จรรยาบรรณของนักคอมพิวเตอร์ pdf

จรรยาบรรณของผ้ใู ชอ้ ินเทอร์เนต็
กฎหมายเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์

และอินเทอรเ์ นต็
การใชส้ ่อื สังคมออนไลน์

จรรยาบรรณของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต กฎหมายเก่ยี วกับ
คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต การใชส้ อ่ื สังคมออนไลน์

เสนอ

อาจารย์ปรยี า ปนั ธยิ ะ

จดั ทาโดย

นางสาวชนศิ รา ทายะรนิ ทร์
เลขที่ 6 หอ้ ง สบล 63.1
สาขาวิชาการเลขานกุ าร

รายงานเล่มนีเ้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของ รหสั วิชา 30203-2104
วชิ าการนาเสนองานเลขานุการ
ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563
วิทยาลยั อาชีวศึกษาลาปาง

คานา

รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่ง รหัสวิชา 30203-2104 วิชาการนาเสนองานเลขานุการ ได้รับมอบหมาย
จากครูปรียา ปันธิยะ ให้ดาเนินการศึกษาค้นคว้าเก่ียวกับเรื่องจรรยาบรรณของผู้ใช้อินเทอร์เน็ต กฎหมาย
เกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ อินเทอรเ์ น็ต และการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ทเ่ี ข้ามามบี ทบาทในชวี ิตประจาวัน

ซ่ึงเนื้อหารายงานเล่มน้ี ประกอบด้วยตัวเร่ืองของจรรยาบรรณ จริยธรรม กฎหมายทางอินเทอร์เน็ต
ซ่งึ จากการทผ่ี จู้ ดั ทาไดศ้ กึ ษาค้นคว้าข้อมูลดังกล่าวเพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาเพิ่มเติม ผู้จัดทาหวังเป็นอย่าง
ยงิ่ วา่ คงจะเป็นประโยชนต์ อ่ ผูท้ ส่ี นใจ

นางสาวชนศิ รา ทายะรนิ ทร์
สาขาวิชาการเลขานุการ

สารบญั ข

เรอ่ื ง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
ความหมายของจรรยาบรรณ 1
จรรยาบรรณในการใช้อินเตอรเ์ นต็ 2-5
จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) 7-8
จรรยาบรรณของนักคอมพิวเตอร์ 9
กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ 10-12
แหล่งอ้างอิง ค

ความหมายของจรรยาบรรณ
จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติ ที่ผู้ประกอบวิชาชีพ การงานแต่ละอย่าง กาหนดขึ้น

เพื่อรักษา และสร้างเสริมเกียรติคุณ ช่ือเสียง และฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็น ลายลักษณ์อักษร หรือไม่
ก็ได้ (ราชบณั ฑติ ยสถาน. 2546 : 289)

จรรยาบรรณ หมายถึง จริยาวิชาชีพ หรือจรรยาวิชาชีพ หรือจริยธรรมวิชาชีพ ซึ่งครอบคลุมในทุกเร่ือง
ทุกประการ ทีเ่ ป็นข้อควรปฏิบตั ิ สาหรบั กลุ่มวชิ าชพี (พระราชวรมนุ .ี 2541 : 39-40)

จรรยาบรรณวิชาชีพ หมายถึง มาตรฐานของคุณค่า แห่งความดีงาม ของการกระทา หนึ่ง ๆ หรือ
พฤติกรรมโดยรวม ของผปู้ ระกอบวชิ าชีพใดวิชาชีพหน่งึ ( มหาวิทยาลัย สุโขทยั ธรรมาธริ าช. 2549 : 300)

สรุป จรรยาบรรณ เป็นข้อควรประพฤติที่ดีงาม สาหรับสมาชิก ในวิชาชีพนั้น ๆ ข้อควรประพฤตินี้
ถ้าเราฝ่าฝืนจะเกิดโทษ จรรยาบรรณวิชาชีพจึง เป็นมาตรฐาน ความประพฤติ และวิจารณญาณ ทางศีลธรรม
และวิชาชีพ ท่ีเป็นกฎเกณฑ์ หรือแบบแผนของความประพฤติ สาหรับยึดถือ เป็นแนวปฏิบัติ ของผู้ประกอบ
วชิ าชพี หน่ึง หลกั ปฏบิ ัตดิ ังกลา่ ว อาศยั หลักธรรม ความถูกตอ้ ง สว่ นใหญ่ กาหนดโดยสมาคมวิชาชีพนัน้ ๆ

จรรยาบรรณวิชาชีพ อาจถูกกาหนดข้ึน เป็นลายลักษณ์อักษร โดยหน่วยงานของรัฐ หรือเอกชน อาทิ
เช่น จรรยาบรรณแพทย์ โดยแพทยสภา จรรยาบรรณครู โดยคุรุสภา เป็นต้น โดยเฉพาะวิชาชีพ
ท่ีเก่ียวกับสวัสดิภาพ และความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สิน ของประชาชน จะต้องมี จรรยาบรรณวิชาชีพ
เพ่ือรักษามาตรฐาน การปฏิบัติหน้าท่ี และป้องกันความเสียหาย ท่ีอาจจะเกิดข้ึน ปัจจุบัน มีการจัดทา
จรรยาบรรณวิชาชีพขึ้นมากมาย เช่น จรรยาบรรณแพทย์พยาบาล จรรยาบรรณครูอาจารย์ จรรยาบรรณ
วศิ วกร จรรยาบรรณนักหนงั สอื พมิ พ์ เปน็ ต้น

ภาพท่ี 1 : สอนความหมายของจรรญาบรรณ

2

จรรยาบรรณในการใช้อนิ เตอร์เน็ต
จรรยาบรรณทผี่ ู้ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ ยดึ ถอื ไว้เป็นบทการปฏบิ ตั ิเพื่อเตอื นความจา

1. ต้องไม่ใชค้ อมพิวเตอรท์ ารา้ ยหรอื ละเมิดผูอ้ ่นื
2. ตอ้ งไมร่ บกวนการทางานของผูอ้ นื่
3. ต้องไมส่ อดแนมหรือแกไ้ ขเปิดดใู นแฟ้มของผู้อ่นื
4. ต้องไม่ใช้คอมพวิ เตอร์เพ่อื การโจรกรรมข้อมลู ข่าวสาร
5. ต้องไมใ่ ช้คอมพวิ เตอร์สร้างหลักฐานทเี่ ปน็ เทจ็
6. ต้องไม่คดั ลอกโปรแกรมผู้อ่นื ท่มี ลี ิขสิทธิ์
7. ตอ้ งไมล่ ะเมิดการใช้ทรพั ยากรคอมพิวเตอร์โดยทต่ี นเองไม่มสี ทิ ธ์ิ
8. ต้องไมน่ าเอาผลงานของผอู้ ืน่ มาเป็นของตน
9. ตอ้ งคานึงถงึ สง่ิ ท่จี ะเกิดขึน้ กับสงั คมอันตดิ ตามมาจากการกระทา
10. ต้องใชค้ อมพิวเตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบยี บ กติกามารยาท

ดังน้ัน จรรยาบรรณเปน็ สิ่งทีท่ าใหส้ งั คมอนิ เทอรเ์ น็ตเป็นระเบียบความรับผิดชอบตอ่ สังคมเป็น
เรอ่ื งท่จี ะตอ้ งปลูกฝังกฎเกณฑ์ของแต่ละเครือข่ายจึงต้องมีการวางระเบียบเพ่ือให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างมี
ระบบและเอ้ือประโยชน์ซ่ึงกันและกัน บางเครือข่ายมีบทลงโทษและจรรยาบรรณที่ชัดเจน เพื่อช่วยให้สังคม
สงบสุขและหากการละเมดิ รุนแรงกฎหมายกจ็ ะเข้ามามบี ทบาทได้เช่นกัน

ในทางปฏิบัติแลว้ การระบุว่าการกระทาสิ่งใดผิดจริยธรรมนั้น อาจกล่าวได้ไม่ชัดเจนมากนัก
ท้ังนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแต่ละประเทศด้วย อย่างเช่น กรณีที่เจ้าของบริษัทใช้กล้องในการ
ตรวจจับหรือเฝ้าดูการทางานของพนักงาน เป็นต้น ตัวอย่างของการกระทาที่ยอมรับกันโดยท่ัวไปว่าเป็นการ
กระทาท่ีผดิ จรยิ ธรรม เช่นการใชค้ อมพิวเตอร์ทาร้ายผู้อื่นใหเ้ กดิ ความเสียหายหรือก่อความราราญ เช่น การนา
ภาพหรือข้อมูลส่วนตัวของบุคคลไปลงบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับอนุญาตการใช้คอมพิวเตอร์ในก ารขโมย
ขอ้ มลู การเขา้ ถึงขอ้ มลู หรือคอมพิวเตอร์ของบคุ คลอน่ื โดยไม่ได้รบั อนญุ าตการละเมดิ ลิขสิทธ์โิ ดยทัว่ ไป

ภาพที่ 2 : การใช้อนิ เทอร์เน็ต

3
เมื่อพิจารณาถึงจริยธรรมเก่ียวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ ว
จะกล่าวถงึ ใน 4 ประเด็น ท่ีรจู้ ักกันในลักษณะตวั ยอ่ วา่ PAPA ประกอบด้วย

ภาพท่ี 3 : PAPA
1. ความเป็นส่วนตัว (Information Privacy) ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ
โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลาพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถท่ีจะควบคุมข้อมูลของตนเองในการ
เปิดเผยให้กับผู้อ่ืน สิทธิน้ีใช้ได้ครอบคลุมท้ังปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่าง ๆ ปัจจุบันมีประเด็น
เก่ียวกับความเป็นส่วนตัวทเ่ี ป็นข้อหน้าสงั เกตดงั นี้
1.1. การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และการบันทึกข้อมูลในเครื่อง
คอมพวิ เตอร์ รวมท้งั การบนั ทึก-แลกเปล่ยี นข้อมลู ทบ่ี ุคคลเขา้ ไปใช้บรกิ ารเว็บไซต์และกลุ่มขา่ วสาร
2.2. การใชเ้ ทคโนโลยใี นการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เช่น บริษัทใช้
คอมพิวเตอร์ในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการปฏิบัติงาน/การใช้บริการของพนักงาน ถึงแม้ว่าจะเป็นการติดตาม
การทางานเพื่อการพัฒนาคุณภาพการใช้บริการ แต่กิจกรรมหลายอย่างของพนักงานก็ถูกเฝ้าดูด้วย พนักงาน
สญู เสยี ความเป็นส่วนตัว ซ่ึงการกระทาเชน่ น้ถี ือเป็นการผิดจรยิ ธรรม
1.3. การใช้ข้อมูลของลกู คา้ จากแหล่งตา่ งๆ เพือ่ ผลประโยชน์ในการขยายตลาด
1.4. การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ที่อยู่อีเมล์ หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วนตัวอ่ืนๆ
เพอื่ นาไปสรา้ งฐานข้อมูลประวตั ิลกู ค้าขน้ึ มาใหม่ แล้วนาไปขายให้กับบริษัทอ่ืน ดังน้ัน เพ่ือเป็นการป้องกันการ
ละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ จึงควรจะต้องระวังการให้ข้อมูล โดยเฉพาะการใช้
อินเตอร์เน็ตที่มีการใช้โปรโมชั่น หรือระบุให้มีการลงทะเบียนก่อนเข้าใช้บริการ เช่น ข้อมูลบัตรเครดิต และ
ที่อย่อู ีเมล์

ภาพท่ี 4 : Information Privacy

4

2. ความถูกต้อง (Information Accuracy) ในการใช้คอมพิวเตอร์เพ่ือการรวบรวม จัดเก็บ
และเรยี กใช้ขอ้ มลู นัน้ คุณลกั ษณะท่ีสาคญั ประการหนึง่ คือ ความน่าเชื่อถือได้ของข้อมูล ท้ังน้ี ข้อมูลจะมีความ
น่าเช่ือถือมากน้อยเพียงใดย่อมข้ึนอยู่กับความถูกต้องในการบันทึกข้อมูลด้วย ประเด็นด้านจริยธรรม
ที่เกี่ยวข้องกับความถูกต้องของข้อมูล โดยทั่วไปจะพิจารณาว่าใครจะเป็นผู้รับผิดชอบต่อความถูกต้องของ
ข้อมูลท่ีจัดเก็บและเผยแพร่ เช่น ในกรณีที่องค์การให้ลูกค้าลงทะเบียนด้วยตนเอง หรือกรณีของข้อมูลที่
เผยแพร่ผา่ นทางเวบ็ ไซต์ อกี ประเด็นหน่ึง คือ จะทราบไดอ้ ยา่ งไรว่าข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นนั้นไม่ได้เกิดจากความ
จงใจ และผู้ใดจะเปน็ ผูร้ ับผดิ ชอบหากเกิดขอ้ ผิดพลาด

ดงั นั้น ในการจัดทาข้อมูลและสารสนเทศให้มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือน้ัน ข้อมูลควรได้รับ
การตรวจสอบความถูกต้องก่อนท่ีจะนาเข้าฐานข้อมูล รวมถึงการปรับปรุงข้อมูลให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ
นอกจากน้ี ควรให้สิทธิแก่บุคคลในการเข้าไปตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลของตนเองได้ เช่น ผู้สอน
สามารถดูคะแนนของนักศึกษาในความรับผิดชอบ หรือที่สอนเพ่ือตรวจสอบว่าคะแนนท่ีป้อนไม่ถูกแก้ไข
เปล่ยี นแปลง

ภาพที่ 5 : Information Accuracy
3. ความเปน็ เจา้ ของ (Information Property) สิทธิความเปน็ เจ้าของ หมายถึง กรรมสิทธิ์ใน
การถอื ครองทรพั ยส์ นิ ซ่ึงอาจเปน็ ทรัพยส์ นิ ทว่ั ไปท่ีจับต้องได้ เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรัพย์สิน
ทางปญั ญา (ความคิด) ท่ีจับต้องไม่ได้ เช่น บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถถ่ายทอดและบันทึกลง
ในสือ่ ตา่ งๆ ได้ เช่น ส่ิงพิมพ์ เทป ซีดีรอม เปน็ ต้น ในสงั คมของเทคโนโลยีสารสนเทศ มักจะกล่าวถึงการละเมิด
ลิขสิทธิ์ซอฟตแ์ วร์ เมือ่ ทา่ นซ้อื โปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ่มี กี ารจดลขิ สิทธิ์ น่ันหมายความว่าท่านได้จ่ายค่าลิขสิทธ์ิ
ในการใช้ซอฟต์แวรน์ ัน้ สาหรับท่านเองหลงั จากทท่ี า่ นเปิดกล่องหรือบรรจุภัณฑ์แล้ว หมายถึงว่าท่านได้ยอมรับ
ขอ้ ตกลงเกีย่ วกบั ลิขสิทธ์ใิ นการใชส้ นิ คา้ นั้น ซงึ่ ลขิ สิทธใิ์ นการใช้จะแตกต่างกันไปในแต่ละสินค้าและบริษัท บาง
โปรแกรมคอมพิวเตอร์จะอนุญาตให้ติดต้ังได้เพียงคร้ังเดียว หรือไม่อนุญาตให้ใช้กับคอมพิวเตอร์เครื่องอ่ืนๆ
ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์เคร่ืองนั้นๆ ท่านเป็นเจ้าของ และไม่มีผู้อ่ืนใช้ก็ตาม ในขณะที่บางบริษัทอนุญาตให้ใช้
โปรแกรมนั้นได้หลายๆ เคร่ือง ตราบใดที่ท่านยังเป็นบุคคลที่มีสิทธิในโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีซ้ือมา การ
คัดลอกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้กับเพ่ือน เป็นการกระทาท่ีจะต้องพิจารณาให้รอบคอบก่อนว่าโปรแกรมท่ีจะ
ทาการคัดลอกนนั้ เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทท่ี า่ นมีสิทธใ์ นระดับใด

ภาพท่ี 6 : Information Property

5

4. การเข้าถึงข้อมูล (Data Accessibility) ปัจจุบันการเข้าใช้งานโปรแกรม หรือระบบ
คอมพิวเตอร์มักจะมีการกาหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน ท้ังนี้ เพ่ือเป็นการป้องกันการเข้าไปดาเนินการ
ต่างๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ท่ีไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง และเป็นการรักษาความลับของข้อมูล ตัวอย่างสิทธิในการใช้งาน
ระบบ เช่น การบนั ทกึ การแก้ไข/ปรับปรุง และการลบ เป็นต้น ดังนั้น ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จึงได้มี
การออกแบบระบบรักษาความปลอดภัยในการเข้าถึงของผู้ใช้ และการเข้าถึงข้อมูลของผู้อ่ืนโดยไม่ได้รับความ
ยินยอมน้ัน ก็ถือเป็นการผิดจริยธรรมเช่นเดียวกับการละเมิดข้อมูลส่วนตัว ในการใช้งานคอมพิวเตอร์และ
เครือข่ายร่วมกันให้เป็นระเบียบ หากผู้ใช้ร่วมใจกันปฏิบัติตามระเบียบและข้อบังคับของแต่ละหน่วยงานอย่าง
เคร่งครดั แล้ว การผิดจรยิ ธรรมตามประเด็นดงั ทกี่ ลา่ วมาข้างตน้ ก็คงจะไม่เกดิ ขึน้

ภาพท่ี 7 : Data Accessibility
จรรยาบรรณของผ้ใู ชอ้ นิ เทอรเ์ นต็

จรรยาบรรณของผู้ใช้อนิ เทอรเ์ น็ต ทีค่ วรปฏิบตั ิและถอื เป็นมารยาทในการใช้อินเทอร์เน็ตมีอยู่
10 ประการ ดงั นี้

1. ต้องไมใ่ ชค้ อมพวิ เตอรท์ าร้ายหรือละเมดิ ผู้อนื่
2. ต้องไม่รบกวนการทางานของผู้อน่ื
3. ตอ้ งไมส่ อดแนมหรือแกไ้ ขเปดิ ดใู นไฟล์ของผู้อ่นื
4. ตอ้ งไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพ่อื การโจรกรรมข้อมลู ขา่ วสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพวิ เตอร์สร้างหลักฐานทีเ่ ปน็ เทจ็
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมผ้อู ่ืนทีม่ ีลขิ สิทธิ์
7. ต้องไมล่ ะเมดิ การใช้ทรพั ยากรคอมพิวเตอรโ์ ดยทีต่ นเองไม่มสี ทิ ธิ์
8. ตอ้ งไมน่ าเอาผลงานของผู้อืน่ มาเปน็ ของตน
9. ตอ้ งคานึงถงึ สิ่งทจ่ี ะเกดิ ขนึ้ กบั สงั คมอนั ตดิ ตามมาจากการกระทา
10. ตอ้ งใชค้ อมพวิ เตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท

ภาพท่ี 8 : จรรยาบรรณอินเทอร์เนต็

6

จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ แบง่ เปน็ 4 ประเดน็ ดังนี้

ภาพที่ 9 : จริยธรรม

1. ความเป็นส่วนตัว ความเป็นสว่ นตวั ของขอ้ มูลและสารสนเทศ โดยท่ัวไปหมายถึง สิทธิท่ีจะ
อยู่ตามลาพัง และเป็นสิทธิท่ีเจ้าของสามารถท่ีจะควบคุมข้อมูลของตนเอง ในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้
ใช้ได้ครอบคลุมท้งั ปัจเจกบคุ คล กลุ่มบุคคล และองคก์ ร และหนว่ ยงานตา่ ง ๆ

2. ความถูกต้อง ข้อมูลควรได้รับการตรวจสอบความถูกต้องก่อนท่ีจะบันทึกข้อมูลเก็บไว้
รวมถึงการปรับปรุงข้อมูลให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ นอกจากน้ี ควรให้สิทธิแก่บุคคลในการเข้าไปตรวจสอบ
ความถูกตอ้ งของขอ้ มูลตนเองได้

3. ความเป็นเจ้าของ เป็นกรรมสิทธ์ิในการถือครองทรัพย์สิน ซ่ึงอาจเป็นทรัพย์สินท่ัวไปที่จับ
ต้องได้ เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา ท่ีจับต้องไม่ได้ เช่น บทเพลง โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ แต่สามารถถ่ายทอดและบันทึกลงในส่อื ต่างๆ ได้ เช่น ส่ิงพิมพ์ เทป ซีดีรอม เปน็ ตน้

4. การเขา้ ถงึ ขอ้ มูล การเข้าใชง้ านโปรแกรม หรือระบบคอมพิวเตอร์ มักจะมีการกาหนดสิทธิ
ตามระดับของผู้ใช้งาน ท้ังน้ี เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าไปดาเนินการต่างๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ที่ไม่มีส่วน
เก่ยี วข้อง และเปน็ การรกั ษาความลับของขอ้ มลู
จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ (บัญญัติ 10 ประการ)
จรรยาบรรณท่ผี ้ใู ช้อนิ เทอรเ์ น็ตยดึ ถือไว้เสมือนเปน็ แม่บทแห่งการปฏบิ ตั ิเพ่ือระลึกและเตือนความจาเสมอ

1. ไมใ่ ช้คอมพิวเตอร์เพ่ือกอ่ อาชญากรรมหรือละเมิดสิทธผิ ู้อื่น
2. ไมใ่ ชค้ อมพวิ เตอรร์ บกวนการผ้อู ื่น
3. ไมท่ าการสอดแนม แกไ้ ข หรอื เปิดดูไฟลข์ องผอู้ ืน่ กอ่ นได้รับอนุญาต
4. ไม่ใชค้ อมพิวเตอรใ์ นการโจรกรรมขอ้ มลู ข่าวสาร
5. ไมใ่ ชค้ อมพิวเตอรส์ ร้างหลักฐานเทจ็
6. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการคดั ลอกโปรแกรมทม่ี ีลขิ สิทธ์ิ
7. ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอร์ในการละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพวิ เตอรโ์ ดยทต่ี นเองไมม่ ีสิทธิ์
8. ไมใ่ ชค้ อมพวิ เตอรเ์ พอ่ื นาเอาผลงานของผู้อ่นื มาเป็นของตน
9. คานงึ ถึงผลของการกระทาทจ่ี ะเกิดขน้ึ กบั สังคม
10. ใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมารยาท

7

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime)
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือ ผู้กระทาผิดกฎหมายโดยใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ

สาคญั ในการกอ่ อาชญากรรมและกระทาความผดิ นัน้
อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ ได้มผี ู้นยิ ามให้ความหมายดังน้ี

การกระทาการใด ๆ เกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ ทาให้เหยื่อได้รับความเสียหาย และผู้กระทาได้รับ
ผลประโยชน์ตอบแทน การกระทาผิดกฎหมายใด ๆ ซึ่งใช้เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือและในการ
สบื สวนสอบสวนของเจา้ หนา้ ทเ่ี พอ่ื นาผู้กระทาผิดมาดาเนินคดีต้องใชค้ วามรู้ทางเทคโนโลยเี ชน่ เดียวกัน

การประกอบอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ก่อให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจของประเทศ
จานวนมหาศาล อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์จึงจัดเป็นอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ หรือ อาชญากรรมทาง
ธุรกิจรปู แบบหน่งึ ทม่ี ีความสาคญั

ภาพท่ี 10 : อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์
ประเภทของอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์

1. Novice อาชญากรมือใหมห่ รือมือสมัครเล่น เป็นพวกท่ีอยากทดลองความรู้และส่วนใหญ่จะไม่ใช่ผู้
ท่ีเป็นอาชญากรโดยนสิ ัย

2. Darnged person อาชญากรพวกจิตวิปรติ เป็นพวกผิดปกติ มลี ักษณะนิสัยทชี่ อบความรนุ แรง
3. Organized Crime อาชญากรที่ร่วมมือกันกระทาความผดิ ในลักษณะขององคก์ รใหญ่ ๆ
4. Career Criminal อาชญากรมอื อาชีพ
5. Com Artist อาชญากรหวั พฒั นา เป็นพวกท่ีชอบความกา้ วหน้าทางคอมพิวเตอร์
6. Dreamer อาชญากรพวกบา้ ลทั ธิ จะกระทาผดิ เนือ่ งจากมคี วามเชื่อในส่ิงใดสง่ิ หนึ่งอย่างรุนแรง
7. แคร็กเกอร์ Cracker คือบุคคลที่บุกรุกหรือรบกวนระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลด้วยเจตนาร้าย
cracker เมอ่ื บุกรุกเขา้ สูร่ ะบบ จะทาลายข้อมูลที่สาคัญทาให้ผู้ใช้ไม่สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ หรืออย่างน้อย
ทาใหเ้ กิดปญั หาในระบบคอมพิวเตอรข์ องเป้าหมาย โดยกระทาของ chacker มีเจตนามุ่งรา้ ยเปน็ สาคญั
8. แฮกเกอร์ Hacker หมายถึงผู้ท่ีมีความสนใจอย่างแรงกล้าในการทางานอันลึกลับซับซ้อนของการ
ทางานของระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ใดๆ ก็ตาม ส่วนมากแล้ว hacker จะเป็นโปรแกรมเมอร์ สามารถเข้า
ไปถึงขอ้ มลู ในคอมพิวเตอร์โดยเจาะผ่านระบบ รักษาความปลอดภัยของคอมพิวเตอร์ได้
9. อาชญากรในรูปแบบเดิม ๆ ที่ใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือในการกระทาความผิด เช่น พยายามขโมย
บตั ร ATM และรหวั บัตรของผูอ้ ืน่

8

รปู แบบของอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์
ปัจจุบันทัวโลกได้จาแนกประเภทอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ 9 ประเภท (ตามข้อมูล

คณะอนุกรรมการเฉพาะกจิ รา่ งกฎหมายอาชญากรรมทาคอมพิวเตอร์)
1. การขโมยข้อมูลทางอนิ เตอร์เนต็ ซึง่ รวมถงึ การขโมยประโยชนใ์ นการลักลอบใช้บริการ
2. อาชญากรรมนาเอาระบบการสื่อสารมาปกปิดความรบั ผดิ ของตนเอง
3. การละเมดิ ลขิ สิทธิป์ ลอมแปลง เลยี นแบบระบบซอพตแ์ วร์ โดยมิชอบ
4. ใช้คอมพวิ เตอรฟ์ อกเงิน
5. ไปก่อกวน ระบายสาธารณูปโภค เชน่ ระบบจา่ ยนา้ จา่ ยไฟ ระบบการจราจร
6. ใชค้ อมพวิ เตอร์แพร่ภาพ เสียง ลามกอนาจาร และข้อมลู ทไ่ี มเ่ หมาะสม
7. หลอกลวงใหร้ ่วมค้าขายหรือลงทุนปลอม
8. แทรกแซงขอ้ มลู แลว้ นาขอ้ มูลนน้ั มาเป็นประโยชน์ตอ่ ตนโดยมชิ อบ
9. ใชค้ อมพิวเตอรแ์ อบโอนเงนิ ในบัญชผี ู้อืน่ เข้าบัญชีตวั เอง

อาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ แบ่งเป็น 4 ลักษณะ คอื
1. การเจาะระบบรักษาความปลอดภัย ทางกายภาพ ได้แก่ ตวั อาคาร อปุ กรณแ์ ละสือ่ ตา่ ง ๆ
2. การเจาะเขา้ ไปในระบบสื่อสาร และการรกั ษาความปลอดภยั ของซอฟต์แวรข์ ้อมูล
3. เปน็ การเจาะเขา้ สูร่ ะบบรักษาความปลอดภยั ของระบบปฏิบัติการ (Operating System)
4. เป็นการเจาะผ่านระบบรักษาความปลอดภัยส่วนบุคคล โดยใช้อินเตอร์เน็ตเป็นช่องทางในการ

กระทาความผิด

ภาพท่ี 11 : อาชญากรรมคอมพวิ เตอร์

9

จรรยาบรรณของนกั คอมพิวเตอร์
1. จรรยาบรรณต่อตนเอง ยึดม่ันในความซื่อสัตย์สจุ รติ ปฏบิ ตั หิ น้าทแ่ี ละดารงชวี ิตเหมาะสมตามหลัก

ธรรมาภิบาล
1.1. ประกอบวิชาชีพนักคอมพิวเตอร์ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต มีความยุติธรรม ใฝ่หาความรู้ใหม่ๆอยู่

เสมอ เป็นการพัฒนาตน และงานทรี่ ับผิดชอบ อันจะเป็นการเพิ่มศักยภาพใหต้ นเองและหน่วยงานท่ีสังกดั
1.2. ผูป้ ระกอบวชิ าชีพคอมพวิ เตอรจ์ ะมคี วามวริ ยิ ะอตุ สาหะในการปฏิบตั ิงานเพื่อให้บรรลุความสาเร็จ

ของงานสงู สดุ
2. จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมงาน ต้ังมน่ั อย่ใู นความถูกต้อง มเี หตุผล และรรู้ ักสามัคคี
2.1. ไม่คัดลอกผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากเจ้าของสิทธิเดิมอย่างเป็น

ลายลักษณอ์ ักษร
2.2. ให้ความยกย่องและนับถือผู้ร่วมงานและผู้ร่วมอาชีพทุกระดับที่มีความรู้ความสามารถและความ

ประพฤตดิ ี
2.3. รกั ษาและแสวงหามิตรภาพระหว่างผรู้ ่วมงานและผรู้ ว่ มอาชีพ
3. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ไม่ประพฤติหรือกระทาการใดๆอันเป็นเหตุให้เสื่อมเสียเกียรติศักด์ิใน

วชิ าชีพแหง่ ตน
3.1. ใช้ความรู้ความสามารถในทางสร้างสรรค์ ไม่ใช้ในทางทาลายหรือกล่ันแกล้งให้ผู้อ่ืนได้รับความ

เสยี หาย
3.2. ไมแ่ อบอ้าง อวดอา้ ง ดหู มน่ิ ตอ่ บคุ คลอื่นๆหรอื กลมุ่ วชิ าชพี อ่ืน
3.3. ใหค้ วามรว่ มมือในการปฏิบตั ิหน้าทีเ่ พ่อื ส่งเสรมิ เกียรติคุณของวิชาชีพ ผู้ร่วมอาชีพและเพ่ือพัฒนา

วิชาชีพ
4. จรรยาบรรณต่อสังคม ปฏิบัติหน้าท่ี ปฏิบัติตน ในวิชาชีพนักคอมพิวเตอร์ที่ดี เป็นแบบอย่างท่ีดี

ของสังคม
4.4. ไม่เรยี กรบั หรอื ยอมรับทรัพย์สินหรือผลประโยชน์อย่างใดอย่างหน่ึงสาหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิ

ชอบดว้ ยกฎ ระเบยี บ และหลักคุณธรรม จรยิ ธรรม
4.5. ไม่ใช้อานวยหน้าท่ีโดยไม่ชอบธรรมในการเอื้อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับประโยชน์หรือเสีย

ประโยชน์
4.6. ไม่ใช้ความรู้ความสามารถไปในทางลอ่ ลวง หลอกลวง จนเปน็ เหตุใหเ้ กดิ ผลเสียตอ่ ผู้อนื่
5. จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ เคารพในสิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาคของผู้อื่น ปฏิบัติหน้าท่ี

ด้วยความโปร่งใสเปน็ ธรรม
5.1. รบั ฟังความคิดเห็นแลกเปล่ยี นประสบการณ์ระหวา่ งบคุ คล เครอื ขา่ ย และองค์กรทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
5.2. เปิดโอกาสให้ประชาชนเขา้ มามีส่วนร่วมและสามารถตรวจสอบการปฏิบัติงานได้

ภาพที่ 12 : จรรยาบรรณนักคอมพวิ เตอร์

10

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

ภาพท่ี 13 : กฎหมายเทคโนโลยสี ารสรเทศ

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Law) หรือมักเรียกกันว่า "กฎหมายไอที (IT Law) ใน
เบื้องต้น ท่ีจาเป็นต้องมีการตรากฎหมายขึ้นใช้บังคับ เมื่อวันท่ี 15 ธันวาคม พ.ศ.2541 คณะรัฐมนตรีได้
เหน็ ชอบตอ่ การจดั ทาโครงการพฒั นา

กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีเสนอโดยกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ สิ่งแวดล้อม และ
เห็นชอบให้คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ (National Information Technology
Committee) หรือที่เรียกโดยย่อว่า "คณะกรรมการไอทีแห่งชาติ หรือ กทสช. (NITC) ทาหน้าท่ีเป็นศูนย์กลาง
และประสานงานระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่กาลังดาเนินการจัดทากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศและ
กฎหมายอื่น ๆ ท่เี ก่ียวข้อง

เน่ืองจากในปัจจุบันเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ มีการเช่ือมโยงกันทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตย่อมมีข้อมูล
สารสนเทศท่ีส่งผ่าน จากผู้ส่ง ไปยังผู้รับ และหากเครือข่ายอินเทอร์เน็ตน้ัน ไม่มีระบบความปลอดภัยที่ดี หรือ
รัดกุม ข้อมูลนั้นอาจจะถูกปรับเปล่ียน ถูกจารกรรม หรือถูกทาลายไป โดยท่ีผู้ส่ง และผู้รับ ไม่สามารถรับรู้ได้
เลย ผู้ใชค้ วรจะมีคุณธรรมและจรยิ ธรรมพื้นฐานทีต่ ้องปฏบิ ัติควบคู่กบั การใช้งาน เพื่อเป็นการใช้งานเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์ร่วมกันอย่าง เหมาะสม ไม่ควรใช้งานโดยคานึงแต่ผลประโยชน์ของตนเองเพียงฝ่าย เดียวควรจะ
คานึงถึงผู้อ่ืนและเคารพสิทธิผู้อ่ืนด้วย ถึงแม้ว่าในปัจจุบันบางประเทศท่ีพัฒนาแล้วจะมีกฎหมายควบคุมสื่อ
อินเทอร์เนต็ ก็ยังไมส่ ามารถควบคุมภัยล่อลวงต่าง ๆ จากสื่ออินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างเด็ดขาด
เต็มที่โดยเฉพาะควบคุมดูแลการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารบนสื่ออินเทอร์เน็ตนั้นก็ยังเป็นปัญหาโดยเฉพาะการ
เผยแพรส่ ื่อสารลามกหรือบอ่ นการพนัน

ซ่ึงปญั หาดงั กล่าว นอกจากจะเกี่ยวข้องกับสิทธิส่วนบุคคลในการเข้าถึงข้อมูล การก้าวก่ายสิทธิเสรีภาพ
ในการแสดงออก ซึ่งเป็นสิทธิพ้ืนฐานของประชาชน ยังอาจจะขัดต่อกฎหมายรัฐธรรมนูญของประเทศอีกด้วย
อกี ท้ังลกั ษณะพิเศษของขอ้ มูลตา่ ง ๆ ท่ีอยู่ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นเครือข่ายท่ีมีลักษณะเป็นใยแมงมุม ซึ่ง
ระบบกระจายความรับผิดชอบไม่มีศูนย์กลางของระบบ และเป็นเครือข่ายข้อมูลระดับโลกยากต่อการควบคุม
และเปน็ สอ่ื ท่ีไม่มีตัวตนหรอื แหล่งทมี่ าท่ชี ดั เจน ทัง้ ผู้ส่งขอ้ มูล หรือผู้รบั ข้อมูล ดังน้ันกฎหมายที่จะมากากับดูแล
หรือควบคุมส่ืออินเทอร์เน็ต จะต้องเป็นกฎหมายลักษณะพิเศษ เป็นท่ียอมรับในระดับสากล แต่ความแตกต่าง
ในระบบการเมอื ง สังคม และวฒั นธรรม ในแตล่ ะประเทศยังเป็นปัญหาอปุ สรรคในการรา่ งกฎหมายดังกล่าว

11

ภาพที่ 14 : การยกย่องกฎหมาย
ปัจจุบันยังไม่ปรากฏผลเป็นกฎหมายยังคงอยู่ในระยะที่กาลังสร้างกฎเกณฑ์กติกาข้ึนมากากับบริการ
อินเทอร์เน็ต ทง้ั นี้ คณะกรรมการไอทีแห่งชาตไิ ดแ้ ต่งต้งั คณะอนกุ รรมการเฉพาะกิจ เพ่ือยกร่างกฎหมายไอทีท้ัง
6 ฉบับ โดยมอบหมายให้ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Electronics
and Computer Technology Center) หรือที่มักเรียกโดยย่อว่า "เนคเทค" (NECTEC) สานักงานพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (National Science and Technology Development Agency) หรือ
ท่ีเรียกโดยย่อว่า "สวทช." กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ในฐานะสานักงานเลขานุการ
คณะกรรมการไอทีแหง่ ชาติ ทาหนา้ ทเ่ี ป็นเลขานกุ ารในการยกรา่ งกฎหมายไอทีทั้ง 6 ฉบับ เนคเทคจึงได้เร่ิมต้น
โครงการพัฒนากฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศข้ึน เพื่อปฏิบัติตามนโยบายท่ีได้รับมอบหมายจากรัฐบาลและ
คณะกรรมการไอทีแหง่ ชาติ ในการยกรา่ งกฎหมายไอทที ้งั 6 ฉบบั ให้แล้วเสร็จ คือ

1. กฎหมายเก่ียวกับธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Transactions Law)
เพ่ือรับรองสถานะทางกฎหมายของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ให้เสมอด้วยกระดาษ อันเป็นการรองรับนิติ
สัมพันธ์ต่าง ๆ ซึ่งแต่เดิมอาจจะจัดทาขึ้นในรูปแบบของหนังสือให้เท่าเทียมกับนิติสัมพันธ์รูปแบบใหม่ท่ีจัดทา
ข้ึนใหอ้ ยู่ในรปู แบบของขอ้ มลู อเิ ล็กทรอนิกส์ รวมตลอดท้ังการลงลายมือชื่อในข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ และการรับ
ฟงั พยานหลกั ฐานทอ่ี ย่ใู นรูปแบบของข้อมลู อิเล็กทรอนิกส์

2. กฎหมายเกี่ยวกบั ลายมอื ช่อื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Signatures Law)
เพ่ือรับรองการใช้ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยกระบวนการใด ๆ ทางเทคโนโลยีให้เสมอด้วยการลง
ลายมือชื่อธรรมดา อันส่งผลต่อความเชื่อมั่นมากข้ึนในการทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ และกาหนดให้มีการ
กากับดูแลการให้บรกิ าร เกีย่ วกับลายมือช่ืออิเลก็ ทรอนิกส์ตลอดจนการให้ บริการอ่ืน ที่เกี่ยวข้องกับลายมือช่ือ
อิเลก็ ทรอนิกส์

12

3. กฎหมายเก่ียวกับการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานสารสนเทศให้ท่ัวถึง และเท่าเทียมกัน
(National Information Infrastructure Law)

เพื่อก่อให้เกิดการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศ อันได้แก่ โครงข่าย
โทรคมนาคม เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศทรัพยากรมนุษย์ และโครงสร้างพื้นฐานสารสนเทศสาคัญอ่ืน ๆ
อนั เป็นปจั จัยพ้ืนฐาน สาคัญในการพัฒนาสังคม และชุมชนโดยอาศัยกลไกของรัฐ ซึ่งรองรับเจตนารมณ์สาคัญ
ประการหนึ่งของแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 78 ในการกระจายสารสนเทศให้ทั่วถึง
และเท่าเทียมกัน และนับเป็นกลไกสาคัญในการช่วยลดความเหล่ือมล้าของสังคมอย่างค่อยเป็นค่อยไป เพื่อ
สนับสนุนให้ท้องถิ่นมีศักยภาพในการปกครองตนเองพัฒนาเศรษฐกิจภายในชุมชน และนาไปสู่สังคมแห่ง
ปญั ญา และการเรียนรู้

4. กฎหมายเกี่ยวกับการค้มุ ครองข้อมลู สว่ นบุคคล (Data Protection Law)
เพื่อก่อให้เกิดการรับรองสิทธิและให้ความคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งอาจถูกประมวลผล เปิดเผยหรือ
เผยแพร่ถึงบุคคลจานวนมากได้ในระยะเวลาอันรวดเร็วโดยอาศัยพัฒนาการทางเทคโนโลยี จนอาจก่อให้เกิด
การนาข้อมูลนั้นไปใช้ในทางมิชอบอันเป็นการละเมิดต่อเจ้าของข้อมูล ท้ังน้ี โดยคานึงถึงการรักษาดุลยภาพ
ระหวา่ งสิทธขิ ั้นพืน้ ฐานในความเปน็ ส่วนตัว เสรีภาพในการติดต่อสื่อสาร และความม่ันคงของรฐั

5. กฎหมายเกีย่ วกบั การกระทาความผดิ เกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์ (Computer Crime Law)
เพอ่ื กาหนดมาตรการทางอาญาในการลงโทษผู้กระทาผิดต่อระบบการทางานของคอมพิวเตอร์ ระบบ
ขอ้ มูล และระบบเครอื ขา่ ย ท้งั นเ้ี พ่อื เปน็ หลกั ประกันสิทธิเสรภี าพ และการคมุ้ ครองการอย่รู ว่ มกนั ของสังคม

6. กฎหมายเกย่ี วกบั การโอนเงนิ ทางอิเล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Funds Transfer Law)
เพื่อกาหนดกลไกสาคัญทางกฎหมายในการรองรับระบบการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ท้ังที่เป็นการ
โอนเงินระหวา่ งสถาบนั การเงนิ และระบบการชาระเงินรปู แบบใหม่ในรูปของเงินอิเล็กทรอนิกส์ก่อให้เกิดความ
เชอ่ื ม่ันต่อระบบการทาธรุ กรรมทางการเงนิ และการทาธุรกรรมทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์มากยงิ่ ขน้ึ

ภาพที่ 15 : กฎหมายทางอนิ เทอร์เน็ต

แหลง่ อา้ งองิ
sites.google.com/site/ ความหมายจรรยาบรรณ (ระบบออนไลน์) แหล่งที่มา

https://sites.google.com/site/crryabrrnwichachiph (23 กันยายน 2563)
sites.google.com/site/neessareenreen จรรยาบรรณผ้ใู ชอ้ ินเทอร์เน็ต (ระบบออนไลน์) แหลง่ ท่มี า

https://sites.google.com/site/neessareenreen571031089/ (23 กันยายน 2563)
www.jaturapad.com จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีฯ (ระบบออนไลน)์ แหล่งท่ีมา

http://www.jaturapad.com/archives/679 (23 กันยายน 2563)
sites.google.com/site/tiktucksiriporn อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (ระบบออนไลน์) แหลง่ ทม่ี า

https://sites.google.com/site/tiktucksiriporn/s-1 (23 กันยายน 2563)
sites.google.com/site/ จรรยาบรรณทางอินเทอรเ์ นต็ (ระบบออนไลน์) แหลง่ ท่ีมา

https://sites.google.com/site/daruneekidkla/crrya-brrn- (23 กันยายน 2563)
sites.google.com กฎหมายทางอนิ เทอรเ์ น็ต (ระบบออนไลน)์ แหล่งท่มี า

https://sites.google.com/site/jantiwaporn813/ (23 กนั ยายน 2563)

ประวัตสิ ่วนตัว

ชอื่ -นามสกุล : นางสาวชนศิ รา ทายะรนิ ทร์
เลขที่ 6 หอ้ ง สบล.63.1
ชอื่ เล่น : นงิ้
ปัจจุบันกาลังศึกษาอย่รู ะดับช้นั : ปวส.1
(ระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชีพชนั้ สงู )
สาขาวชิ าการเลขานุการ วิทยาลัยอาชีวศึกษาลาปาง
เสนอ : ครูปรยี า ปันธยิ ะ