แก้ไขข้อมูลประกันสังคมมาตรา 40 ได้ไหม

> ไม่เคยเข้าใช้งานมาก่อน ต้องสมัครขอรหัสผ่าน! (ลงทะเบียน ม.40 แล้วก็ต้องสมัครขอรหัสผ่าน!) 
https://www.sso.go.th/wpr/main/register เตรียมข้อมูลพื้นฐาน หมายเลขบัตรประชาชน , เบอร์มือถือ , รหัสผ่าน , อีเมล และข้อมูลส่วนตัว

> เข้าระบบเว็บไซต์ประกันสังคม ผู้ประกันตน กรณีมีรหัสผ่านแล้ว!
https://www.sso.go.th/wpr/main/login ใส่รหัสผู้ใช้งาน (เลขบัตรประจำตัวประชาชน) และรหัสผ่าน

> ลืมรหัส ไม่ทราบรหัสผ่าน เคยสมัครแล้ว จำไม่ได้เลย
https://www.sso.go.th/wpr/main/forgotpwd
เตรียมข้อมูลเบื้องต้น เลขบัตรประชาชน เบอร์โทรศัพท์

อยากสมัครผู้ประกันตนมาตรา 40 ลงทะเบียนออนไลน์ > https://www.sso.go.th/section40_regist/
คุณสมบัติ!
บุคคลทั่วไปที่มีอายุไม่ต่ำกว่า 15 ปีบริบูรณ์และไม่เกิน 65 ปีบริบูรณ์ ประกอบอาชีพอิสระ ทำงานไม่มีนายจ้าง พ่อค้าแม่ค้า แม่บ้าน รับจ้างทั่วไป
จ่ายเงินประกันสังคมได้ที่ 7-11 รอ 2-3 วัน ตรวจสอบสถานะประกันสังคม

แก้ไขข้อมูลประกันสังคมมาตรา 40 ได้ไหม
ที่มา

การขยายประกันสังคมให้ครอบคลุมแรงงานนอกระบบโดยผลักดันร่าง พระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ. 2533 ฉบับแก้ไข เพื่อรัฐร่วมจ่ายในมาตรา 40 และแก้ไขพระราชกฤษฎีกา เพื่อพัฒนาสิทธิประโยชน์ของมาตรา 40 ให้เป็นที่จูงใจ โดยเป็นระบบสมัครใจ

แก้ไขข้อมูลประกันสังคมมาตรา 40 ได้ไหม
ความหมาย

ผู้ประกันตนมาตรา 40 หมายถึง บุคคลที่มิใช่ลูกจ้างตามมาตรา 33 หรือเป็นผู้ประกันตนโดยสมัครใจ มาตรา 39 เรียกว่า ผู้ประกันตนโดยอิสระ

แก้ไขข้อมูลประกันสังคมมาตรา 40 ได้ไหม
คุณสมบัติในการสมัคร
  • อายุ 15-60 ปีบริบูรณ์ ไม่เป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 มาตรา 39 ไม่เป็นข้าราชการหรือบุคคลที่ถูกยกเว้นตามกฎหมายประกันสังคม

  • บุคคลพิการที่สามารถรับรู้สิทธิประกันสังคม

  • เฉพาะปีแรก (มีผลบังคับใช้วันที่ 9 ธันวาคม 2556 – วันที่ 8 ธันวาคม 2557) เปิดโอกาสให้ผู้สมัครที่มีอายุ 60-65 ปี สมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ได้ทุกทางเลือก

  • สำหรับผู้สมัครที่มีอายุเกินกว่า 65 ปี เฉพาะปีแรก (มีผลบังคับใช้วันที่ 9 ธันวาคม 2556 – วันที่ 8 ธันวาคม 2557) สามารถสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ได้เฉพาะทางเลือก 3 เท่านั้น และไม่มีสิทธิเปลี่ยนทางเลือก

แก้ไขข้อมูลประกันสังคมมาตรา 40 ได้ไหม
หลักฐานการสมัคร
  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรอื่นที่หน่วยงานราชการออกให้ (ใบอนุญาตขับขี่รถ)

    สำนักงานประกันสังคมทั่วประเทศเลือกทางเลือกใน การจ่ายเงินสมทบได้ 3 ทางเลือก คือ 
    ทางเลือกที่ 1 จ่ายเงินสมทบ 100 บาท/เดือน (จ่ายเอง 70 บาท รัฐสนับสนุน 30 บาท) 
    ทางเลือกที่ 2 จ่ายเงินสมทบ 150 บาท/เดือน (จ่ายเอง 100 บาท รัฐสนับสนุน 50 บาท) 
    ทางเลือกที่ 3 มี 3 ทางเลือก ดังนี้

  • ทางเลือกที่ 3 จ่ายเงินสมทบ 200 บาท/เดือน (จ่ายเอง 100 บาท รัฐสนับสนุน 100 บาท)

  • ทางเลือกที่ 1 และทางเลือก 3 (1+3) จ่ายเงินสมทบ 300 บาท/เดือน (จ่ายเอง 170 บาท รัฐสนับสนุน 130 บาท)

  • ทางเลือกที่ 2 และทางเลือก 3 (2+3) จ่ายเงินสมทบ 350 บาท/เดือน (จ่ายเอง 200 บาท รัฐสนับสนุน 150 บาท) 
    หมายเหตุ

  • รัฐสนับสนุนในระยะแรกทั้งนี้ จนกว่าสำนักงานประกันสังคมจะประกาศเป็นอย่างอื่น

  • ทั้งนี้ ในการจ่ายเงินสมทบของผู้ประกันตนมาตรา 40 จ่ายเป็นรายเดือน ๆ ละ 1 ครั้ง และจ่ายเงินสมทบล่วงหน้าได้ครั้งละไม่เกิน 12 เดือน แต่ไม่สามารถจ่ายเงินสมทบย้อนหลังได้

  • ทั้งนี้ผู้ประกันตนที่ประสงค์รับเงินบำเหน็จชราภาพเพิ่มขึ้นสามารถจ่ายเงินสมทบเพิ่มเติมได้ไม่เกินเดือนละ 1,000 บาทต่อเดือน ยกเว้น กรณีทางเลือกที่ 5 (2+3) สามารถจ่ายเงินสมทบเพิ่มเติมได้ไม่เกินเดือนละ 2,000 บาท

  • ทั้งนี้ผู้ประกันตนที่เลือกความคุ้มครองทางเลือกที่ 3 สามารถจ่ายเงินสมทบย้อนหลังได้ไม่เกินเดือนพฤษภาคม 2555 แต่ต้องจ่ายในระยะเวลา 1 ปี ตั้งแต่วันที่ 9 ธันวาคม 2556 ถึง วันที่ 8 ธันวาคม 2557

แก้ไขข้อมูลประกันสังคมมาตรา 40 ได้ไหม
การแจ้งเปลี่ยนแปลงข้อมูล
  • เมื่อเป็นผู้ประกันตนแล้ว หากมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูล เช่น เปลี่ยนคำนำหน้านาม ชื่อ – สกุล ที่อยู่ที่ติดต่อขอเปลี่ยนทางเลือกจ่ายเงินสมทบ หรือแจ้งความไม่ประสงค์เป็นผู้ประกันตนต่อไป (ลาออก) เป็นต้น ให้แจ้งต่อสำนักงานประกันสังคม

  • กรณีขอเปลี่ยนทางเลือกจ่ายเงินสมทบ จะทำได้ปีละ 1 ครั้ง ก่อนวันที่ 25 ธันวาคมของทุกปี และจะมีผลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคมของปีถัดไป

แก้ไขข้อมูลประกันสังคมมาตรา 40 ได้ไหม
ประโยชน์ทางภาษี

 เงินสมทบในแต่ละปี ใช้ลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยใช้ใบเสร็จรับเงินที่ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบเป็นหลักฐาน

 สิทธิประโยชน์พื้นฐาน

  • กรณีประสบอันตราย/เจ็บป่วย เมื่อนอนโรงพยาบาลเป็นผู้ป่วยในตั้งแต่ 1 วันขึ้นไป จะได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้จำนวน 200 บาทต่อวัน ไม่เกิน 30 วันต่อปี เงื่อนไขจ่ายเงินสมทบครบ 3 เดือน ภายในระยะเวลา 4 เดือน (การรักษาพยาบาลใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพ (บัตรทอง) จากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ)

  • กรณีทุพพลภาพ รับเงินทดแทนการขาดรายได้จำนวน 500 – 1,000 บาทต่อเดือน เป็นเวลานานถึง 15 ปี เงื่อนไข เงินทดแทนการขาดรายได้เมื่อทุพพลภาพขึ้นอยู่กับระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบครบ 6 เดือนขึ้นไป (ต้องเป็นผู้ทุพพลภาพหรือทุพพลภาพเพิ่มขึ้นตามคำวินิจฉัยของคณะกรรมการการ แพทย์)

  • กรณีตาย จะได้รับค่าทำศพจำนวน 20,000 บาทต่อราย เงื่อนไข จ่ายเงินสมทบครบ 6 เดือน ภายในระยะเวลา 12 เดือน ก่อนเสียชีวิต ยกเว้น เสียชีวิตด้วยอุบัติเหตุ เงื่อนไข จ่ายเงินสมทบครบ 1 เดือน ภายในระยะเวลา 6 เดือน ก่อนเสียชีวิต

  • กรณีชราภาพ (เงินบำเหน็จ) ผู้ประกันตนสามารถรับเงินก้อนเมื่ออายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ เงื่อนไข มีอายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ และสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน

  • กรณีชราภาพ (เงินบำนาญ) 
    – ผู้ประกันตนสามารถรับเงินบำนาญเมื่ออายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ และสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน 
    – ต้องจ่ายเงินสมทบถึงบำนาญขั้นต่ำหรือไม่น้อยกว่า 420 เดือน (35 ปี) ได้รับเงินบำนาญชราภาพขั้นต่ำเดือนละ 600 บาท ตลอดชีวิต

แก้ไขข้อมูลประกันสังคมมาตรา 40 ได้ไหม
ทางเลือกที่คุ้มค่าสำหรับคุณ

เพื่อสิทธิประโยชน์ดังกล่าว สำนักงานประกันสังคมขอเสนอทางเลือกที่คุ้มค่าสำหรับคุณด้วยชุดสิทธิประโยชน์ ดังนี้

  • ทางเลือกที่ 1 (จ่ายเงินสมทบ 100 บาท/เดือน)
    – สิทธิประโยชน์พื้นฐานคุ้มครอง 3 กรณี คือ กรณีประสบอันตราย/เจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย

  • ทางเลือกที่ 2 (จ่ายเงินสมทบ 150 บาท/เดือน) 
    สิทธิประโยชน์พื้นฐานคุ้มครอง 4 กรณี คือ กรณีประสบอันตราย/เจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย กรณีชราภาพ (เงินบำเหน็จ)

    ทางเลือกที่ 3 มี 3 ทางเลือก ดังนี้

  • ทางเลือกที่ 3 สิทธิประโยชน์พื้นฐานคุ้มครอง 1 กรณี คือ กรณีชราภาพ (เงินบำนาญ)

  • ทางเลือกที่ 1 และทางเลือก 3 (1+3) สิทธิประโยชน์พื้นฐานคุ้มครอง 4 กรณี คือ กรณีประสบอันตราย/เจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย กรณีชราภาพ (เงินบำนาญ)

  • ทางเลือกที่ 2 และทางเลือก 3 (2+3) สิทธิประโยชน์พื้นฐานคุ้มครอง 5 กรณี คือ กรณีประสบอันตราย/เจ็บป่วย กรณีทุพพลภาพ กรณีตาย กรณีชราภาพ (เงินบำเหน็จ) กรณีชราภาพ (เงินบำนาญ)

แก้ไขข้อมูลประกันสังคมมาตรา 40 ได้ไหม
วิธีการนำส่งเงินสมทบ

จ่ายเป็นเงินสด

  • สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/จังหวัด/สาขา

  • หน่วยบริการเคลื่อนที่ของสำนักงานประกันสังคม

  • เคาน์เตอร์เซอร์วิส

  • เคาน์เตอร์ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

  • เคาน์เตอร์ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

  • ห้างเทสโก้โลตัส

  • ไปรษณีย์ (ธนาณัติ)

หักผ่านบัญชีธนาคาร

  • ธนาคารเพื่่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.)

  • ธนาคารออมสิน ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน)

  • ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

  • ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน)

  • ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน)

หมายเหตุ การชำระเงินสมทบของผู้ประกันตนมาตรา 40 ที่เคาน์เตอร์เซอร์วิสจะเสียค่าธรรมเนียมครั้งละ 10 บาท ในส่วนการชำระผ่านธนาคารออมสินและธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จะมีค่าธรรมเนียม 5 บาทต่อครั้ง โดยจะได้รับใบเสร็จรับเงินทันที แต่ผู้ประกันตนต้องนำใบเสร็จรับเงินที่เคาน์เตอร์เซอร์วิสที่ออกให้ พร้อมสมุดนำส่งเงินสมทบมาตรา 40 ไปติดต่อที่สำนักงานประกันสังคมเขตพื้นที่/จังหวัด/สาขา เพื่อให้ทางเจ้าหน้าที่ทำการประทับตราในสมุดนำส่งเงินสมทบ เนื่องจากต้องใช้ประกอบการยื่นเรื่องเมื่อมีการรับสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ

แก้ไขข้อมูลประกันสังคมมาตรา 40 ได้ไหม
เอกสารประกอบการสมัคร
  1. แบบการขึ้นทะเบียนการเป็นผู้ประกันตน มาตรา 40 (สปส.1-40)

  2. บัตรประจำตัวประชาชนตัวจริงหรือบัตรอื่นที่ทางราชการออกให้ พร้อมสำเนา
     

แก้ไขข้อมูลประกันสังคมมาตรา 40 ได้ไหม
สถานที่ในการขึ้นทะเบียน
  1. สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่ 1-12 แห่ง/จังหวัด/สาขา (ยกเว้น สำนักงานใหญ่ในบริเวรณกระทรวงสาธารณสุข)

  2. หน่วยบริการเคลื่อนที่ของสำนักงานประกันสังคม

หมายเหตุ สำหรับสิทธิประโยชน์ของผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ในกรณีเจ็บป่วย บุคคลที่สมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40 หากได้รับสิทธิเบิกจ่ายตรงจากกรมบัญชีกลาง หรือมีสิทธิได้รับจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ก็ยังคงได้รับสิทธินั้น ๆ ได้ตามปกติ เนื่องจากสำนักงานประกันสังคมไม่ได้ให้ความคุ้มครองในเรื่องค่ารักษาพยาบาล แต่ให้เป็นเงินทดแทนการขาดรายได้ กรณีเข้ารับการรักษาในสถานพยาบาลประเภทผู้ป่วยในตั้งแต่ 1 วันขึ้นไป ในอัตราวันละ 200 บาท ปีละไม่เกิน 30 วัน ต่อเมื่อภายในระยะเวลา 4 เดือน ผู้ประกันตนได้จ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 เดือน ก่อนเดือนที่ประสบอันตรยหรือเจ็บป่วย

ข้อมูล ณ วันที่ 6 มีนาคม 2558

แหล่งที่มา : สำนักงานประกันสังคม

เปลี่ยนทางเลือก ม.40 ได้ไหม

สำหรับผู้สมัครที่มีอายุเกินกว่า 65 ปี เฉพาะปีแรก (มีผลบังคับใช้วันที่ 9 ธันวาคม 2556 – วันที่ 8 ธันวาคม 2557) สามารถสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ได้เฉพาะทางเลือก 3 เท่านั้น และไม่มีสิทธิเปลี่ยนทางเลือก

ประกันสังคมมาตรา 40 จ่ายย้อนหลังได้ไหม

กรณีผู้ประกันตนมาตรา 40 ขาดส่งเงินสมทบจะกี่เดือนก็ตาม ยังคงสภาพความเป็นผู้ประกันตนมาตรา 40 อยู่ หากขาดส่งเงินสมทบยังคงสามารถกลับมานำส่งสมทบต่อได้ โดยจ่ายล่วงหน้าได้ 12 เดือน แต่ไม่สามารถจ่ายย้อนหลัง

ประกันสังคมมาตรา 40 ทำอะไรได้บ้าง

ผู้ประกันตนมาตรานี้คือ เหล่าลูกจ้างพนักงานบริษัท และองค์กรต่างๆ โดยบริษัทจะจ่ายเงินสมทบร่วมกันกับผู้ประกันตน และได้รับการคุ้มครองในกรณีที่เกิดการเจ็บป่วย อุบัติเหตุ ทุพพลภาพ เสียชีวิต คลอดบุตร สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และว่างงาน

ประกันสังคมมาตรา 40 เปลี่ยนเป็น 33 ได้ไหม

A...ผู้ประกันตนไม่ต้องแจ้งลาออกจากการเป็นผู้ประกันตนมาตรา 40 สามารถให้นายจ้างแจ้งเข้าเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 ได้ตามปกติ โดยไม่ต้องส่งเงินสมทบตามมาตรา 40 และหากวันใดออกจากการเป็นผู้ประกันตนมาตรา 33 ต้องการส่งเงินสมทบต่อเพื่อเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40 สามารถส่งต่อได้โดยไม่ต้องสมัครใหม่ค่ะ แชร์ 48 ครั้ง