การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ppt

Article Sidebar

การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ppt

เผยแพร่แล้ว: เม.ย. 30, 2021

คำสำคัญ:

การอยู่ร่วมกัน พหุวัฒนธรรม

Main Article Content

พระมหาสุขสันติ์ สุขวฑฺฒโน

พระเมธีวรญาณ พระเมธีวรญาณ

อาจารย์ประจำภาควิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

สมหญิง ลมูลพักตร์

พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลโพธาราม จังหวัดราชบุรี

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม (2) เพื่อศึกษาหลักการที่เกี่ยวข้องกับการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม (3) เพื่อนำเสนอการอยู่ร่วมกันของคนสังคมพหุวัฒนธรรม กรณีศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี การศึกษาเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้ศึกษาจากเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 15 รูป/คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลแบบอรรถาธิบายและพรรณนาความ ผลการวิจัยพบว่า  1. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม คือการศึกษากระบวนการให้การศึกษาระดับขั้นพื้นฐานช่วยให้เด็กและเยาวชน ประชาชนเข้าใจและยอมรับซึ่งความแตกต่างในเรื่องของความเป็นชนกลุ่มน้อย ด้านเชื้อชาติ ภาษา ศาสนา ลัทธิความเชื่อ


  1. หลักการที่เกี่ยวข้องกับการอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม คือการร่วมกันของชุมชนชาวพุทธ คือการให้ทาน พูดจาที่ไพเราะ ทำตนให้เป็นประโยชน์ ชุมชนชาวอิสลามส่งเสริมให้มีการพัฒนาเปิดกว้างแต่ละชุมชนสู่สังคมอย่างเท่าเทียมกัน ให้ทุกคนในสังคมหันมาเข้าใจความแตกต่าง และสนใจเรียนรู้ความแตกต่างกับความรู้ที่มีอยู่ 3. การอยู่ร่วมกันของคนในสังคมพหุวัฒนธรรม กรณีศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี คือชุมชนชาวพุทธ ส่งเสริมการศึกษาแก่เยาวชนและประชาชน การสงเคราะห์แก่อุบาสกอุบาสิกาในชุมชนรอบวัด ชุมชนชาวอิสลามส่งเสริมการเรียนการสอนพิเศษในวันเสาร์-อาทิตย์ ส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่ดีด้วยการทำความสะอาดบริเวณส่วนรวม และให้ทำความสะอาดครัวเรือนของตนเอง ต้องการผู้นำที่ปฏิบัติตามหลักการศาสนาอย่างจริงจัง

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

      เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ

           บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น          

References

ขวัญจิต ศศิวงศาโรจน์. “การอยู่ร่วมกัน ในยุคไร้พรมแดนจากการย้ายถิ่น”, ใน การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุ
วัฒนธรรม. รวบรวมโดย สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล. กรุงเทพมหานคร: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์ จำกัด, 2559
ชาย โพธิสิตา. ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์ปริ๊นติ้ง, 2556
เบญจา ยอดดำเนิน-แอ็ตติกจ์ และกาญจนา ตั้งชลทิพย์. การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ : การจัดการข้อมูลการตีความ และการหาความหมาย. นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2552
อานันท์ กาญจนพันธ์. “พหุวัฒนธรรมในบริบทของการเปลี่ยนผ่านทางสังคมและวัฒนธรรม”. รายงานการวิจัย. ศูนย์ภูมิภาคทางสังคมศาสตร์และการพัฒนาอย่างยั่งยืน. คณะสังคมศาสตร์ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2551

การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ppt

วิชาหน้าที่พลเมือง (สาระเพิ่ม)

      • เรื่องที่ 2 การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม

การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ppt

เรื่องที่ 2 การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม

การอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม ppt

การอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมพหุวัฒนธรรม

  1. 1. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมพหุวัฒนธรรม โดย อาจารย์ชนากานต์ โสจะยะพันธ์
  2. 2. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมพหุวัฒนธรรม  ปัจจุบันสังคมไทยเข้าสู่ความเป็นพหุสังคมมากขึ้น การอยู่ร่วมกันของ บุคคลที่มีความแตกต่างทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา วัฒนธรรม ประเพณี รวมทั้งทัศนคติความเชื่อ อาจนามาซึ่งความไม่เข้าใจกันได้  ดังนั้น การเรียนรู้เพื่อยอมรับในความแตกต่างและความหลากหลายของ สังคมพหุวัฒนธรรมจาเป็นอย่างยิ่งที่คนไทยควรเรียนรู้ เพื่อการอยู่ ร่วมกันอย่างสันติ
  3. 3. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมพหุวัฒนธรรม  การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข หมายถึง การที่มนุษย์มาอยู่ร่วมกันเป็น สังคม สามารถปฏิบัติตามกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกันในรูปของกฎระเบียบ หรือกฎหมาย และมีคุณธรรม จริยธรรมในการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน การ มีส่วนร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ของสังคม เช่น การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การเมืองการปกครอง เคารพซึ่งกันและกัน ไม่แสดงกิริยาและวาจาดู หมิ่นผู้อื่น และการปฏิบัติตามคุณธรรมของการอยู่ร่วมกันตามหลัก ศาสนาที่ตนเองนับถือ จะทาให้ประชาชนสามารถอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สุข
  4. 4. การเคารพกฎเกณฑ์  เป็นหลักการพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันของผู้คนในสังคมโดยปกติสุข ไม่ ว่าจะเป็นสังคมใดหรือประเทศใด การอยู่ร่วมกันของผู้คนเป็นจานวน มากในสังคมต้องอาศัยกฎระเบียบกติกาของสังคม ซึ่งคนในสังคมนั้นๆ จาต้องเรียนรู้กฎกติกาของสังคม พร้อมทั้งต้องมีความรับผิดชอบต่อ สังคมส่วนรวมนั่นคือ ต้องยอมรับและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์กติกาทาง สังคม การอบรมสมาชิกในสังคมให้เกิดการเรียนรู้กฎเกณฑ์และกติกา ของสังคม คือ การถ่ายทอดวิถีชีวิตวัฒนธรรม และการทาให้สมาชิกใน สังคมนั้นสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสมถูกต้อง
  5. 5. การเคารพกฎเกณฑ์  ซึ่งในสังคมที่ได้มีการจัดระเบียบอย่างดีแล้วนั้น การอบรมให้เรียนรู้ กฎเกณฑ์ของสังคมเป็นกระบวนการที่จะต้องกระทา เริ่มตั้งแต่วัยเด็ก จนถึงผู้ใหญ่ การเข้าไปมีส่วนร่วมในรูปของสังคมใหม่และสถาบันใหม่ สมาชิกในสังคมก็จะต้องเรียนรู้กฎเกณฑ์ใหม่และยอมรับค่านิยมใหม่ และในขณะ เดียวกันที่พ่อแม่ครอบครัวก็ต้องทาหน้าที่เป็นตัวหลักที่ สาคัญในการเลี้ยงดูเด็ก เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในการเคารพกฎเกณฑ์ของ สังคม เพื่อให้การดารงชีวิตอยู่ของสมาชิกในสังคมได้อยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุข
  6. 6. การเคารพซึ่งกันและกัน  การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นการปกครองที่มีรัฐธรรมนูญเป็น แม่บทกาหนดกรอบให้ทุกภาคส่วนของสังคมยึดถือและปฏิบัติร่วมกัน โดยกรอบที่สาคัญในการดารงตนอย่างเหมาะสมของประชาชน คือการ ยึดมั่นในสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ตามที่รัฐธรรมนูญกาหนด หาก ประชาชนทุกคนรู้ถึงสิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ และต่างปฏิบัติได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ประชาชนในชาติย่อมอยู่ร่วมกัน อย่างมีความสุข และชาติบ้านเมืองก็จะพัฒนาและเจริญก้าวหน้าได้ อย่างรวดเร็ว
  7. 7. การเคารพซึ่งกันและกัน  การปฏิบัติตนตามสิทธิของตนเองและผู้อื่นในสังคม เป็นสิ่งที่ช่วยจัด ระเบียบให้กับสังคมสงบสุข โดยมีแนวทางปฏิบัติ ดังนี้ 1. เคารพสิทธิของกันและกัน โดยไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น สามารถแสดงออกได้หลายประการ เช่น การแสดงความคิดเห็น การ ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เป็นต้น 2. รู้จักใช้สิทธิของตนเองและแนะนาให้ผู้อื่นรู้จักใช้สิทธิของ ตนเอง
  8. 8. การเคารพซึ่งกันและกัน 3. เรียนรู้และทาความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสิทธิเสรีภาพตามที่ บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น สิทธิเสรีภาพของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพในเคหสถาน เป็นต้น 4. ปฏิบัติตามหน้าที่ของชาวไทยตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ เช่น การออกไปใช้สิทธิ์เลือกตั้ง การเสียภาษีให้รัฐเพื่อนาเงินมาพัฒนา ประเทศ เป็นต้น
  9. 9. การเคารพซึ่งกันและกัน  ผลที่ได้รับจากการปฏิบัติตนเคารพสิทธิขอองตนเองและผู้อื่น 1. ผลที่เกิดกับประเทศชาติ หากประชาชนมีความสมัครสมาน รักใคร่สามัคคี ไม่มีความแตกแยก ไม่แบ่งเป็นพวกเป็นเหล่า บ้านเมืองก็ จะสงบสุขเกิดสวัสดิภาพ บรรยากาศโดยรวมก็จะสดใส ปราศจากการ ระแวงต่อกัน การดาเนินกิจกรรมต่าง ๆสามารถดาเนินไปอย่างราบรื่น นักลงทุน นักท่องเที่ยวก็จะเดินทางมาเยือนประเทศของเราด้วยความ มั่ น ใ จ
  10. 10. 2. ผลที่เกิดขอึ้นกับชุมชนหรือสังคม เมื่อประชาชนในสังคมรู้จัก สิทธิของตนเอง และของคนอื่น ก็จะทาพาให้ชุมชนหรือสังคมเกิดการ พัฒนา เมื่อสังคมมั่นคงเข้มแข็งก็จะมีส่วนทาให้ประเทศชาติเข้มแข็ง เพราะ ชุมชนหรือสังคมเป็นส่วนหนึ่งของประเทศชาติบ้านเมืองโดยรวม 3. ผลที่เกิดขอึ้นกับครอบครัว ครอบครัวเป็นสถาบันแรกของ สังคม เมื่อครอบครัวเข้มแข็ง และอบรมสั่งสอนให้สมาชิกในครอบครัวทุก คนรู้บทบาท สิทธิ เสรีภาพของตนเองและปฏิบัติตามที่กฎหมายและ รัฐธรรมนูญได้ให้ความคุ้มครองได้อย่างเคร่งครัด โดยไม่ละเมิดสิทธิ เสรีภาพของสมาชิกอื่นในสังคม ก็จะนาพาให้สังคมและประเทศชาติ เข้มแข็งตามไปด้วย การเคารพซึ่งกันและกัน
  11. 11. ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น  มารยาททางวาจาก็คือบุคลิกภาพที่ปรากฏในสังคมที่เกี่ยวกับการใช้ ถ้อยคาสาเนียงต่อบุคคลทั่วไป เช่นการใช้ถ้อยคาที่สุภาพ ไม่พูดเหยียด หยามผู้อื่น การใช้ว่าคาว่ากรุณาเมื่อต้องการความช่วยเหลือจากผู้อื่น การกล่าวคาขอโทษเมื่อทาผิดพลาด การกล่าวคาขอบคุณเมื่อได้รับ ความช่วยเหลือ ไม่ส่งเสียงดังก่อความราคาญ ไม่พูดจาโอ้อวดตนเอง ใช้สาเนียงการพูดที่นุ่มนวลเป็นกันเอง ซึ่งมารยาททางวาจานี้มีผลให้คน ในสังคมอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข
  12. 12. ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น  ไม่ใช้วาจายุยงส่อเสียดให้ผู้อื่นแตกร้าว หรือระหองระแหงกัน ควรหลีก อย่างเด็ดขาด การสนทนาที่ดีย่อมไม่กล่าวถึงใครในแง่ร้าย ให้กล่าวถึง เรื่องที่ไม่พาดถึงบุคคลในทางที่จะทาให้เขาเสียหาย ควรพูดสนทนา ในทางที่จะเกิดความรู้  ไม่กล่าววาจาหยาบคายเสียดสีดูถูก หรือขัดคอผู้อื่น ไม่พูดจาดูถูก ข่มขู่ หรือก้าวร้าวผู้ฟัง จะทาให้ขัดเคืองกันและเป็นการน่าละอายสาหรับผู้ที่ แสดงวาจาเช่นนั้นออกมา แต่ควรพูดให้เกียรติ ยกย่อง หรือแสดงความ ชื่นชอบผู้ฟังด้วยความจริงใจ
  13. 13. ไม่แสดงกิริยาและวาจาดูหมิ่นผู้อื่น  แสดงความเคารพ ให้เกียรติผู้ฟังและผู้ที่กล่าวอ้างถึง โดยให้ความสนใจ ผู้ฟังทั้งที่เป็นการพูดคุยสนทนา และการพูดในที่ชุมชน ในการพูดถึง บุคคลอื่นที่เรากล่าวอ้างคาพูดหรือความคิดของท่าน ก็ควรจะให้เกียรติ เจ้าของคาพูดนั้น โดยประกาศชื่อด้วยความเคารพ มิใช่กล่าวอ้างขึ้น อย่างเลื่อนลอย หรือกล่าวเอาความคิดนั้นว่าเป็นของตนเอง  มีความรับผิดชอบต่อการพูด นักเรียนต้องไตร่ตรองก่อนที่จะพูดอะไร ออกไป เพื่อให้การพูดนั้นเป็นผลดีและเป็นประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
  14. 14. ความมีน้าใจและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข จาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอาศัยความ มีน้าใจไมตรีที่ดีต่อกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ความมีน้าใจเป็นเรื่องที่ ทุกคนทาได้ โดยไม่ต้องใช้เงินทองมากมาย เพียงแต่แสดงความเมตตา กรุณาต่อเพื่อนมนุษย์ โดยการช่วยเหลือเล็กๆ น้อยๆ เท่านั้น ก็เป็นการ แสดงน้าใจได้ เช่น การพาเด็กหรือ ผู้สูงอายุข้ามถนน หรือการสละที่นั่ง บนรถโดยสารให้หญิงมีครรภ์ หรือแม้แต่การมีส่วนร่วมช่วยกันพัฒนา สังคมของเราให้ดีขึ้นก็ได้ เป็นคนที่มีน้าใจและรู้จักช่วยเหลือผู้อื่นก็ย่อม เป็นที่รัก และที่ชื่นชมของผู้อื่นเสมอ นอกจากนี้ยังช่วยให้อยู่ร่วมกันใน สังคมได้อย่างมีความสุข
  15. 15. ความมีน้าใจและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  ควรเอาใจเขามาใส่ใจเรา คิดถึงจิตใจของคนอื่น และแสดงต่อผู้อื่น เหมือนที่เราต้องการให้คนอื่นแสดงต่อเรา และทาดีต่อคนอื่นโดยไม่หวัง ผลตอบแทน ไม่ว่าความดีนั้นจะเป็นเพียงสิ่งเล็กน้อยหรือสิ่งที่ยิ่งใหญ่ก็ ตาม  ควรเป็นผู้ให้มากกว่าผู้รับ และไม่หวังว่าคนอื่นจะต้องมาให้เราเสมอ  ควรแสดงน้าใจกับคนรอบข้าง เช่น เมื่อเวลามีโอกาสได้ไปเที่ยวในที่ไกล หรือใกล้ก็ตามควรมีของฝากเล็กๆน้อยๆติดมือมาถึงคนที่เรารู้จักและ ญาติมิตรของเรา นั่นเป็นการแสดงความมีน้าใจต่อกัน เพราะแม้อาจจะ เป็นแค่สิ่งเล็กน้อย แม้จะไม่ต้องใช้เงินทองมากมาย แต่สิ่งที่ได้มันมีค่า มากกว่านั้น นั่นคือน้าใจที่ผู้อื่นได้รับจากเรา
  16. 16. ความมีน้าใจและการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน  ควรเสียสละกาลังทรัพย์ สติปัญญา กาลังกาย และเวลาให้แก่ผู้ เดือดร้อน เท่าที่เราพอจะทาได้โดยไม่ถึงกับต้องลาบากแก่ผู้อื่นให้กับผู้ที่ ต้องการพึ่งพาอาศัยเรา โดยเป็นการกระทาที่ไม่หวังผลตอบแทน  ควรมีนิสัยเอื้อเฟื้อ ช่วยเหลือเกื้อกูลต่อเพื่อนบ้าน เช่น ไปร่วมงานพิธี ต่างๆ เช่น งานแต่งงาน งานศพ หรืองานอื่นๆ เท่านั้นเขาก็จะเห็นว่าเรา เป็นคนมีน้าใจ และจะสามารถเชื่อมไมตรีจิตต่อกันได้  ควรให้ความรักแก่คนอื่นๆ และให้ความร่วมมือเมื่อเขาต้องการให้ ช่วยเหลือ และช่วยเหลือเขาอย่างสุดความสามารถด้วยความจริงใจที่เรา มี
  17. 17. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมพหุวัฒนธรรม การอยู่ร่วมกันกับคนหมู่มากที่มีความแตกต่างกันในหลายด้าน อาจมีการ กระทบกระทั่งกันเกิดปัญหาขึ้นมาได้ ถึงแม้ปัญหาที่เกิดจากความแตกต่าง ในสังคมเดียวกันจะมีอยู่ทั่วไป แต่หากเรารู้จักเรียนรู้ความแตกต่าง การ เคารพและยอมรับซึ่งความแตกต่างของกันและกัน การมีน้าใจช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน มีความไว้ใจและมีความปรารถนาดีต่อกัน สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็น ส่วนสาคัญที่ช่วยทาให้ประชาชนทุกชาติพันธุ์ สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมี ความสุข