและผู้เรยี นร่วมกันสรุปเนื้อหาท่ีไดเ้ รยี น

8. ผสู้ อนและผเู้ รียนรว่ มกนั สรุปเนอ้ื หาท่ีไดเ้ รียน เพือ่ ใหม้ คี วามเข้าใจในทศิ ทางเดียวกัน

ให้มคี วามเข้าใจในทศิ ทางเดียวกนั 8. ผู้เรียนศกึ ษาเพ่มิ เติมนอกห้องเรียน ดว้ ย

9. ผสู้ อนให้ผู้เรียนศกึ ษาเพิม่ เติมนอกห้องเรยี น บทเรียนคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอนทีจ่ ัดทำขน้ึ

ด้วยบทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอนที่จดั ทำขึน้ 1. ข้ันนำเขา้ สบู่ ทเรยี น

1. ข้ันนำเขา้ สู่บทเรียน 1. ผเู้ รยี นเตรยี มอุปกรณ์

1. ผสู้ อนจดั เตรียมเอกสาร 2. ผเู้ รยี นทำความเขา้ ใจเกี่ยวกบั จดุ ประสงค์การ

2. ผู้สอนแจ้งจดุ ประสงค์การเรยี น เรียน

3. ผสู้ อนให้ผูเ้ รียนแสดงความรู้ โดยตงั้ คำถาม 3. ผเู้ รยี นแสดงความรเู้ กย่ี วกับโปรแกรม

เกย่ี วกบั โปรแกรมโครงสรา้ งควบคมุ แบบทำซำ้ ด้วย โครงสร้างควบคุมแบบทำซ้ำด้วยคำส่ัง for วา่ มลี ักษณะ

คำสงั่ for ว่ามลี ักษณะอยา่ งไร พร้อมให้เหตผุ ล อยา่ งไร พร้อมให้เหตผุ ลประกอบ

ประกอบ 2. ขั้นใหค้ วามรู้

2. ขน้ั ใหค้ วามรู้ 2. ผเู้ รยี นอธบิ ายและยกตวั อย่างถงึ โครงสร้าง

3.ผสู้ อนอธบิ ายเนื้อหาเก่ียวกับโครงสรา้ งควบคมุ แบบ ควบคมุ แบบทำซำ้ ดว้ ยคำสง่ั for

ทำซ้ำดว้ ยคำสั่ง for และการ และการเขยี นโปรแกรมโครงสร้างควบคมุ แบบทำซ้ำ

เขียนโปรแกรมโครงสรา้ งควบคุมแบบทำซ้ำ แบบซอ้ น

แบบซ้อนกนั กนั ได้ศึกษาจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน

4.ผูส้ อนและผู้เรยี นร่วมกันอธบิ ายพร้อม

ยกตวั อยา่ งโครงสร้างแบบหลายทางเลอื ก

45

3. ขั้นประยุกต์ใช้ 3. ขนั้ ประยุกต์ใช้
3.ผสู้ อนใหผ้ ู้เรยี นทำแบบฝึกหัดท้ายบทท่ี 7 3. ผูเ้ รียนทำแบบฝึกหัดทา้ ยบทที่ 7
4.ผสู้ อนใหผ้ ู้เรียนทำใบงานที่ 15 4. ผูเ้ รยี นทำใบงานที่ 15
5.ผ้สู อนใหผ้ เู้ รียนฝกึ เขยี นโปรแกรมโครงสรา้ ง 5. ผ้เู รยี นฝกึ เขียนโปรแกรมโครงสร้างควบคมุ แบบ
ควบคุมแบบทำซ้ำดว้ ยคำส่งั for และการ ทำซ้ำดว้ ยคำส่ัง for และการเขียนโปรแกรม
เขียนโปรแกรมโครงสรา้ งควบคมุ แบบทำซำ้ โครงสร้างควบคมุ แบบทำซำ้ แบบซ้อนกนั
แบบซ้อนกนั 4. ขนั้ สรุปและประเมนิ ผล
4. ขนั้ สรุปและประเมินผล 1. ผเู้ รยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี น
1. ให้ผูเ้ รียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น 2. ผสู้ อนและผู้เรยี นร่วมกนั สรปุ เนือ้ หาที่ได้เรียน
2. ผ้สู อนและผู้เรยี นรว่ มกันสรุปเนอื้ หาที่ไดเ้ รยี น เพ่ือใหม้ ีความเข้าใจในทศิ ทางเดียวกัน
ใหม้ คี วามเขา้ ใจในทศิ ทางเดียวกนั 3. ผเู้ รยี นศกึ ษาเพิม่ เติมนอกห้องเรยี น ดว้ ย
3. ผ้สู อนใหผ้ ้เู รียนศกึ ษาเพ่ิมเตมิ นอกห้องเรยี น บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนที่จดั ทำขึน้
ด้วยบทเรียนคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอนท่จี ัดทำขึน้

งานที่มอบหมายหรอื กจิ กรรมการวัดผลและประเมนิ ผล
กอ่ นเรียน

1. จดั เตรยี มเอกสาร สอื่ การเรียนการสอนหน่วยที่ 7
2. ทำความเขา้ ใจเกย่ี วกับจุดประสงค์การเรยี นของหน่วยท่ี 7 และใหค้ วามรว่ มมือในการ
ทำกจิ กรรมในหนว่ ยท่ี 7
3. ตอบคำถามก่อนเรยี น โดยการถาม – ตอบ หนว่ ยท่ี 7
ขณะเรยี น
1.ปฏิบัตติ ามใบความรู้ที่ 7 เร่ืองโครงสรา้ งควบคมุ แบบทำซ้ำ
2. รว่ มกนั สรุป “โครงสร้างควบคุมแบบทำซ้ำ”
3. รว่ มกนั ทำกจิ กรรมการเรยี นรู้
หลังเรียน
1.ทำใบงานที่ 13-15
2.ทำแบบฝึกหดั ท้ายบทที่ 7
3.ทำแบบประเมินการเรียนรู้

46

ผลงาน/ชน้ิ งาน/ความสำเร็จของผ้เู รียน กจิ กรรม ให้ผ้เู รยี นทำแบบฝกึ หัด
สมรรถนะท่ีพึงประสงค์

ผู้เรยี นสรา้ งความเขา้ ใจเกยี่ วกับโปรแกรมโครงสร้างควบคุมแบบทำซำ้
1.วิเคราะหแ์ ละตีความหมาย
2.ตง้ั คำถาม
3.อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ ระดมสมอง
4.การประยกุ ตค์ วามร้สู ูง่ านอาชีพ
สมรรถนะการสร้างค่านยิ ม
การปลูกฝังใหม้ ีความรับผิดชอบ มีความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์ และมีความซอื่ สตั ย์ในอาชพี ของตน
สมรรถนะการปฏบิ ัตงิ านอาชีพ
1. นำความรู้เกีย่ วกบั แนะนำความรเู้ บื้องตน้ เก่ยี วกับโครงสร้างควบคุมแบบเงื่อนไขกรณี ไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชีวิตประจำวนั
สมรรถนะการขยายผล
ความสอดคล้อง แนะนำความรเู้ บื้องต้นเกีย่ วกับโครงสร้างควบคุมแบบเงื่อนไขกรณี ทำให้ผ้เู รยี นมีความรู้
เพมิ่ ขึ้น เม่ือผู้เรยี นได้เรยี นรู้ทำใหม้ คี วามรูใ้ นเรื่องโครงสร้างควบคุมแบบเงือ่ นไขกรณี มากขน้ึ
สือ่ การเรียนการสอน/การเรียนรู้ ส่ือสิ่งพมิ พ์
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพวิ เตอรใ์ นงานควบคมุ ไฟฟ้า
(ใช้ประกอบการเรยี นการสอนจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรมข้อท่ี 1-10)
2. ใบความรู้และใบงาน
ส่ือโสตทศั น์ /เทคโนโลยีใช้ประกอบการสอน(ถ้ามี)
1. บทเรยี นใบความรู้
2. Google App for Education
3.จับกล่มุ ClassDojo, Class123
4. code.org, tinkercad.com
5.padlet
6.เกมสก์ ลมุ่ Quizizz ,Quizlet
7.นบั ถอยหลังออนไลน์ Classtools.net
8.ประเมนิ ผลหลงั เรยี น Socreative
การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
หลักการประเมินผลการเรียนรู้
กอ่ นเรยี น
1.ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี น
ขณะเรียน
1.สงั เกตการทำงานกลุ่ม
หลงั เรยี น
1.ตรวจแบบฝึกหดั ท้ายบท
2.ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน
3.สรปุ ผลการรายงานหน้าช้นั เรียน

ผลงาน/ชน้ิ งาน/ผลสำเร็จของผู้เรยี น

47

ตรวจผลงาน กจิ กรรม
- กิจกรรม แบบฝึกหัด ใบงาน

รายละเอยี ดการประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม ประกอบดว้ ย 10 ข้อ 10 คะแนน ดงั นี้
1.วิธกี ารประเมิน: ทดสอบ
2.เครื่องมือ: แบบทดสอบ
3.เกณฑ์การใหค้ ะแนน : ข้อละ 1 คะแนน

48

แผนการสอน/แผนการเรยี นรภู้ าคทฤษฎี

แผนการสอน/การเรียนรู้ภาคทฤษฎี หน่วยท่ี 8
สปั ดาห์ท่ี12-13
ช่อื วิชา การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในงานควบคุมไฟฟ้า 10 ชั่วโมง

ชือ่ หน่วย การประยกุ ต์ใชง้ านคอมพวิ เตอร์เพ่ือการควบคุมไฟฟ้า
ควบคมุ LED /Resister/เปิดปิดไฟ 0-220V ดว้ ย Relay

ชอ่ื เรือ่ ง การประยุกตใ์ ชง้ านคอมพวิ เตอร์เพื่อการควบคุมไฟฟา้ ควบคุม LED /เปิดปดิ ไฟ 0-220V ด้วย Relay
หัวข้อเรอ่ื ง
ด้านความรู้

1. ขั้นตอนการออกแบบและพัฒนาโปรแกรม
2. ตัวอย่างการออกแบบและพฒั นาโปรแกรมงานควบคุมไฟฟ้า
ดา้ นทกั ษะ
1. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา่ งง่ายเพ่ือประยุกตใ์ นงานไฟฟ้า
ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม
1. ความรับผดิ ชอบ
2. ความสนใจใฝ่รู้
สาระสำคัญ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนาระบบที่ประกอบด้วย
กลุ่มสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเขียนคำสั่ง ในภาษา
โปรแกรมต่าง ๆมีบางโปรแกรมท่ี พัฒนาขึ้นได้รับความนิยมมีผู้ใช้อย่างแพร่หลาย บางโปรแกรมไม่ได้
รับความนิยมส่วนใหญ่เป็นเพราะโปรแกรมนั้น ๆ ใช้งานยากหรือไม่สะดวกต่อการใช้งาน หรือแก้ไข
เปลี่ยนแปลง บางโปรแกรมล้มเหลวในการพัฒนาไม่สำเร็จตามกำหนดหรือตามแผนที่วางไว้ เหล่านี้มี
สาเหตมุ าจากกระบวนการพฒั นาโปรแกรมทงั้ สิน้ ดงั น้นั เพือ่ ให้ไดโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์ท่ตี รงกับความต้องการ
มีคณุ ภาพควรจะต้องดำเนนิ พัฒนาเป็นขน้ั ตอนเพอื่ ใหง้ า่ ยตอ่ การเขยี นโปรแกรม การแก้ไขโปรแกรม
รวมไปถงึ การบำรุงรักษาโปรแกรมการพัฒนาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์นัน้ จะต้องดำเนนิ งานแบบมี
ขั้นตอนเพื่อความถูกต้องตรง ตามความต้องการและสะดวกในการตรวจสอบและแก้ไขโปรแกรม
โดยมขี นั้ ตอนในการพัฒนา โปรแกรมดงั นี้
1. การวิเคราะห์ความต้องการ เป็นขั้นตอนวิเคราะห์ปัญหาจากระบบงาน ความต้องการ ผลลัพธ์
ความตอ้ งการใชข้ อ้ มูลเพือ่ ใหไ้ ด้ผลลัพธต์ ามตอ้ งการและขนั้ ตอนการประมวลผล
2. การวางแผนแก้ไขปัญหา เป็นการจัดล าดับการทำงานของโปรแกรมตามขั้นตอนการ ประมวลผล
และสอดคล้องกบั วิธีการทำงานของคอมพวิ เตอร์
3. การเขียนโปรแกรม เป็นการนำคำสั่งของภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งที่เหมาะสม
กับลักษณะและประเภทของงาน โดยพิจารณาถึงความรู้ความสามารถและถนัดของโปรแกรมเมอร์มา
เขียนเป็นล าดบั ตามการทำงานและหลักไวยากรณ์ของภาษานั้น ๆ

49

4. การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม เป็นการทดสอบการทำงานของโปรแกรมทุกกรณีที่ข้อมูล
สามารถเป็นไปได้ เพื่อสนับสนุนว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นมานี้สามารถทำงานได้อย่าง
ถูกตอ้ งกบั ทกุ ขอ้ มลู จรงิ ที่ใช้งาน

5. การทำเอกสารประกอบโปรแกรม เป็นการทำเอกสารแนะนำวิธีการใช้งาน ขั้นตอนการ
ทำงานของโปรแกรม วิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ เบื้องต้นที่อาจเกิดขึ้นร ะหว่างการใช้งานโปรแกรมน้ัน
เอกสารดังกล่าวจะช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์และสามารถใช้งานได้สะดวกยิ่งข้ึน
ตลอดจนวิธกี ารปรับปรุงเปล่ียนแปลงแก้ไขโปรแกรม

6. การบำรุงรักษาโปรแกรม เป็นการดูแลบำรุงรักษาโปรแกรมหลังจากที่โปรแกรมใช้งานไป
ระยะเวลาหนึ่งโปรแกรมอาจเกิดปัญหาหรือข้อผิดพลาดขึ้น หรือในกรณีที่ผู้ใช้โปรแกรมอาจจะมีความ
ต้องการเพิ่มเติมหรือตอ้ งการปรบั ปรุงใหเ้ หมาะสมกับเหตุการณ์

สมรรถนะอาชีพประจำหน่วย
1. ออกแบบและเขียนโปรแกรมอยา่ งง่ายเพ่ือประยุกต์ในงานควบคมุ ไฟฟ้า

จุดประสงค์การสอน/การเรียนรู้
จดุ ประสงค์ทั่วไป / บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพียง

1.เพื่อให้มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างงา่ ยเพื่อประยุกต์ในงานไฟฟ้า
และมีทศั นคตทิ ี่ดี (ด้านความรู้)

2.เพอ่ื ใหม้ ที กั ษะในการออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างง่ายเพ่ือประยุกต์ในงานไฟฟ้า (ดา้ นทกั ษะ)
3.เพ่ือให้มเี จตคติท่ีดตี อ่ การเตรียมความพรอ้ มด้าน วสั ดุ อปุ กรณ์ และการปฏิบตั งิ านอย่าง
ถูกต้อง สำเร็จภายในเวลาที่ก าหนด มีเหตุและผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ด้าน คุณธรรม
จริยธรรม)
จดุ ประสงค์เชิงพฤติกรรม / บรู ณาการเศรษฐกิจพอเพยี ง
1. อธิบายขน้ั ตอนการออกแบบและพฒั นาโปรแกรม ได้ถูกตอ้ ง (ดา้ นความรู้)
2. ออกแบบโปรแกรมขนาดเลก็ ได้ถูกต้อง (ด้านทักษะ)
3. เขยี นโปรแกรมขนาดเลก็ ตามทอ่ี อกแบบไว้ ได้ถูกตอ้ ง (ด้านทักษะ)
4. การเตรียมความพร้อมด้านการเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ผู้เรียนจะต้องกระจายงานได้ทั่วถึง
และตรงตามความสามารถของสมาชิกทุกคน มีการจัดเตรียมสถานที่ สื่อ วัสดุ อุปกรณ์ไว้อย่างพร้อม เพรียง
(ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม/บูรณาการเศรษฐกจิ พอเพียง)
5. ความมีเหตุมีผลในการปฏิบัติงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เรียนจะต้องมี
การใช้หลักการเรียนรู้และเวลาที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ (ด้านคุณธรรม จริยธรรม/บูรณาการ
เศรษฐกิจพอเพยี ง)
6.ความมีเหตุมีผลในการปฏิบัติงาน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงนักศึกษาจะต้องมี
การใช้เทคนิคการจดบันทึกงาน การสืบค้นข้อมูล ก่อนการเรียนรู้และหลังเรียนรู้เพื่อให้การเรียนรู้
เหมาะสมกบั เวลา คมุ้ ค่าและประหยัด (ด้านคณุ ธรรม จริยธรรม/บูรณาการ เศรษฐกิจพอเพียง)