ใบกำกับภาษี ขีด แก้ไข ได้ มั้ ย

ใบกำกับภาษีมีการแก้ไขขีดฆ่าวันที่ผู้รับของสามารถนำไปใช้เคลมภาษีได้หรือไม่

กระทู้คำถาม

บัญชี กรมสรรพากร ภาษีอากร ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ใบกำกับภาษีมีการแก้ไขขีดฆ่าวันที่ผู้รับของสามารถนำไปใช้เคลมภาษีได้หรือไม่
ถ้าไม่ได้ต้องทำอย่างไร

0

0

ใบกำกับภาษี ขีด แก้ไข ได้ มั้ ย

สมาชิกหมายเลข 3285851

คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้

ความคิดเห็นที่ 1

ถ้าไม่ใช่แก้ไขวันที่ออกใบกำกับภาษี   ก็เอาไปใช้เคลมภาษีซื้อได้ครับ ไม่มีปัญหา

ที่ห้ามแก้ คือวันที่ออกใบกำกับภาษี

0

0

ใบกำกับภาษี ขีด แก้ไข ได้ มั้ ย

สมาชิกหมายเลข 4500264

กำลังโหลดข้อมูล...

แสดงความคิดเห็น

คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

เขียนใบกำกับภาษีผิดควรทำอย่างไรดี?

สมาชิกหมายเลข 931727

บัญชี

ภาษีนิติบุคคล

เจ้าของธุรกิจ

การบริหารจัดการ

ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปสามารถเขียนด้วยลายมือได้ไหมครับ?

ถ้าผู้ประกอบการไม่มีฟอร์มภาษีแบบเต็มรูป ผู้ประกอบการสามารถเขียนด้วยลายมือได้ไหม โดยเพิ่มรายละเอียดครบตามที่กฏหมายระบุไว้ ถามผู้รู้ด้านกฏหมายหน่อยครับ พอดีจะเอาไปลดหย่อนภาษีท่องเที่ยวตามมาตรการกระตุ้นเ

ฟีซี่ ขี้แมวน้ำ

กฎหมายชาวบ้าน

กรมสรรพากร

ภาษีสรรพสามิต

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา

ได้รับใบกำกับภาษี วันที่ไม่ถูกต้อง ทำอย่างไรดีคะ

ขอสอบถามค่ะ บริษัทได้ซื้อบริการเรียบร้อยแล้ว ผู้ให้บริการออกใบแจ้งหนี้วางบิลมา และได้ชำระเงินให้โดยการโอนเข้าบัญชี ต่อมาบริษัทได้ส่งใบกำกับภาษี/ใบเสร็จรับเงิน มาให้ปรากฏว่าลงวันที่มาในวันที่ภายหลังจาก

Ilysm

ธุรกรรมทางการเงิน

ภาษีนิติบุคคล

บัญชี

ถ้าใบกำกับภาษี ที่อยู่ และลำดับสาขาไม่ตรงกัน เคลมภาษีได้หรือไม่

ถามในฐานะผู้ซื้อสินค้า (มีหลายสาขา) บริษัท กขค จำกัด สนญ. ที่อยู่ 123.......... (ที่จดทะเบียนตามกรมสรรพากร) เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร1234567890000 แต่สาขาไปซื้อสินค้าออกชื่อ ที่อยู่ของ สนญ. แต่ออกเป

สมาชิกหมายเลข 2289520

กรมสรรพากร

แก้ไขใบเสร็จรับเงินได้หรือไม่ครับ

เนื่องจากคืนวันที่ 8พค เวลา21:00น. ที่ผ่านมารถสตาร์ทไม่ติดจึงได้เรียกร้านเปลี่ยนแบตมาเปลี่ยนแบตให้ โดยใบเสร็จที่ทางร้านออกมาให้มีรายละเอียดน้อยมาก 1) ชื่อร้านไม่เต็ม ย่อๆมา 2) ไม่มีที่อยู่ร้าน 3) ไม่

JayPanchad

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

บัญชี

การจดทะเบียนธุรกิจ

ร้องทุกข์

กรมสรรพากร

ขอความรู้เกี่ยวกับการออกใบกำกับภาษีแยก Vat 7%

สอบถาม 1.ใบกำกับภาษีจำเป็นต้องออกทุกครั้งหรือไม่ 2.ถ้าลูกค้าที่มาใช้บริการมีรายได้ไม่ถึง 1.8 ล้านบาท คือไม่จำเป็นต้องจ่าย Vat7%ให้สรรพภากร เราจำเป็นต้องออกใบกำกับภาษีให้หรือเปล่า หรือว่าใบเสร็จรับเงิน

สมาชิกหมายเลข 1417706

กรมสรรพากร

เงินเข้า 370 เงินออก 925 รายการเดินบัญชี ประมาณ 1,800,000 เสียภาษีไหมคะ ถ้าเสียประมาณเท่าไหร่คะ

สมาชิกหมายเลข 5832477

เขียนใบกำกับภาษีผิด เลยทิ้งไปแล้ว เป็นอะไรไหมคะ

คือเราเขียนใบกำกับภาษีผิดค่ะ แต่เราก็เอาใบใหม่มาเขียนให้ถูกต้องเรียบร้อยแล้ว แล้วเราก็เอาใบเก่านั้นทิ้งไป จะเป็นอะไรรึป่าวคะ เราเพิ่งเริ่มทำงาน เพิ่งเรียนจบเลย ไม่รู้ว่าถ้าเลขที่ใบกำกับภาษีมันไม่เรียง

สมาชิกหมายเลข 5655284

หนังสือรับรองการหัก ภาษี ณ ที่จ่าย 50ทวิ เกี่ยวกับเงินเดือนผู้บริหารปี64

สมาชิกหมายเลข 1789925

ใบกำกับภาษี ขีด แก้ไข ได้ มั้ ย

เลขที่ผู้เสียภาษีผิด

ขอสอบถาม นักบัญชี ผู้รู้ครับ เนื่องจาก ซื้อสินค้า ผ่าน lazada เป็นโทรศัพท์ ยี่ห้อ XIAOMI  เขาให้ไปกรอกข้อมูลในเว็บ ขอใบกำกับเอง  ครั้งนี้เกิดข้อผิดพลาด ก๊อบเลขที่ผู้เสียมาเสียมาไม่ครบ 

kijabusu

อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ  บัญชี กรมสรรพากร ภาษีอากร ภาษีมูลค่าเพิ่ม

เรามาดูกันว่า ในใบกำกับภาษี ต้องมีข้อมูลอะไรบ้างง??

ใบกำกับภาษี ขีด แก้ไข ได้ มั้ ย

ออกใบกำกับภาษีโดยระบุชื่อผู้ซื้อว่า “สด”

ลูกค้าไม่บอกชื่อและที่อยู่ ผู้ขายสามารถเขียนชื่อลูกค้าว่า “สด” “ลูกค้าไม่ประสงค์ออกนาม”

เพื่อออกใบกำกับภาษีเต็มรูปได้หรือไม่

ใบกำกับภาษี ขีด แก้ไข ได้ มั้ ย

บริษัทฯ ออกใบกำกับภาษีโดยระบุชื่อผู้ซื้อว่า “สด” โดยไม่ได้ระบุที่อยู่ของผู้ซื้อ เป็นการ
ออกใบกำกับภาษีโดยมีรายการในส่วนที่เป็นสาระสำคัญไม่ครบถ้วนตามมาตรา 86/4 แห่ง
ประมวลรัษฎากร บริษัทฯ มีความผิดดังนี้
(1) คดีอาญา บริษัทฯ มีความผิดตามมาตรา 90 (12) แห่งประมวลรัษฎากร ต้อง
ระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท หากเป็นการพบความผิดครั้งแรก ต้องระวางโทษเปรียบเทียบปรับ
เป็นรายกระทง กระทงละ 100 บาท
(2) คดีแพ่ง บริษัทฯ ไม่มีความผิด
การแก้ไขใบกำกับภาษีที่บริษัทฯ ออกไปแล้วดังกล่าวข้างต้น ไม่สามารถแก้ไขได้

เราสามารถใช้วิธีการออกใบกำกับภาษีอย่างย่อเพื่อแก้ไขปัญหาเรื่องนี้ได้

ออกใบกำกับภาษีโดยไม่ระบุ “เลขผู้เสียภาษี” ของผู้ซื้อ

ใบกำกับภาษี ขีด แก้ไข ได้ มั้ ย

คำชี้แจงกรมสรรพากร เรื่องการระบุเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการซึ่งเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ในใบกำกับภาษีแบบเต็มรูประบุว่า

“กรณีผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการไม่ได้เป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ก็ไม่จำต้องแจ้งเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของตนเองให้แก่ผู้ขายสินค้าหรือผู้ให้บริการแต่อย่างใด”

ปล. ถ้าลูกค้าไม่ได้จด VAT ไม่จำเป็นต้องใส่เลขประจำตัวผู้เสียภาษีก็ได้

ใบกำกับภาษีซื้อระบุ “บ้านเลขที่” ไม่ถูกต้อง

กรณีใบกำกับภาษีระบุเลขที่ที่อยู่ไม่ถูกต้องจากเลขที่ 123/4 ออกเป็น 12/34 กรณีดังกล่าวเป็นใบกำกับภาษีที่มีรายการในส่วนที่เป็นสาระสำคัญไม่ถูกต้อง จึงเป็นใบกำกับภาษีต้องห้ามไม่ให้นำมาหักในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่ม เนื่องจากเป็นใบกำกับภาษีที่มีข้อความไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ในส่วนที่เป็นสาระสำคัญ ตามมาตรา 82/5 (2) แห่งประมวลรัษฎากร

ข้อมูลผู้ขายสินค้า “เขียนด้วยมือ” แทนการพิมพ์

ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปซึ่งมีรายการ ชื่อ ที่อยู่ เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ขายสินค้า ตามมาตรา 86/4 (2) แห่งประมวลรัษฎากร ไม่ได้พิมพ์ขึ้น หรือไม่ได้จัดทำขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ในกรณีจัดทำใบกำกับภาษีขึ้นด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ ถือเป็นภาษีซื้อต้องห้าม

ใบกำกับภาษีลืมพิมพ์คำว่า “แขวง…”

ใบกำกับภาษี ขีด แก้ไข ได้ มั้ ย

กรณีบริษัทฯ ได้รับใบกำกับภาษีซื้อ ซึ่งระบุที่อยู่ของผู้ซื้อถูกต้อง แต่มิได้ระบุแขวงไว้ เนื่องจากรายการที่อยู่ของผู้ซื้อ ซึ่งระบุไว้ในใบกำกับภาษี สามารถบอกตำแหน่งที่ตั้งที่ชัดแจ้งถูกต้อง ตามมาตรา 86/4 (3) แห่งประมวลรัษฎากร จึงเป็นใบกำกับภาษีซื้อที่นำมาหักในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มได้

ใบกำกับภาษีไม่ได้ระบุ “รหัสไปรษณีย์” (หรือกรอกผิด)

รหัสไปรษณีย์ไม่ใช่รายการตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร กรณีบริษัทฯ ได้รับใบกำกับภาษีซื้อซึ่งระบุรหัสไปรษณีย์คลาดเคลื่อน บริษัทฯ จึงใช้เป็นใบกำกับภาษีซื้อได้

ใบกำกับภาษีเขียนชื่อบริษัทแบบย่อ

ใบกำกับภาษี ขีด แก้ไข ได้ มั้ ย

กรณีระบุชื่อของผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการตามวรรคหนึ่งไม่ครบถ้วนโดยมีเครื่องหมายไปยาลน้อย (ฯ) ละคำที่ประกอบคำหน้า แต่เป็นที่เห็นได้อย่างชัดเจนโดยไม่ทำให้เกิดความเข้าใจผิดว่าเป็นผู้ประกอบการรายอื่น ให้ถือว่าได้ระบุชื่อครบถ้วนแล้ว

ใบกำกับภาษีเขียนจาก “ประเทศไทย” เป็น “ไทยแลนด์”

ใบกำกับภาษี ขีด แก้ไข ได้ มั้ ย

ลูกค้าซึ่งมีชื่อตามที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มตามแบบ ภ.พ.20 ว่า “บริษัท จ. (ไทยแลนด์) จำกัด” แต่บริษัทฯ ได้ระบุชื่อลูกค้าว่า “บริษัท จ. (ประเทศไทย) จำกัด” ซึ่งเป็นที่เห็นได้อย่างชัดเจนว่าไม่ทำให้เกิดความเข้าใจผิดว่าเป็นผู้ประกอบการรายอื่น หากใบกำกับภาษีมีรายการอื่นถูกต้องครบถ้วนตามมาตรา 86/4 แห่งประมวลรัษฎากร

บริษัท จ. (ไทยแลนด์) จำกัด มีสิทธินำใบกำกับภาษีดังกล่าวไปถือเป็นภาษีซื้อในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มได้แต่การออกใบกำกับภาษีในคราวต่อไป บริษัทฯต้องระบุชื่อลูกค้าตามที่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม