บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ สมัยใหม่


 �Ţ���¡HF5549.A3 �242 2548 ISBN9749270649 (pbk.) ������ç���Է�� �ʹ�ͧ ��������ͧ��ú����çҹ��Ѿ�ҡ��������������� : �Ҥ��Ժѵ� / �ç���Է�� �ʹ�ͧ ��������ͧ���ᵡ��ҧModern human resources management in practice ���駷�������������駷�� 5. �����ѡɳ���ا෾� : �ͪ ���� ������, 2548. �ٻ����297 ˹�� : �Ҿ��Сͺ ; 26 ��. �����˵���úѭ��ú����÷�Ѿ�ҡ��������ؤ����
-- �������¹�ŧ�ҧ��áԨ�ؤ�������ռš�з���ͧҹ HR
-- ���ҷ�ͧ HR�ؤ����
-- ����ҧἹ���ط�����͡�ú����÷�Ѿ�ҡ�������
-- ��ú������ç������͡�þѲ�Ҥ�
-- �����������Է���Ҿ㹡�ú�����HRIS
-- �к���û����Թ�š�ô��Թ�ҹ�ҧ��áԨẺ����
-- Balancedscorecard
-- ��á�Ш��������¢ͧͧ�������边ѡ�ҹ
-- �к���û����Թ�š�û�Ժѵԧҹ�ؤ����. �������ͧ��þѲ�ҷ�Ѿ�ҡ������� �������ͧ��û����Թ�ŧҹ �������ͧ��ú������ç��� �������ͧ��ú����çҹ�ؤ�� ��úѭ��úѭ�س�ѧ�������͡�Թ �س����ö�աԨ���������Ѻ���䫵��� ���ͧ��͡�Թ��͹ ::�ӴѺ����������Ţ���¡/������ʶҹ���ʶҹ�1.
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ สมัยใหม่

˹ѧ��ͷ����HF5549.A3 �242 2548
  Barcode: 30100100006115���˹ѧ��ͷ���������
 
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ สมัยใหม่
�����
��¡�������§
    ����� [�ç���Է�� �ʹ�ͧ]

    �������ͧ [��þѲ�ҷ�Ѿ�ҡ�������]
    �������ͧ [��û����Թ�ŧҹ]
    �������ͧ [��ú������ç���]
    �������ͧ [��ú����çҹ�ؤ��]


�ѧ����¶١��������


 Copyright 2022. All Rights Reserved.

การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ | 438

การใคร่ครวญอันจะเป็นทางนำมาซึ่งความแตกสามัคคี ดังมีเร่ืองภิกษุชาวเมืองโกสัมพี
เปน็ อทุ าหรณ์

12) สรุปกระบวนการพฒั นาทนุ มนษุ ย์ตามหลักพระพุทธศาสนา
กระบวนการพัฒนาทุนมนุษย์ตามหลักพระพุทธศาสนานั้นมีหลักการและ
วิธีการที่คล้ายคลึงกับกระบวนการพัฒนาทุนมนุษย์ตามทฤษฎีตะวันตก กล่าวคือมี
กระบวนการ สรรหา คัดเลือก ฝึกอบรม และให้ยกย่องเชิดชูรวมถึงการลงโทษท่ี
เหมือนกัน ดงั ภาพทจี่ ะนำเสนอดงั ต่อไปนี้

กระบวนการพัฒนาทุน
มนุษย์

นิคคหกรรม บัว 4 เหลา่

องค์การพระพทุ ธศาสนา

เอตทคั คะ จรติ 6

ไตรสกิ ขา

แผนภาพท่ี 12.1 กระบวนการพฒั นาทนุ มนษุ ยต์ ามหลกั พระพุทธศาสนา42
จากภาพที่ 12.1 แสดงให้เห็นว่า กระบวนการพัฒนาทุนมนุษย์ตามหลัก

พระพุทธศาสนานั้นมีหลักการและวิธีการที่คล้ายคลึงกับกระบวนการพัฒนาทุนมนุษย์

42 วันชัย สุขตาม, “การพัฒนาทุนมนุษย์วิถีพุทธในยุคโลกาภิวัตน์”, วิทยานิพนธ์
ปริญญารัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถมั ภ์, 2555).

การบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์สมยั ใหม่ | 439

ตามทฤษฎีตะวันตกจะแตกต่างก็แต่เพียงเนื้อหาสาระท่ีเป็นหลักของพระพุทธศาสนา
เริ่มตั้งแต่การสรรหา ซึ่งพระพุทธองค์ก็จะทรงตรวจดูอุปนิสัยของเวไนยสัตว์เพื่อจะ
รับมาเป็นทุนมนุษย์ในองค์การได้หรือไม่ ซ่ึงหลักการก็คือ หลักบัว 4 เหล่า เพราะพระ
พุทธองค์ได้ทรงพิจารณาด้วยพระญาณว่าพ้ืนฐานของมนุษย์มีความแตกต่างกัน ดังนั้น
พระธรรมที่พระองค์ทรงตรัสรู้แล้วเป็นธรรมลึกซ้ึง จึงเป็นเร่ืองยากท่ีจะรู้และเข้าใจได้
โดยง่าย ดังที่พระพุทธองค์เปรียบมนุษย์เหมือนบัว 4 เหล่า และหลักการนี้ก็
กลายเป็นบรรทัดฐานในการสรรหาทุนมนุษย์เข้ามาในองค์การพระพุทธศาสนา หลัก
จริต 6 หลักในการคัดเลือก ซ่ึงความสามารถในการทำงานใดๆ ของแต่ละบุคคลย่อมถูก
กำกับด้วยหลักจริต 6 ซึ่งเป็นพ้ืนฐานทางด้านจิตใจของแต่ละคนดังนั้นจึงต้องทำความ
เข้าใจเกยี่ วกับจริตของแต่ละคนแล้วมอบหมายงานให้เหมาะสมแกจ่ ริตของแต่ละบุคคล
หลกั ในการอบรมพฒั นา ซง่ึ ก็ไดแ้ ก่ หลกั อายตนะ 12 อันเป็นทฤษฎกี ารเรยี นรขู้ องทวาร
ท้ัง 6 หรือท่ีเรียกว่าอายตนะภายใน 6 ประกอบไปด้วย ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ซึ่ง
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งเร้าภายนอก อันได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและธรรมารมณ์
ซ่ึงเรียกว่า อายตนะภายนอก หลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปัญญา) เป็นหลักท่ีทุนมนุษย์
ต้องฝึกฝนและพัฒนา โดยกระบวนการพัฒนาตามหลักไตรสิกขามีดังน้ี ศีล คือ การ
ฝกึ ฝนพัฒนาด้านพฤติกรรม สมาธิ คือ การฝึกฝนพัฒนาด้านจิตใจ และปัญญา คือ การ
พฒั นาปัญญา ซ่ึงมีความสำคัญสูงสุด เพราะปัญญาเปน็ ตวั นำทางและควบคมุ พฤตกิ รรม
ทัง้ หมด

สรุปการพัฒนาทุนมนุษย์ตามหลักพระพุทธศาสนาจากรายละเอียดเน้ือหาใน
ส่วนน้ี กล่าวถึงเร่ืองหลักการทางพระพุทธศาสนาในรูปแบบต่างๆ การพัฒนาทุนมนุษย์
ตามหลักพระพุทธศาสนานั้น เป็นหลักการท่ีมาจากหลักคำสอนในทางพระพุทธศาสนา
ที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติไว้บ้าง ทรงกล่าวสอนเป็นหัวข้อธรรมเป็นหมวดต่างๆ บ้าง
จากเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในสมัยพุทธกาลบ้าง หรือแม้แต่จากการรวบรวมของพระ
มหาเถระในยุคหลังพุทธกาลบ้าง โดยจากการศึกษาวิจัยทำให้ทราบได้ว่ามีอมตวาจาท่ี
องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้แสดงไว้เก่ียวกับทุนมนุษย์อย่างชัดเจนซ่ึงส่วนมาก
เป็นเร่ืองที่แสดงให้เห็นถึงปัญญา กล่าวคือความรู้ ท่ีสามารถนำมาแปรเป็นพลังให้การ

การบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์สมัยใหม่ | 440

สร้างประโยชน์ต่อองค์การมากท่ีสุด และทั้งนผ้ี ู้วิจัยได้รวบรวมเอาหลกั ธรรมที่สำคัญต่อ
การสรา้ งทนุ มนุษย์และตอ่ การพฒั นาทุนมนษุ ยม์ ากลา่ วไว้เพอื่ เปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั ิ
เพราะในทางพระพุทธศาสนาน้ันมีท้ังหลักธรรมที่มุ่งเน้นการปฏิบัติไปที่ตัวบุคคลและ
หลกั ธรรมท่ีมุ่งเนน้ ไปทผี่ ู้มหี น้าท่ีเก่ียวขอ้ งกับการบริหารจดั การคน

ในการพัฒนาทุนมนุษย์น้ันจำต้องมีกฎเกณฑ์หรือมาตรฐานในการจัดการท่ี
ชัดเจน เพราะมนุษย์มีอุปนิสัยที่แตกต่างกันดังท่ีได้กล่าวไว้แล้วในเรื่องจริต 6 เปรียบ
เหมอื นดอกไม้ที่มอี ยู่หลากสีสัน ดอกไม้ที่มีสหี ลากหลายนัน้ สามารถจดั เป็นพวงมาลาให้
สวยงามและเป็นของควรแก่การบูชาได้ ฉันใด มนุษย์ท่ีมีหลักเกณฑ์หรือข้อระเบียบในการ
ประพฤติปฏิบัติและได้ดำเนินไปตามหลักเกณฑ์และข้อระเบียบน้ันๆ ก็ย่อมสามารถ
ประพฤติปฏิบัติตัวก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและต่อองค์การได้ ฉันนั้น ส่วนในด้าน
กระบวนการจัดการน้ันในทางพระพุทธศาสนาก็มีวิธีการที่คล้ายคลึงกับการพัฒนาทุน
มนุษย์ตามทฤษฎีตะวันตกเร่ิมต้ังแต่การสรรหา การคัดเลือก การอบรมพัฒนา รวมไป
ถึงการสรรเสริญและการลงโทษ แต่อาจจะมีความแตกต่างกันที่ในทางพระพุทธศาสนา
นน้ั มีการนำเอาหลักธรรมมาเป็นตัวกำหนดในแต่ละกระบวนการซึ่งเปน็ การแสดงให้เห็น
ถึงคัมภีรภาพของทุนมนุษย์อย่างแท้จริง นอกจากน้ีการพัฒนาทุนมนุษย์ตามหลัก
พระพุทธศาสนายังมีข้อที่ควรหลีกเลี่ยงสำหรับการจัดการที่เรียกว่าเป็นอุปสรรคของ
ก า ร พั ฒ น า ทุ น ม นุ ษ ย์ ก ล่ า ว คื อ อุ ปสั คท้ั งภ ายในและภ ายนอกซึ่ งจะเป็ นตั วบั่ นทอน
ประสิทธิภาพของการพัฒนาทุนมนุษย์ ซึ่งตัวมนุษย์เองจำต้องปิดก้ันอุปสรรคเหล่านั้นเอง
ด้วย และผู้ท่ีมีหน้าที่ในการพัฒนาทุนมนุษย์ก็จำเป็นที่ต้องอบรมทุนมนุษย์ในองค์การ
ของตนใหห้ ลีกเลยี่ งจากอปุ สรรคเหล่าน้ี ทั้งนเี้ พื่อความมีประสทิ ธิภาพในการทำงานและ
ก่อใหเ้ กิดประโยชนโ์ สตถผิ ลตอ่ ทนุ มนุษยเ์ องและตอ่ องคก์ าร

การพัฒนาทนุ มนุษย์ตามหลกั ไตรสิกขา

มนุษย์เปน็ ทรพั ยากรที่ยอมรับกันวา่ มีค่ามากกว่าทรพั ยากรใดๆในโลก เพราะ
มนษุ ย์มีสติได้ดีเยี่ยมย่ิงกว่าสิง่ ทีมีชีวิตท้ังหลาย การคิดคน้ วธิ ีการในการพัฒนาทรพั ยากร
มนุษย์จึงมีมาควบคู่กับวิวัฒนาการของสังคมมนุษย์ หลักการและทฤษฎี ตลอดจนงาน

การบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์สมยั ใหม่ | 441

ศึกษา ค้นคว้า วิจัย เก่ียวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จึงเกิดข้ึนมากมาย จากอดีตถึง
ปัจจบุ ัน มนษุ ยจ์ งึ เป็นทรพั ยากรทีม่ คี ุณค่าและเป็นกลไกลสำคับในการดำเนินงานในดา้ ย
ดังกล่าวต่างๆ เป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาองค์กร สังคม อีกทั้งยังเป็นกำลังในการ
พัฒนาประเทศอีกด้วย ดังนั้นควรตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของมนุษย์ จึงได้มี
การส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณค่า และมี
ประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน ถ้าเราเฝ้าสังเกตการณ์พัฒนาของมนุษย์ด้วยใจเป็นธรรมและ
สังเกตอย่างรอบครอบในภาพรวมแล้ว มนุษย์ในปัจจุบันยิ่งพัฒนาตนเองให้เจริญยิ่ง
เดินทางไปสจู่ ุดติดตัน อึดอัด คับขอ้ งทงั้ ทางกายและใจ เพราะเน้นทางมิติทางวตั ถุ และ
ทางกาย ยอ่ หย่อน ละเลยตอ่ การพัฒนามนุษย์ทางมิตขิ องจติ ใจ จากการศึกษาพจิ ารณา
สังคมไทยในอดีตพบว่า คนไทยเราพัฒนาคนในชาติด้วยมิติทางพุทธธรรม โดยใช้หลัก
คำสอนในพระพุทธศาสนาเป็นแนวทางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเป็นการ
พัฒนาท้ังจิตใจและร่างกายไปพร้อมๆกัน เป็นการพัฒนาแบบองค์รวมโดยใช้กิจกรรม
และวิธีการที่หลากหลายในการพัฒนา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามหลักพุทธธรรม
นนั้ ล้วนมีหลักธรรมหลากหลาย แตก่ ารพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองคก์ รน้ันจากท่ผี ู้วจิ ัย
ได้ทำการศึกษาค้นควา้ เอกสารท่ีเกี่ยวกับข้อง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่จะนำมา
เพ่ือเป็นตัวชี้วัดในการกำหนดหรือควบคุมการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์กรน้ัน
หลักไตรสิกขาถือว่าเป็นหลักธรรมท่ีสามารถนำมาเป็นตัวช้ีวัดในการปฏิบัติงานของ
บุคลากรในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผู้วิจัยขอนำหลักไตรสิกขามากล่าวเป็น
เชิงเอกสาร โดยจะแยกประเด็นเกี่ยวกับหลักไตรสิกขาออกมาเป็นข้อว่าหลักไตรสิกขา
นั้นสำคญั หรือเกีย่ วข้องกับการพฒั นาทนุ มนุษย์อย่างไร

ความสำคญั ของการพฒั นาทรพั ยากรมนุษยต์ ามหลกั พระพุทธศาสนา

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ถือว่าเป็นกุญแจสำคัญที่จะนำไปสู่ความสำเร็จ
ของการบริหารจัดการองค์กรสมัยใหม่ โดยท่ีองค์กรจะต้องมีกรอบแนวทางการพัฒนา
ทั้งความรู้ ทักษะ ทัศนคติท่ีเก่ียวข้องกับเรื่องท่ีต้องการให้เกิดการเรียนรู้ และนำไปสู่
การปฏิบัติโดยต้องมีกระบวนการสำคัญในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และ

การบริหารทรพั ยากรมนุษย์สมยั ใหม่ | 442

ทัศนะคติ เพ่ือสร้างจิตสำนึกในการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน การพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์จะต้องทำอย่างเป็นระบบ มีกระบวนการพัฒนาท่ีต่อเนื่อง เพราะ
สภาพแวดล้อมและปัจจัยภายนอกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา43 ด้วยเหตุน้ีการ
บริหารงานบคุ คลในปจั จบุ ันจึงหันมาใชว้ ธิ ีการบรหิ ารทนุ มนุษย์และการพฒั นาทุนมนษุ ย์
ตามแนวพระพุทธศาสนากันมากข้ึน หากในองค์กรใดมที ุนมนุษย์ที่ทั้งเก่งและดี ก็เป็นที
แน่นอนวา่ องค์กรน้ันย่อมประสบความสำเร็จในการแข่งขนั ทุกๆวัน เวทีแห่งการแข่งขัน
และในทางพระพุทธศาสนานั้นยังมีระบบการให้รางวัลและการลงโทษ ซ่ึงเทียบได้กับ
การใช้พระเดชพระคณุ ในสมัยปจั จุบันนั้นคือ ใครทำดีกค็ วรได้รับการยกย่องใครทำผิดก็
ควรได้รับการลงโทษ

การพัฒนาทุนมนุษย์เชิงพุทธหรือการพัฒนาทุนมนุษย์ตามหลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนามีหลากหลายหวั ข้อดังท่ีผู้วจิ ัยได้กล่าวแล้วในเบ้ืองต้น การท่ีนำเอาหลัก
ไตรสิกขามาประยุกต์ใช้กับการบริหารบุคคลหรือการบริหารพัฒนาทรัพยากรบุคคล
เนื่องจากมีความคิดว่า ในการดำเนินชีวิตของคนเรานั้นต้องมีการดิ้นรนต่อสู่เพื่อให้อยู่
รอด ผ่านพันสิ่งเลวร้ายต่างๆที่เข้ามากระทบการดำเนินชีวิต หน้าท่ีการงานได้ด้วยหรือ
การรู้จักแก้ปัญหาได้ถูกต้อง ก็จะสามารถประสบความสำเร็จในการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน ตออดถึงการปฏิบัติหน้าท่ีในองค์กรหรือในหน่วยงาน กล่าวคือจะส่งผล
ให้มีความประพฤติดีงาน รู้จักการพูดจาหรือพูดเป็นทำเป็น รู้จักการคิด หรือคิดเป็น
และมีความรู้มีปัญญาสามารถใช้ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง และจะทำให้การปฏิบัตงิ านขององค์กร
มีประสิทธภิ าพมากยิ่งขึน้ และเปน็ องค์การทคี่ ุณธรรม จริยธรรมอยา่ งสมบูรณ์

การพัฒนาท่ีสมบูรณ์แบบจำเป็นต้องพัฒนาให้ครบทั้ง 2 ด้าน กล่าวคือ ควร
พฒั นาท้ังทางวัตถุ และทางจิตใจให้ควบคกู่ ับทัศนคติ โดยเฉพาะทัศนคติเป็นการพัฒนา
ทางดา้ นจติ ใจจะต้องเน้นเป็นพิเศษ เพราะการพัฒนาถูกตอ้ งดีแล้ว กจ็ ะสามารถควบคุม
การพัฒนาทางด้านวัตถุให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้องได้และการพัฒนาจิตที่ถูกต้องก็คือ
พัฒนาจิตให้มีธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจจนกระทั่งพัฒนาจิตให้มีสมาธิ ต้ังม่ัน

43 พรธิดา วิเชียรปัญ ญ า, การจัดการความรู้พื้นฐานและการประยุกต์ ใช้,
(กรุงเทพมหานคร: ธรรกมลการพมิ พ์, 2547), หนา้ 15.

การบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์สมัยใหม่ | 443

มั่นคง สะอาด สวา่ ง จากกิเลศเครื่องเศร้าหมองทัง้ หลาย จนเป็นจิตท่ีควรแก่การทำงาน
สามารถนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันได้44

พระพุทธศาสนาให้ความสำคัญเร่ืองจิต เพราะจิตเป็นผู้บงการให้บุคคลมี
พฤติกรรมต่างๆได้ในการพัฒนาจิตของบุคคลตามแนวพุทธน้ีเป็นการฝึกให้บุคคลมีจิต
สงบถือว่า เป็นการทำให้บุคคลได้พัฒนาคุณธรรม และจรยิ ธรรมตามท่ีสังคมต้องการ ผู้
ที่ได้รับการอบรมทางจิตให้ถูกวิธีจะสามารถพัฒนาจิตได้ คำกล่าวว่า “จิตเป็นนาย กาย
เป็นบ่าว” จึงเป็นความจริง เพราะเมื่อบุคคลมีจิตท่ีสงบและคิดแต่ในสิ่งท่ีดีแล้ว ก็จะมี
ผลทำให้ร่างกาย พฤติกรรม หรือการประพฤติปฏิบัติเป็นไปแต่ในส่ิงท่ีดีงาม การพัฒนา
จติ ตามแนวพระพุทธศาสนาน้ัน บุคคลทกุ คนจำเป็นท่ีจะต้องลงมือฝึกปฏิบตั ิด้วยตนเอง
จึงจะสามารถพัฒนาจิตได้ เพราะการพัฒนาจิตใจในลักษณะน้ีเป็นการฝึกจิตให้ลดจาก
กิเลสและเกิดความอดกล่นั ต่อสง่ิ ย่ัวยุทงั้ หลาย

ธรรมชาติของชีวิตมนุษย์ คือ เป็นสัตว์ท่ีต้องฝึกและฝึกได้ การท่ีมนุษย์เราจะ
มีชีวิตท่ีดีงามเราจะต้องศึกษาฝึกฝนพัฒนาตนเองไห้ดีขึ้นไป ในระบบการดำเนินชีวิต
ของเราซง่ึ ประกอบด้วยพฤติกรรม จิตใจ และปญั ญา เม่ือเราฝึกฝนพัฒนามีการศึกษา ก็
ทำให้การดำเนินชีวิตของเราดีขึ้น แต่ถ้าเราไม่เรียนรู้ ไม่ฝึก เราที่เป็นมนุษย์นั้นก็จะ
ดำเนินชีวิตให้ไม่ดีเลย ท้ังน้ี เพราะมนุษย์อยู่ด้วยสัญชาตญาณอย่างเดี่ยวไม่พอ การ
พฒั นาทุนมนุษยต์ อ้ งเชิงพทุ ธต้องมกี ารปฏิบตั ิ ศลี สมาธิ และปัญญา ถอื เป็นการศึกษาท่ี
จะทำใหเ้ กิดความเป็นมนษุ ยใ์ หถ้ ูกตอ้ งและสมบูรณ์ อนั ประกอบด้วย45

1) ความฉลาดหรือสติปัญญาในขั้นพื้นฐานพอตัว คือ พวกแก่ความ
ต้อง คือ เรียนหนังสือ

2) มคี วามรู้เรอื่ งวิชาชพี และอาชีพพอตวั คอื การเรยี นอาชีพ

44 พ ระธรรม ปิ ฎ ก (ป .อ .ป ยุตฺโต), ป ฏิ บั ติ ธรรม ให้ ถู กท าง, พิ มพ์ ค ร้ังที่ 30
(กรงุ เทพมหานคร: มูลนธิ ิพุทธรรม, 2539), หนา้ 92.

45 พุทธทาสภิกข,ุ เป้าหมายของการศกึ ษา, (กรุงเทพมหานคร: สำนกั พิมพพ์ าน, 2537),
หน้า 15.

การบริหารทรัพยากรมนษุ ย์สมยั ใหม่ | 444

3) มีมนุษยธรรม คือ มีความเป็นมนุษย์อย่างถูกต้อง คือ การเรียน
ความเป็นมนษุ ย์ ซึ่งกระทำไดด้ ้วยการสอน การอบรมจรยิ ธรรม

การพัฒนามนุษย์เชิงพุทธ เป็นกระบวนการในการพัฒนามนุษย์ในองค์การ
โดยการนำคำสอนของพระพุทธเจ้ามาเป็นฐานคิด ให้มีความรู้ความเช่ียวชาญในการ
ปฏิบัติงาน มีความเจริญเติมโตท้ังทางด้านพฤติกรรม จิตใจ และปัญญา ด้วยวิธีการ
พัฒนาองค์การและการพัฒนาฝึกอบรม มจี ุดประสงค์ในการปรับปรุงผลงานและพัฒนา
มนุษย์ไปสู่ภูมิที่ดีกว่าเดิม46 และการพัฒนาทุนมนุษย์แบ่งเป็นออก 2 ประเภท คือ ทุน
มนุษย์นั้นเป็นการมองมนุษย์เป็นการมองมนุษย์ในฐานะทรัพยากร คือ เป็นทุน เป็น
ปัจจัยในการที่จะนำมาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ส่วนการพัฒนามนุษย์โดยมองคนใน
ฐานะเป็นมนุษย์ มีความหมายว่า มนุษย์มีความเป็นมนุษย์ของเขาเอง ชีวิตมนุษย์นั้นมี
จุดหมายจุดหมายของชีวิตคือ ความสุข อิศรภาพ ความดี ความงามของชีวิต ซ่ึงเป็น
เรื่องเฉพาะตัวบุคคล47 เมื่อพัฒนาข้ึนไปค่อยๆทำให้คนนั้นห่างออกไปจากการท่ีจะตก
อยู่ภายใต้อิทธิพลครอบงำของตัณหา มานะ ทิฐิ คือ ถูกตัณหา มานะ ทิฐิ ครอบงำ
น้อยลง เมื่อครอบงำน้อยลงก็เป็นอิสระแก่ตัวมากข้ึน สามารถทำสิ่งท่ีดีงามได้มากข้ึน
การท่ีจะสร้างสันติก็มีทางเป็นไปได้โดยการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ก็คือการศึกษา ซึ่ง
ได้แก่สิกขานนั้ เอง48

สรุปไตรสิกขากับการพัฒ นาทุนม นุษย์ เป็นการยึดหนักธรรมทาง
พ ระพุ ท ธ ศ า ส น าม าบ ริห าร จั ด ก ารค ว บ คุ ม บุ ค ล าก ร ใน ห น่ ว ย งาน เพื่ อเส ริ ม ส ร้า ง
มนุษยธรรม เป็นการสร้างมนุษย์ให้มีความเป็นมนุษย์ท่ีถูกต้อง แล้วเสริมมนุษยธรรมให้
มคี วามกา้ วหน้า ละการใชส้ ัญชาตญาณอยา่ งสัตว์แล้วกม็ ีความคิดเป็นอยา่ งมนุษย์ ก็เป็น

46 ฌาน ตรรกวิจารณ์, การบริหารทรัพยากรมนุษย์, (กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย
รามคำแหง,2544), หนา้ 2.

47 พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), ทศวรรษธรรมทัศน์พระปิฎก หมวดศึกษาศาสตร์,
(กรงุ เทพมหานคร : ธรรมสภา, 2543), หน้า 51.

48 พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), ทศวรรษธรรมทัศน์พระปิฎก หมวดศึกษาศาสตร์,
หนา้ 96.

การบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์สมยั ใหม่ | 445

มนุษยธรรมส่งเสริมให้ก้าวหน้ายิ่งๆ ขึ้นไป เป้าหมายของการศึกษาก็คือการพัฒนา
มนุษยธรรมให้มันมาในทิศทางท่ีถูกต้อง คือละอหังการ มมังการ ละความเห็นแก่ตัว
กิเลสไม่อาจจะเกิด บุคคลก็จะมีสันติสุข สังคมก็จะมีสันติภาพ นี้คือเป้าหมายของ
การศกึ ษา 49 และประกาศสำคัญเป้าหมายสูงสดุ ของการพัฒนาสังคม สงั คมท่ีเก้ือกูลต่อ
ความเป็นอยู่ที่ดีงามนั้นจักต้องเป็นสังคมที่สงบสุข ม่ันคงและราบรื่น มีโภคทรัพย์
ปราศจากความยากจนและสามารถพ่ึงตนเองได้ในทางเศรษฐกิจ มีการจัดระเบียบหรือ
องค์การทางสังคมท่ีเอ้ือให้ประชาชนอยู่ร่วมกันอย่างผาสุก ด้วยเหตุน้ี การพัฒนาสังคม
เพื่อการพัฒนาบุคคลจักต้องสร้างเงื่อนไขแวดล้อมดังกล่าวให้เกิดมีขึ้นในสังคม พุทธ
ธรรมนั้นมองโลก และชีวิตอย่างเชื่อมโยงสัมพันธ์กัน ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนเป็นเหตุปัจจัย
อาศัยกัน การพฒั นาชีวติ หรอื การพัฒนาบคุ คล จึงแยกไม่ออกจากการพฒั นาสังคม50

ความสำคัญของหลักไตรสิกขา

หลักไตรสิกขา เป็นหลักอันสำคัญท่ีสุด ในการปฏิบัติกิจในพระพุทธศาสนา
เป็นสิ่งที่มีค่าหรือมีความหมายข้ึนมาได้ ก็อยู่ตรงท่ีสามารถดับทุกข์ได้เป็นขั้นๆ
พระพทุ ธเจา้ ทรงตรัสว่า ธรรมเปน็ เหตดุ ับกิเลสเพ่ือตน ไว้ว่าไตรสกิ ขา 3 คอื อธสิ ลี สกิ ขา
อธิจิตสิกขา อธิปัญญาสิกขาโดยรวมความว่าพึงศึกษาเพื่อให้ ราคะ โทสะ โมหะ โกธะ
อุปหานะ ของตนดับไป เพอ่ื ความสงบ ความเข้าไปสงบ สงบเย็น เพ่อื ให้ดบั เพ่ือสลัดท้ิง
เพือ่ ความระงับอกสุ ลาสังขารทุกประเภท51 ไตรสิกขายงั เปน็ เครื่องกำจดั กิเลส กองราคะ
โทสะ โมหะ หรือโลภ โกรธ หลงท่ีเป็นอยา่ งอยาบ หรือว่าห้ามกันมใิ ห้หยาบออกมาเจอ
ก่อให้เกิดเจตนากรรม ทางกาย วาจา ใจ เป็นความละเมิดผิดต่างๆ สว่ นสมาธิน้นั ได้แก่
ความต้ังใจมั่นอยู่ในอารมณ์ที่ดีที่ชอบเป็นอารมณ์กรรมฐานเป็นเหตุกำจัดกิเลสที่เป็น

49 พุทธทาสภิกขุ, การศึกษาสมบูรณ์แบบ : คือวงกลมที่คุ้มครองโลกถึงที่สุด,
(กรุงเทพมหานคร: อุษาการพิมพ์, 2549), หน้า 205-206.

50 พระไพศาล วิสาโล, การศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, (ครุศาสตร์: สถาบันราช
ภฎั เชียงราย, 2542), หน้า 2.

51 ข.ุ จ.ู (ไทย) 30/31/159.

การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ | 446

นิวรณ์ อันบังเกิดขึ้นทำให้จิตกลัดกลุ่มวุ่นวาย ไม่สงบไม่ต้ังใจม่ันในทางท่ีชอบท้ังกำบัง
ปัญญามีให้ร้แู จ้งเห็นจริงและปัญญา คือ ความเข้าใจถึงสัจธรรม ธรรมเป็นตัวความจริง
เป็นเครื่องกำจดั กิเลสทกุ อย่างได้เปน็ อยา่ งดี52

ในการดับทุกข์กับไตรสิกขาตามหลักพระพุทธศาสนา พบว่า สิ่งที่เรียกวา่ ศีล
สมาธิ ปัญญา อันเป็นส่ิงท่ีควรศึกษา ความปฏิบัติจนไม่ได้ผล จนรู้จริงๆถึงท่ีสุด ท้ัง 3
เป็นอย่างไร ศีล สมาธิ ปัญญา โดยเนื้อแท้ ก็คือการปฏิบัติเป็นข้ันๆ เพื่อผลอันเด่ียวกัน
คือความพ้นทุกข์เมื่อกล่าวโดยแยกกันศีลท้ังหมด ดับทุกข์ หรือโทษหยาบๆ ที่เกิดขึ้น
ปรากฏอยู่ ทางกาย ทางวาจา ท้ังที่เป็นทุกข์แก่ตนเองและแก่ผู้อื่น หรือสังคม จง
พจิ ารณาดูเถิดจะเห็นได้ว่า ศีลทุกข้อ สิกขาบททุกสิกขาบทมีความมุ่งหมายอยา่ งน้ี และ
ดับทกุ ข์หรอื โทษประเภทน้ไี ดจ้ ริง

สมาธิเป็นการดับทุกข์หรือโทษท่ีละเอียดยิ่งข้ึนไป คือ ทุกข์ทางใจ แต่เป็น
ประเภทหยาบคือเกิดอยู่ทางมโนทวาร แล้วเผาผลาญบุคคลผู้นั้นอยู่ภายใน เช่น
ความรู้สึกกลัดกลุ่มในทางกามคุณความรู้สึกกลัดกลุ้มในทางโทสะ ความรู้สึกกลัดกลุ้ม
เพราะจิตใจอ่อนเพลยี มนึ ชา ความรสู้ กึ กลัดกลมุ้ เพราะจิตฟุ้งซา่ นรำคาญจนเอาเร่อื งราว
อันใดไม่ได้ และความรู้สึกกลัดกลุ้มเพราะความเกิดปัญญาท่ีลังเลไปหมด การดับความ
ทุกข์เช่นนี้เสียได้ เรียกว่า มีสมาธิสำเร็จประโยชน์หรือเรียกสมาธิ ก็คือ มีความดับทุกข์
ชนดิ นี้อยใู่ นตนเองน้นั เอง53

ปัญญา หมายถึง การดับทุกข์ชนิดตัดรากเหง้าของความทุกข์ทั้ง 2 ประการ
ที่กล่าวแล้วข้างต้น ซึ่งทำให้บุคคลต้องดับด้วยศีล และสมาธินั้นเอง ความดับทุกข์
เหล่านั้นเกิดมาจากรากเหง้าของความทุกข์ชนิดที่เหลือวสิ ัยท่ีศีลกับสมาธิจะดบั ไหวหรือ
ดบั ได้ ศีล และสมาธิ จะดับได้ก็แต่เพียงความทุกข์ทเี่ ป็นผลผลติ จากรากเหง้าน้ันเท่าน้ัน

52 สมเดจ็ พระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (เจริญ สวุ ฑฺฒโน),
สุวฑฺฒโนวาท, (กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาแห่งประเทศไทย, 2546), หน้า
110-111.

53 พุทธทาสภิกข,ุ คำสอนผู้บวชพรรษาเดยี ว, พิมพค์ รง้ั ท่ี 2, (กรุงเทพมหานคร: รุ่งแสง
การพมิ พ์, 2534), หน้า 160-161.

การบริหารทรัพยากรมนษุ ย์สมัยใหม่ | 447

และเรยี กว่า ปัญญา ซึ่งหมายถึงความรู้อันถูกต้องแจ่มแจ้งและเด็จขาด เราจะเห็นได้ว่า
ปัญญาเป็นเคร่ืองดับทุกข์ท่ีดับรากเหง้าเพ่ือไม่ให้ทุกข์เกิดขึ้นมาได้อีกต่อไป ถ้ากล่าว
เน่ืองกัน ศีล ดับทุกข์โทษทางกาย วาจา ได้แล้วย่อมเป็นบันไดหรือเป็นบาทฐานเกิด
สมาธิได้ง่าย คนท่ีไม่มีศีลหรือคนท่ีกำลังรู้สึกตัวอยู่ว่าตนทุศีล ย่อมไม่สามารถทำจิตให้
เป็นสมาธิได้สำเร็จ เพราะฉะน้ันศีลจึงเป็นบันไดหรือเป็นบาทฐานของสมาธิ สมาธินั้น
เล่า ได้อาศัยศีลแล้วก็ต้ังขึ้นได้โดยง่าย จะเห็นได้ง่ายๆว่า บุคคลหน่ึงบุคคลใด มีจิตแจ่ม
ใส่ปีติปราโมทย์ ในการกระทำที่ถูกต้องของตนอยู่ จิตย่อมสงบเยือกเย็นพร้อมที่จะคิด
นึกอะไรได้เป็นอย่างดี ทั้งจะเห็นได้ว่า นอกจากมีความสุขใจในส่วนตนในขั้นน้ีแล้ว ยัง
เป็นเคร่ืองใช้ให้เกิดคุณสมบัติขั้นต่อไป คือขั้นท่ีเรียกว่า ปัญญานั้นเอง ปัญญาน้ัน เม่ือ
สมาธิเก้ือหนุนเป็นอย่างดีและถูกต้องแล้ว ย่อมแก้กล้าท่ีจะทำลายกิเลสได้จริงๆแม้ใน
ลักษณะท่เี น่ืองกนั 54

หลักไตรสิกขายังเป็นระบบฝึกฝนอบรมกาย วาจา ใจ หรือฝึกฝนอบรมใน 3
ด้าน ใหญ่ๆคือทางปัญญา ทางศีล และทางจิตใจ ไตรสึกขา คือสรุปเนื้อหาของ
อริยมรรคมีองค์ 8 ไตรสิกขา กับอริยมรรคมีองค์ 8 ก็เป็นอย่างเด่ียวกันนั้นเอง
เพราะฉะนั้น ถ้าใครพูดว่าแนวทางปฏิบัติเพื่อพ้นทุกข์ คือไตรสิกขา เรียกว่า เขาพูดถูก
หรือใครจะพูดว่าแนวทางปฏิบัติเพ่ือพ้นทุกข์ คือ อริยมรรค 8 ก็เรียกว่าพูดถูก
เหมือนกัน55 ไตรสิกขามีหน้าที่สำคัญ คือ 1) ศีล มีหน้าที่กำจัดกิเลสข้ันหยาบ ที่แสดง
ออกมาทางกาย วาจาให้หมดไป (วตี ิกกมกเิ ลส) 2) สมาธิ มีหน้าที่กำจัดกิเลสอย่างกลาง
เช่น นิวรณธรรม 5 มีกามฉันทนิวรณ์เป็นต้น ให้หมดไป (ปรยิ ุฏฐานกิเลส) 3) ปัญญา มี
หน้าที่กำจัดกิเลสอย่างละเอียด ได้แก่อนุมัยกิเลส 7 ประการมี กามราคานุสัยเปน็ ต้นให้
หมดไป (อนุสยั กเิ ลส)

สรุป ไตรสิกขาหรือสิกขาเป็นข้อที่จะต้องศึกษา ข้อปฏิบัติที่เป็นหลักสำหรับ
ศกึ ษา คอื ฝึกหัดอบรม กาย วาจา จิตใจ และปัญญา ให้ยิ่งขึ้นไปจนบรรลุจดุ หมายสูงสุด

54 พุทธทาสภิกขุ, คำสอนผ้บู วชพรรษาเดียว, หน้า 162-164.
55 เสถียรพงษ์ วรรณปก, คำบรรยายพระไตรปิฎก, (กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา
สถาบนั บนั ลอื ธรรม, 2553), หน้า 47.

การบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์สมัยใหม่ | 448

คือพระนิพพานจึงถือเป็นหลักสำคัญที่สุดในการปฏิบัติกิจในพระพุทธศาสนา กล่าวคือ
ประการแรก เป็นสิ่งท่ีมีค่าหรือมีความหมายตรงท่ีดับทุกข์ได้เป็นข้ันๆ อันเป็นผลของ
การปฏิบัตติ ามหลัก 3 ประการดังกลา่ ว ประการทสี องเป็นเคร่ืองกรองหรือทำลายกิเลส
ทำให้คนประพฤติดีมีจิตใจดี คิดดีมีความรู้ และเห็นในสิ่งท่ีถูกต้องท่ีควร ศีล สมาธิ และ
ปัญญา คือการปฏิบัติเป็นขั้นๆ เพื่อผลอันเดียวกัน คือความพ้นทุกข์เม่ือกล่าวโดย
แยกกัน ศลี ทั้งหมด ดบั ทุกข์หรอื โทษหยาบๆ ทีเ่ กิดข้ึนปรากฏอยู่ ทางกาย ทางวาจา ท้ัง
ท่ีเป็นทุกข์แก่ตนเอง และแก่ผู้อ่ืน หรือสังคม ส่วนสมาธินั้น ดับทุกข์หรือโทษท่ีละเอียด
ย่ิงข้ึนไป คือทุกข์ทางใจ แต่เป็นประเภทหยาบ สำหรับปัญญาเป็นเคร่ืองมือดับทุกข์ ที่
ดบั ถึงขั้นรากเหง้า เพ่ือไม่ให้ทุกข์เกิดขนึ้ มาได้อีกต่อไป ดงั นั้น หากบุคคลหรือมนุษยผ์ ู้ใด
ไดป้ ฏิบตั ิตนเองตามหลกั ไตรสิกขาแลว้ จะสามารถพัฒนาบุคคลใหม้ ีการดำเนินชวี ติ ไปใน
ทิศทางท่ีถูกต้อง ดีงามส่งผลต่อตนเอง ครอบครัวและสังคม ตลอดจนการทำงานใน
องค์การและหนว่ ยงาน

หลักไตรสกิ ขากับการพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์

หลักธรรมในพระพุทธศาสนาล้วนเป็นสิ่งท่ีดี มีคุณค่าต่อการบริหารงานทุกๆ
อย่าง รวมถึงการบริหารทรัพยากรบุคคลด้วยการนำมาประยุกต์ใช้กับการพัฒน า
ทรัพยากรบุคคลนั้น ก่อนอื่นตอ้ งมีความเชื่อว่าคนเราสามารถพัฒนาได้ ซ่ึงอันเป็นความ
เช่อื ทีส่ ำคัญมากในพระพุทธศาสนา คือเชื่อวา่ มนุษยเ์ ป็นสัตว์ที่ฝึกได้ พระพุทธเจ้าไดท้ รง
แสดงกับภิกษุท้ังหลายในมหาสาโรปมสูตร ถือเรื่องท่ีว่า กุลบุตรบางคนมีศรัทธาออก
จากเรียนบวชเป็นบรรพชิตด้วยศรัทธา ทำให้มีลาภสักการะและความสรรเสริญเกิดขึ้น
แต่เขาก็ไม่ปล้ืมใจและไม่มีความรู้สึกสมหวังในการรักษาศีลจนสมบูรณ์ เจริญสมาธิ
สมบูรณ์ก็ไม่ปล้มื ไม่รู้สกึ สมหวัง และเจริญวิปัสสนาจนทำให้มีญาณทัสสนะข้ึน ก็ไมป่ ล้ืม
ใจและไม่รู้สึกสมหวัง ยังคงมุ่งม่ันเจริญวิปัสสนาจนทำให้เกิดอสมยวิโมทข์ขึ้น ซ่ึงทรง
เรียกว่า “แก่นแห่งพรหมจรรย์” เหมือนคนท่ีต้องการแก่นไม้เที่ยวเสาะแสวงหาแก่นไม้
อยู่ เม่ือมีต้นไม้ใหญ่ซ่ึงมีแก่นยืนต้นอยู่ กลับมองข้างแก่นไม้ไปเข้าใจ ก่ิงและใบ กระพี้
เปลือก และสะเก็ด ว่าเป็นแก่นไม้ จึงตัดนำไปใช้ ก็ไม่เป็นประโยชน์แก่เขาแต่ถ้าคนท่ี

การบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์สมยั ใหม่ | 449

ต้องการแก่นไม้ เที่ยวเสาะแสวงหาแก่นไม้อยู่ และพบต้นไม้ใหญ่ซึ่งมีแก่นยืนต้นอยู่
มองเหน็ แก่นไม้ และตัดนำไปใช้ก็เป็นประโยชนแ์ กเ่ ขาได้56

ไตรสิกขาเป็นหลักการสำคัญของการพัฒนามนุษย์ซึ่งการฝึกฝนและพัฒนา
มนุษย์นั้นทางพระพุทธศาสนาจัดวางเป็นหลัก เรียกว่า ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปญั ญา
ซ่ึงถือว่าเป็นระบบการศึกษา ที่ทำให้บุคคลพัฒนาอย่างมีบูรณาการ และให้มนุษย์เป็น
องคร์ วมทพี่ ฒั นาอย่างมดี ุลยภาพ57

1. ศีล เป็นเร่ืองของการฝึกในด้านพฤติกรรม โดยเฉพาะพฤติกรรมเคยชิน
เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการฝึกศีลก็ต้องอาศัยวินัย ทั้งนี้พระวินัยเป็นจุดเร่ิมต้นของกระบวนการ
ศึกษาและการพัฒนามนุษย์ เพราะว่าวนิ ัยเป็นตัวการจัดเตรียมชีวิตใหอ้ ยู่ในสภาพที่เอื้อ
ตอ่ การพัฒนาโดยจดั จัดระเบยี บความเป็นอย่กู ารดำเนินชีวิตและการอยู่ร่วมกันในสังคม
ให้เหมาะสมกับการพัฒนาและให้เอื้อโอกาสในการที่จะพัฒนา เมื่อฝึกได้ผลจนคนมี
พฤตกิ รรมเคยชนิ ที่ดีตามวนิ ัยน้นั แล้วกเ็ กิดขน้ึ เปน็ ศีล

2. สมาธิ เป็นเรื่องของการฝึกในด้านจิต ได้แก่พัฒนาคุณสมบัติต่างๆของจิต
ทั้งในด้านคุณธรรม เช่น ความเมตตากรุณา ความเอื้อเฟื้อเผ่ือแผ่ ในด้านความสามารถ
ของจิต เช่น ความเข้มแข็งมั่นคง ความเพียรพยายาม ความรับผิดชอบ ความแน่วแน่
ม่ันคง ความมีสติ สมาธิ และในด้านความสุข เช่น ความอ่ิมใจ ความร่าเริงเบิกบานใจ
ความสดช่ืนผ่องใส ความรสู้ ึกพอใจ

3. ปัญญา เป็นเรื่องของการฝึกหรือพัฒนาในด้านการรู้ความจริงเร่ิมตั้งแต่
ความเช่ือ ความเห็น ความรู้ ความเข้าใจ ความหยั่งรู้เหตุผล การรู้จักวินิจฉัย ไตร่ตรอง
ตรวจสอบ คิดการตอ่ ๆสร้างสรรค์ เฉพาะอย่างยง่ิ เน้นการรู้ตรงตามความเป็นจริง หรือรู้
เห็นตามที่มันเป็นตลอดจนรู้แจ้งความจริงท่ีเป็นสากลของส่ิงทั้งปวง จนถึงข้ันรู้เท่าทัน
ธรรมดาของโลก และชีวิต ท่ีทำให้จิตใจมีอิสระปลอดปัญหาไร้ทุกข์ เข้าถึงอิสรภาพโดย

56 ม.มู. (ไทย) 21/311/346-348.
57 พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต), จะพัฒนาคนกันได้อย่างไร, พิมพ์ครั้งท่ี 7,
(กรุงเทพมหานคร: สขุ ภาพใจ, 2543), หนา้ 104-107.

การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์สมัยใหม่ | 450

สมบูรณ์ หลักทั้ง 3 ประกาศทก่ี ลา่ วมาน้ี เป็นส่วนประกอบของชีวิตท่ีดีงาม เราฝึกคนให้
เจรญิ งอกงามในองค์ประกอบเหลา่ น้ันนำเข้าถึงอิสรภาพและสนั ติสขุ ท่ีแทจ้ รงิ

หลักการที่จะต้องศึกษาและกระทำให้พอเหมาะสมพอดีกันกับอุปนิสับหรือ
อนิ ทรียข์ องตน ดังนั้นสง่ ทเี่ ปน็ เทคนิคจึงมากข้นึ ผลท่ีไดร้ บั กเ็ ป็น การบม่ กำกลังจติ และ
กำลังปัญญาพร้อมกันไป เม่ือดับกิเลสได้ก็เป็นพระอริยบุคคลประเภทพิเศษ มีคุณวิเศษ
ส่วนอ่ืนประกอบมากออกไปจากดับกิเลศโดยตรงเพียงอย่างเด่ียว สายของการปฏิบัติ
ค่อนข้างจะยึดยาวและรัดกุมตามวิธีของเทคนิคท้ังหลายโดยเฉพาะอย่างย่ิงก็ได้แก่วิธีท่ี
เรียกว่า การทำกัมมัฏฐานอย่างใดอย่างหนึ่งอย่างสมบูรณ์แบบนั้นเอง กินเวลามาก ใช้
ความพากเพียรมาก ตวั การปฏิบัตินั้นมีอยู่ 3 อย่างคือ ศีล สมาธิ ปัญญา ในฐานะที่เป็น
ประธานหรอื เป็นหลัก ขอ้ ปฏิบัติท่ีมชี ่ือเรียนเป็นอย่างอ่ืนอกี มากมายนนั้ รวมลงไดใ้ นข้อ
ปฏิบัติ 3 นี้ท้ังน้ันเพราะฉะนั้นจึงถอื กันว่า ศีล สมาธิ ปัญญาน้ีเป็นหลักปฏิบัติโดยตรงนี้
เรียกว่า ไตรสิกขา คือ สิ่งท่ีจะต้องศึกษา 3 ประการแต่คำว่า “สิกขา” ในที่น้ีหมายถึง
การศึกษา และปฏิบัติท่ีรวมเป็นตัวเดียวกัน ไม่ใช่การศึกษาเล่าเรียนเฉยๆ แต่เป็น
การศึกษาที่เป็นไปในการปฏิบัติอยู่จึงจะรู้58 ความเข้าใจของคนท่ัวไปไตรสิกขาหรือ
สิกขา 3 ก็คือ ศีล สมาธิ ปัญญา เท่าน้ัน ไม่ได้รวมถึงเป้าหมาย คือ การบรรลุจุดหมาย
สูงสุดถึงพระนิพพานเข้าไปด้วยอีกประการหนึ่ง มรรค แปลว่า หนทาง หรือทำดำเนิน
แน่นอนว่าในเม่ือเป็นหนทาง ก็ต้องมีต้นทางและปลายทางฉะนั้น ส่ิงท่ีสำคัญที่จะขาด
หายไป หากสรุปอริยมรรคมีองค์ 8 ลงในไตรสิกขาก็คือ เจตนาเพื่อพระนิพพานน้ันเอง
ซึ่งเห็นได้จากระยะหลักสำนักปฏิบัติธรรมหลายๆสำนัก ก็ละเลยมิได้ให้ความสนใจใน
การทจ่ี ะนำผูป้ ฏบิ ตั ใิ ห้อธิษฐานเพ่ือมรรคผลนิพพานในปจั จบุ นั 59

หลักคำสอนในทางพระพุทธศาสนาจะวางหลักไว้เป็น 3 ระดับ ตามหลัก
ไตรสิกขาคือ จะเริ่มด้วยศีล สมาธิ และปัญญา เพราะถือวา่ ศีลเป็นรากฐานของสมาธิ ผู้

58 พุทธทาสภิกขุ, ตัวกู-ของกู, (กรุงเทพมหานคร: อมรการพิมพ์, 2548), หน้า 167-
170.

59 พระภาสกร ภูรวิ ฑฺฒโน, ปฏิจจสมุปบาท สำหรบั คนร่นุ ใหม่, (เชยี งใหม่: บริษทั นนั ท
พันธพ์ ร้นิ ต้ิง จำกดั , 2550), หนา้ 143.

การบรหิ ารทรัพยากรมนุษย์สมยั ใหม่ | 451

มีศีลบริสุทธ์ิ จะรู้สึกเยือกเย็นไม่มีความเดือนร้อนหวาดระแวงในเรื่องผิดศีล เมื่อทำ
สมาธิจิตสงบได้เร็ว แล้วเม่ือจิตสงบ ไม่ฟุ้งซ่าน ปัญญาก็เกดิ ศีล สมาธิ ปัญญา เพาะถือ
ว่าศีลเป็นรากฐานของสมาธิ ผู้มีศีลบริสุทธิ์จะรู้สึกเยือกเย็นไม่มีความเดือดร้อน
หวาดระแวงในเรื่องผิดศีล เมื่อทำสมาธิจิตจะสงบได้เร็ว และเม่ือจิตสงบ ไม่ฟุ้งซ่าน
ปญั ญาก็เกดิ ศีล สมาธิ ปญั ญา จงึ มีความสำคญั กันอยา่ งนี้ มีขอ้ ทีค่ วรกล่าวย้ำเปน็ พิเศษ
ว่าระบบการปฏิบัติธรรมของพระพุทธศาสนานั้น ในระบบไตรสิกขา แม่จะเริ่มต้นด้วย
ศีล แต่ความจริงต้องอาศัยพื้นฐานความเข้าใจเก่ียวกับเรื่องที่จะลงมือปฏิบัติก่อน
มิฉะนั้นแล้วจะไม่รู่ว่า เร่ืองท่ีตนปฏิบัตินั้นถูกหรือไม่ หรืออย่างน้อยก็ต้องเข้าใจใน
วัตถุประสงค์ว่าปฏิบัติเพ่ืออะไร เมื่อผู้ปฏิบัติมีความรู้ความเข้าใจในเบ้ืองต้นถูกต้อง ก็
เร่ิมฝึกอบรมกาย วาจาให้เรียบร้อย แสดงพฤติกรรมออกมาให้เห็นชัดเจน ซ่ึงไตรสิกขา
เริม่ จากจุดนี้ จดั เปน็ ศีลหรอื สกิ ขา เมื่อมีศลี บรสิ ุทธจิ์ ึงกส็ งบเยือกเยน็ ไม่ตอ้ งหวาดระแวง
โทษเพราะล่วงละเมดิ ศีลเริ่มฝึกอบรมจิตให้ปราณีตยง่ิ ขึ้นจนไม่กวัดแกว่งไปตามอารมณ์
ท่ีมากระทบพฤติกรรมท่ีแสดงออกในช่วงนี้จัดเป็นสมาธิหรือจิตสิกขา เม่ือจิตเป็นสมาธิ
แน่วแน่ อยู่ในอารมณ์หรือเร่ืองท่ีเป็นกุศล จิตก็จะผ่องใส มีใจเป็นกลาง ไม่ตกอยู่ใต้
อำนาจความรัก ความชัง ความกลัว และความหลงก็จะสามารถมองหรือพิจารณาเห็น
สภาวธรรมทล่ี ะเอียดสขุ มุ ลุ่มลกึ ตามสภาพเป็นจริงได้ จติ ทีไ่ ด้รับการพฒั นามาถึงระดบั นี้
จัดเปน็ ปัญญา หรอื ปญั ญาสิกขา60

จดุ มงุ่ หมายของไตรสกิ ขา

ไตรสิกขา คือ หลักการศึกษาแบบพุทธหรือการศึกษาแบบ ธรรมชาติ
ประกอบด้วย ศีล สมาธิ และปัญญา โดยในข้ันพื้นฐาน ศีลก็คือการดำเนินชีวิตโดยมี
พฤติกรรมที่ถูกต้องในการสัมพันธ์กบั ส่งิ แวดลอ้ มและเพื่อมนุษย์ ตงั้ แต่การดูการฟัง การ
กินอยู่ บรโิ ภค ทำอาชีพการงานดังน้ันศีลจึงมีหลายด้าน แต่ในท่ีนไ้ี ด้พูดถึงศีลพ้ืนฐานใน
การอยู่รวมสงั คม คือการสัมพันธ์กับเพื่อมนุษย์ซ่ึงหมายถึงการอยู่ร่วมกันในสังคมโดยไม่

60 พิสิฐ เจริญสุข, คู่มือการอบรมสมาธิ, (กรุงเทพมหานคร: การศาสนา, 2542), หน้า
33-37.

การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์สมัยใหม่ | 452

เบียดเบียนกัน ไม่ก่อความเดือดร้อนแก่ใครๆ61 ไตรสกิ ขาในบางมุมมองอาจทำให้ทราบ
ถึ งวิ ธีที่ จ ะ ตั ด อุ ป าท าน ห ลั ก พ ร ะพุ ท ธ ศ า ส น าโด ย เฉ พ าะ ข้ อ ป ฏิ บั ติ ห ม ว ด นี้ เรี ย ก ว่ า
ไตรสิกขา ท่ีอธิบายว่า สิกขาขั้นแรกที่สุด เรียกว่า “ศีล” ซ่ึงหมายถึง การประพฤติดี
ประพฤติถูกต้องตามหลักทว่ั ๆไปไมทำให้ผู้อื่นเดือดร้อน มีจำแนกไว้เปน็ ศีล 5 ศลี 8 ศีล
10 ศีล 227 หรืออ่ืนอีก เป็นการปฏิบัติเพ่ือความสงบเรียบร้อยจากโทษขั้นต้นๆ ทาง
กายทางวาจาของตน ท่ีเก่ียวข้องกับสังคมและส่วนร่วม หรือเก่ียวกับส่ิงต่างๆ ท่ีจำเป็น
กบั การท่ีเปน็ อยู่

ไตรสิกขา ยังหมายถึง ข้อที่จะต้องศึกษา ข้อปฏิบัติท่ีเป็นหลักสำหรับศึกษา
คือ ฝึกหัดอบรม กาย วาจา จิตใจ และปัญญา ให้ยิ่งข้ึนไปจนบรรลุจุดหมายสูงสุดคือ
พระนิพพานมีส่วนประกอบ 3 ส่วน สำคัญคือ อธิสีลสิกขา อธิจิตตสิกขา และอธิปัญญา
โดยจะขออธิบายโดยระเอยี ด62 ดงั นี้

1. อธิศีลสิกขา หมายถึง ข้อปฏิบัติสำหรับฝึกอบรมในทางความประพฤติ
อย่างสูง ดังคำอธิบายว่าอธิสีลสิกขาเป็นอย่างไร กล่าวคือ ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ เป็น
ผู้มีศีล สำรวมด้วยความสังวรในพระปาติโมกข์ สมบูรณ์ด้วยอาจาระและโคจร เห็นภัย
ในโทษเพียงเล็กน้อย สมาทานศึกษาในสิกขาบททั้งหลายอยู่คือ สีลขันธ์เล็ก ลีลขันธ์
ใหญ่ ศีลเป็นที่พึง เป็นเบ้ืองต้น เป็นความประพฤติ เป็นความสำรวม เป็นความระวัง
เป็นหวั หน้า เปน็ ประธาน เพื่อความถึงพรอ้ มแห่งธรรมท่เี ปน็ กุศล นีช้ ่อื วา่ อธลิ ีลสกิ ขา63

2. อธิจิตสิกขา หมายถึง ข้อปฏิบัติสำหรับฝึกอบรมจิตเพ่ือให้เกิดคุณธรรม
เช่น สมาธิอย่างสูงการสงัดจากามและอกุศลธรรมทั้งหลายดังคำอธิบายว่า อธิจิตสิกขา
เป็นอย่างไร กล่าวคือ ภิกษุ ในธรรมวินัยน้ีสงัดจากกามและอกุศลธรรมท้ังหลายบรรลุ
ปฐมฌานที่มีวิตก วิจาร ปีติและสุข อันเกิดจากวิเวกอยู่ เพราะวิตกวิจาร สงบระงับไป

61 พระธรรมปิฏก (ป.อ.ปยุตฺโต), สามไตร, (กรงุ เทพมหานคร: บริษัท สหธรรมิก จำกัด,
2554), หน้า 27-29.

62 พระราชวรมุนี (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม,
(กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยลัย, 2528), หนา้ 127.

63 ขุ.มู. (ไทย)29/10/48.

การบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์สมัยใหม่ | 453

แล้ว บรรลุตติยฌานมีความผ่องใส่ในภายใน มีภาวะท่ีจิตเป็นหนึ่งผุดข้ึน ไม่มีวิตก ไม่มี
วิจาร มีแต่ปีติและสุขที่เกิดจากสมาธิอยู่เพราะปีติจากคลายไป มีอุเบ กขามี
สติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย บรรลุตติยฌานที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า
ผู้มีอุเบกขา มีสติเป็นสุขเพราะละสุขและทุกข์ได้แล้ว เพราะมีโสมนัสละโทมนัสดับไป
ก่อนแลว้ บรรลุจตตุ ฺถฌานทีไ่ ม่มีทุกข์ ไมม่ ีสุข มสี ติบริสุทธ์ิเพราะอเุ บกขาอย่นู ้ี ชือ่ ว่า อิก
จติ สกิ ขา

3. อธิปัญญาสิกขา หมายถึง ข้อปฏิบัติสำหรับฝึกอบรม ปัญญา เพื่อให้เกิด
ความรู้แจ้งอย่างสูง การรู้ชัดตามความเป็นจริงในอริยสัจ 4 เป็นลำดับไป จนทำให้แจ้ง
ทงั้ เจโตวิมุติ และปัญญาวิมุตติ สามารถทำลายอาสวะกเิ ลสให้หมดไปดงั คำอธิบายว่าอธิ
ปัญญาสิกขาเป็นอย่างไร กล่าวคือภิกษุในธรรมวินัยน้ี เป็นผู้มีปัญญา ประกอบด้วย
ปัญญาอันประเสริฐหยั่งถึงความเกิดและความดับ เพิกถอนกิเลสให้บรรลุถึงความสิ้น
ทุกข์โดยชอบ เธอรู้ตามความเป็นจริงว่า “น้ีทุกข์” “น้ีทุกข์สมุทัย (เหตุเกิดทุกข์)” “น้ี
ทุกข์นิโรจน์(ควมดับทุกข์)” “นี้ทุกข์นิโรธคามินีปฏิปทา (ข้อปฏิบัติเครื่องดำเนินไปสู่
ความดับทุกข์)” เธอรู้ตามความเป็นจริงว่า “เหล่านี้อาสวะ” “นี้อาสวสมุทัย” “นี้
อาสวนิโรธ” “นีอ้ าสวนโิ รธคามนิ ปี ฏปิ ทา” “นี้ชอื่ วา่ อธิปัญญาสิกขา”64

อนึ่ง จุดมุ่งหมายของไตรสิกขา หรือการศกึ ษาในพระพุทธศาสนานี้ย่อมคล้าย
ตามจุดมุ่งหมายระดับต่างๆของพระพุทธศาสนา เน่ืองจากการศึกษาเป็นวิธีการท่ีมุ่ง
ประสงค์ไปสู่อุดมการณ์หรือจุดมุ่งหมายในพระพุทธศาสนา และจุดมุ่งหมายใน
พระพทุ ธศาสนาก็มีหลากหลายระดับซึ่งขึ้นอยู่กับเป้าหมายของปัจเจกบุคคลอีกชั้นหน่ึง
ฉะนั้นในที่น้ีจึงขอกล่างถึงจุดมุ่งหมายโดยทั่งไปของการศึกษาในพระพุทธศาสนาไว้65
ดงั น้ี

1. ศีล คือการฝึกพัฒนาทางด้านพฤติกรรมทางด้านกายและวาจา หมายถึง
การประพฤติดี ไม่เบียดเบียน ไม่ทำให้ตนเองและผู้อื่นเดือดร้อนและการอยู่ร่วมกันใน
สังคมดว้ ยดี มีองคป์ ระกอบ 4 ประการคือ

64 ข.ุ ม.(ไทย) 29/10/49.
65 พทุ ธทาส อนิ ทฺ ปญโฺ , คูม่ ือมนษุ ย์, (กรงุ เทพมหานคร: ธรรมสภา, 2537), หนา้ 34.

การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ | 454

1.1 วินัย คือ กฎระเบียน ข้อบังคับที่ถูกต้องดีงามเป็นท่ียอมรับ ใช้จัด
ระเบียนให้เกิดความเรียบร้อย ความรบั ผดิ ชอบและความสามัคคีเม่อื คนมาอยู่รวมกันใน
พระพุทธศาสนา พระสงฆ์มีวินัยท่ีเรยี กวา่ ศีล 227 ข้อ คฤหสั ถ์หรอื คนทั่วไปไดแ้ ก่ ศลี 5
หรือ ศลี 8 ประเทศมกี ฎหมาย องค์การมีกฎเกณฑ์ มจี รรยาบรรณของวชิ าชพี

1.2 การรู้จักใช้อินทรีย์ คือ ใช้ประสารทสัมผัสท้ัง 5 อันได้แก่ ตา หู
จมกู ล้ิน กาย ใจ อย่างไมเ่ ปน็ โทษ ใชใ้ หถ้ ูกตอ้ ง

1.3 การหาเลี้ยงชีพสุจริต ไม่ผิดกฎหมาย เป็นอาชีพการงานท่ีไม่
เบียดเบียนผู้อ่ืน หรือสร้างความเดือดร้อนเสียหายแก่สังคม เป็นอาชีพการงานที่ช่วยให้
ผู้ทำไดพ้ ัฒนาชวี ติ ของตนใหง้ อกงามยิง่ ข้นึ

1.4 การบริโภคปัจจัยโดยใช้ปัญญา บริโภคด้วยความพอดี รู้
วัตถุประสงค์ของสิ่งนั้นตลอดจนการใช้สอยสิง่ ต่างๆอย่างประหยัด ซง่ึ ทำให้ได้ประโยชน์
มากท่ีสุดโดยสิ้นเปลอื งนอ้ ยทสี่ ุดและไมบ่ ริโภคสง่ิ ที่ไมด่ ตี ่อรา่ งกาย

2. สมาธิ หมายถึง การพัฒนาในด้านจิตใจ มีความสำคัญอย่างยิ่งเพาะจิตใจ
เป็นพื้นฐานของพฤติกรรม เนื่องจากพฤติกรรมทุกอย่างเกิดข้ึนจากความตั้งใจหรือ
เจตนา ถ้าจิตได้รับการพัฒนาดีแล้วก็จะควบคุมพฤติกรรมให้ได้ไปด้วย แม้ความสขุ หรือ
ความทุกข์ก็อยู่ท่ีใจ ย่ิงกว่านั้นปัญญาจะเจริญงอกงามได้ ต้องอาศัยจิตใจท่ีเข้มแข็งสู้
ปัญญา ไม่ท้อถอย ย่ิงเป็นเร่ืองที่ละเอียดลึกซ้ึงก็ย่ิงต้องมีจิตใจที่สงบแน่วแน่ ไม่ฟุ้งซ่าน
คือต้องมีสมาธิจึงจะคิดได้ชัดเจน จิตท่ีฝึกดีแล้วจึงเป็นฐานที่จะให้ปัญญาทำงานและ
พฒั นาอยา่ งไดผ้ ล

สมาธิคือภาวะของจิตที่ต้ังม่ัน แน่วแน่ สงบอยู่กับสิ่งที่ต้องการทำให้ฟุ้งซ่าน
การพฒั นาสมาธิจะแยกออกไดเ้ ป็นการพฒั นาคุณสมบัติของจิตใจในด้านต่างๆ ดงั นี้

1. พัฒนาคุณธรรมซึ่งเป็นคุณภาพของจิตใจ เสริมสร้างจิตใจให้ดีงาม ให้เป็น
จติ ใจที่สูงประณตี และประเสรฐิ มคี วามเมตตา กรุณา ความปรารถนาดี ต่อผอู้ น่ื

2. พัฒนาสมรรถภาพและประสิทธิภาพของจิตใจ โดยเสริมสร้างคุณสมบัติท่ี
ทำให้จิตใจมีความเข้มแข็ง หนักแน่น ม่ันคง มีความใฝ่รู้ ใฝ่สร้างสรรค์ มีความเพียร
พยายามรับผิดชอบ

การบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์สมัยใหม่ | 455

3. การพัฒนาความสุขและภาวะท่ีเกื้อหนุนสุขภาพของจิตใจ เพื่อความมี
สขุ ภาพจติ ท่ดี ี มคี วามเบิกบาน ปลอดโปรง่ ไมห่ อ่ เหยี่ ว

3. ปัญญา คือ การรอบรู้ รู้ว่าส่ิงใดเป็นคุณ สิ่งใดเป็นโทษ สิ่งใดควรทำ
หรือไม่ควร การพัฒนา ปัญญามีความสำคัญสูงสุด เพราะปัญญาควบคุมพฤติกรรม
ทั้งหมด คนเราจะมีพฤติกรรมอะไร อย่างไร และแค่ไหน ก็อยู่ท่ีว่าจะมีปัญญาช้ีนำหรือ
บอกทางให้เท่าใด และปัญญาเป็นตัวปลดปล่อยจิตใจ ให้ทางออกแก่จิตใจ การพัฒนา
ปัญญามีสว่ นชว่ ยพัฒนาชวี ติ ดงั นี้

3.1 ปัญญาช่วยให้ดำเนินชวี ิตอยา่ งมีประสิทธภิ าพประสบความสำเร็จ
มีความรู้ความเข้าใจอย่างถูกตอ้ งตามเป็นจรงิ ตรงตามสภาวะของส่ิงน้ันๆหรือตามท่ีมัน
เปน็ รจู้ ักถา่ ยทอดใหผ้ ู้อน่ื รตู้ ามเหน็ ตามคิดวินิจฉยั อยา่ งเท่ยี งตรง รู้จกั แยกแยะวเิ คราะห์
และแก้ไขปัญหา

3.2 ปัญญาที่ช่วยให้ดำเนินเข้าสู่วิถีชีวิตที่ถูกต้องดีงาม รู้และเข้าใจใน
ระบบความสัมพนั ธข์ องสิ่งท้งั หลายตามเหตุปจั จัย

3.3 ปัญญาที่ช่วยให้บรรลุจดุ หมายสงู สุดของชีวติ ทด่ี ีงาม ความรู้เข้าใจ
เขา้ ถงึ เทา่ ทนั ความจริงของสังขาร คือโลกและชีวติ ท่เี ปลี่ยนแผลงเป็นไปตามกฎธรรมดา
ของธรรมชาติ

การศึกษาทั้ง 3 ด้านท่ีเรียกว่า ไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ ปัญญาน้ีเป็นหลัก
ใหญ่ของพระพุทธศาสนา เป็นระบบและเป็นกระบวนการท้ังหมดของการพัฒนาคน
จากหลักไตรสิกขาน้ี พระพุทธเจ้าทรงแสดงหลักธรรมและข้อธรรมแยกย่อยออกไป
มากมาย อย่างท่ีเรามักเห็นหรือได้ยินเป็นหมวดๆ หรือเป็นชุดๆ มี 3 ข้อบ้าง 4 ข้อบ้าง
5 ข้อบ้าง หลักธรรมแต่ละหมวดแต่ละชุดเหล่าน้ัน ก็คือข้อปฏิบัติเพื่อการพัฒนาชีวิต
พัฒนาสังคมในข้ันตอน หรือในส่วนปลีกย่อยต่างๆแต่ละหมวด แต่ละชุดมักจะมีสาระ
บางส่วนของไตรสิกขาครบทั้ง 3 อย่าง ประสาทหรือบูรณาการกันอยู่ในลักษณะใด
ลักษณะหน่ึงตามความเหมาะสมกบั กรณีน้ันๆ

สรุป การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามหลักไตรสิกขาน้ัน หมายถึง ข้อศึกษา
และปฏิบัติท่เี ป็นหลักสำหรับศึกษา ฝึกอบรมกาย วาจา จิตใจและปัญญา โดยใชป้ ัญญา

การบริหารทรพั ยากรมนุษย์สมยั ใหม่ | 456

เป็นเคร่ืองช่วยนำทางให้การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ดำเนินไปในทางที่ถูกต้องดีงาม
หลักไตรสิกขาเป็นหลักคำสอนที่ควรค่าแก่การรับมาประพฤติปฏิบัติตามเพื่อพัฒนา
ตนเองให้บริสุทธิ์จากกิเลศท้ังปวง ท้ังนี้หากบุคคลหรือมนุษย์ปฏิบัติตนเองตามหลัก
ไตรสิกขาแล้ว จะสามารถพัฒนาบุคคลให้มีการดำเนินชีวิตไปในทิศทางที่ถูกต้องดีงาม
ส่งผลต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม ตลอดจนการทำงานในองค์การ หน่วยงาน
สำหรับนำเอาหลักไตรสิกขามาประยุกต์ใช้ในองค์กรนั้น จะช่วยให้เกิดส่ิงที่ดีงามเกิดข้ึน
ในองค์กร โดยผู้วิจัยจะขอนิยามความสำคัญของหลักไตรสิกขาเข้าการบริหารงานใน
องคก์ ร

1. ผู้บริหาร ที่มพี ฤติกรรมดีงาม ประพฤติปฏิบัติเรียบรอ้ ย มีวาจาสุภาพ ก็จะ
เปน็ ผู้นำท่นี ่าเลื่อมใสศ่ รัทธา เป็นแบบอยา่ งทด่ี ที ั่งกาย วาจา และหากว่าผบู้ ริหารมีจติ ใจ
ใฝ่ดีแล้ว ยังมีการบริหารงานที่มีคุณธรรม ตลอดจนมีความรู้ และใช้ความคิดเป็น ก็
สามารถบริหารงานในองค์กร หรอื หน่วยงานได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ

2. เจ้าหน้าที่ มีความประพฤติดี วาจาสุภาพ พูดจาสื่อความหมายได้ดี ทำ
หน้าท่ีการงานโดยซ่ือสัตย์สุจริต และเป็นผู้มีจิตใจเป็นธรรมในการปฏิบัติหน้าท่ี
ตลอดจนเป็นผู้มีความรู้ รู้ข้อเท็จจริงในการดำเนินงานในหน้าท่ี และรู้แก้ไขปัญญา
ขอ้ ขดั ข้องทเี่ กิดข้ึนในองคก์ ารหรือหน่วยงาน

3. บุคลากร ท่ีมีพฤติกรรมในการดำเนินชีวิตโดยวิธีสุจริต มีความประพฤติดี
วาจาดี สามารถปฏิบัตงิ านได้ดี และมีจิตใจรกั ในองคก์ ร หน่วยงาน มจี ติ ใจท่ตี ง้ั ใจทำงาน
มีความตั้งใจฝึกฝนตนเองให้สามารถทำงานตามหน้าที่ได้ดียิ่งขึ้น ตลอดจนมีความรู้ใน
อาชีพการงาน และตำแหน่งหน้าทข่ี องตนเองเปน็ อย่างดี ส่งผลให้องคก์ รหรอื หนว่ ยงาน
มีประสิทธภิ าพ

สรุปท้ายบท

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามหลักพระพุทธศาสนานั้น เป็นหลักการท่ีมา
จากหลักคำสอนในทางพระพุทธศาสนาท่ีพระพุทธองค์ทรงบัญญัติไว้บ้าง ทรงกล่าวสอน
เป็นหัวข้อธรรมเป็นหมวดต่างๆ บ้าง จากเหตุการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในสมัยพุทธกาลบ้าง

การบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์สมัยใหม่ | 457

หรือแม้แต่จากการรวบรวมของพระมหาเถระในยุคหลังพุทธกาลบ้าง โดยจากการ
ศึกษาวิจัยทำให้ทราบได้ว่ามีอมตวาจาท่ีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้แสดงไว้
เก่ียวกับทุนมนุษย์อย่างชัดเจนซึ่งส่วนมากเป็นเร่ืองท่ีแสดงให้เห็นถึงปัญญา กล่าวคือ
ความรู้ ท่สี ามารถนำมาแปรเป็นพลังให้การสรา้ งประโยชนต์ อ่ องค์การมากที่สดุ

ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์นั้นจำต้องมีกฎเกณฑ์หรือมาตรฐานในการ
จัดการที่ชัดเจน เพราะมนุษย์มีอุปนิสัยท่ีแตกต่างกันดังท่ีได้กล่าวไว้แล้วในเรื่องจริต 6
เปรียบเหมือนดอกไม้ที่มีอยู่หลากสีสัน ดอกไม้ที่มีสีหลากหลายน้ันสามารถจัดเป็นพวง
มาลาให้สวยงามและเปน็ ของควรแกก่ ารบูชาได้ ฉันใด มนษุ ย์ทมี่ ีหลกั เกณฑ์หรอื ข้อระเบียบ
ในการประพฤติปฏิบัติและได้ดำเนินไปตามหลักเกณฑ์และข้อระเบียบนั้นๆ ก็ย่อม
สามารถประพฤติปฏิบัติตัวก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและต่อองค์การได้ ฉันนั้น ส่วน
ในด้านกระบวนการจัดการน้ันในทางพระพุทธศาสนาก็มีวิธีการท่ีคล้ายคลึงกับการพัฒนา
ทุนมนุษย์ตามทฤษฎีตะวันตกเริ่มตั้งแต่การสรรหา การคัดเลือก การอบรมพัฒนา รวม
ไปถึงการสรรเสริญ และการลงโทษ แต่อาจจะมีควา มแตกต่างกันที่ในทาง
พระพุทธศาสนานนั้ มีการนำเอาหลักธรรมมาเป็นตวั กำหนดในแต่ละกระบวนการซึ่งเป็น
การแสดงให้เห็นถึงคัมภีรภาพของทุนมนุษย์อย่างแท้จริง นอกจากน้ีการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ตามหลักพระพุทธศาสนายังมีข้อท่ีควรหลีกเลี่ยงสำหรับการจัดการท่ี
เรยี กว่าเป็นอปุ สรรคของการพฒั นาทนุ มนุษย์กลา่ วคืออุปสัคทั้งภายในและภายนอกซึ่งจะ
เป็นตัวบั่นทอนประสิทธิภาพของการพัฒนาทุนมนุษย์ ซึ่งตัวมนุษย์เองจำต้องปิดก้ัน
อุปสรรคเหล่านั้นเองด้วย และผู้ท่ีมีหน้าท่ีในการพัฒนาทุนมนุษย์ก็จำเป็นท่ีต้องอบรม
ทุนมนุษย์ในองค์การของตนให้หลีกเล่ียงจากอุปสรรคเหล่านี้ ทั้งน้ีเพ่ือความมี
ประสิทธภิ าพในการทำงานและก่อให้เกิดประโยชน์โสตถผิ ลตอ่ ทรพั ยากรมนษุ ย์เองและ
ต่อองคก์ าร

การบริหารทรพั ยากรมนุษย์สมัยใหม่ | 458

คำถามทา้ ยบทที่ 12

1. จงอธิบายถึงความหมายของการพัฒ นามนุษย์ตามหลัก ธรรมทาง
พระพุทธศาสนา

2. จงบอกถึงการพฒั นาทรัพยากรมนุษยต์ ามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
3. แผนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามหลักพระพุทธศาสนาสามารถนำมา
ประยุกตใ์ ช้ในองค์กรตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งไร พร้อมยกตัวอยา่ งประกอบ
4. จงอธิบายถงึ กระบวนการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ตามหลักพระพุทธศาสนา
5. การพัฒนาทุนมนุษย์ตามหลักไตรสิกขามีประโยชน์อย่างไร พร้อม
ยกตวั อยา่ ง
6. จงวิเคราะห์ถึงความสำคัญของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามหลัก
พระพุทธศาสนา
7. จงวเิ คราะห์หลักไตรสกิ ขากับการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์

การบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์สมัยใหม่ | 459

อา้ งองิ ประจำบทท่ี 12

เกื้อจิตร ชีระกาญจน์. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑติ ย์, 2551.

คณาจารย์แห่งโรงพิมพ์เลี่ยงเซียง. ธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ ฉบับมาตรฐาน.
กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพเ์ ลี่ยงเซยี ง, 2550.

จำเนียร ทรงฤกษ์. ชีวประวัติพุทธสาวก ประวัติพระอัจฉริยะมหาเถระเมื่อครั้ง
พุทธกาล เล่ม 1. สำนักปฏิบัติธรรมสวนแก้ว สาขาวัดปากน้ำ : ธรรมสภา,
2542.

ฌาน ตรรกวิจารณ์. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย
รามคำแหง, 2544.

ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. การจัดการทรัพยากรบุคคล. พิมพ์ครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานค:
โรงพิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2542.

ณัฐหทยั ชลายนวฒั น์. “การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ตามหลกั ธรรม. : กรณีศึกษา บริษัท
505 โภคภัณฑ์ จำกัด”. วิทยานิพนธ์ปริญญาพัฒนาแรงงานและสวัสดิการ
มหาบณั ฑิต. บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์, 2546.

ธงชัย สันติวงษ์. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์คร้ังที่ 11. กรุงเทพมหานคร :
บริษทั ประชุมชา่ ง จำกัด, 2546.

บุญมี แท่นแก้ว. จริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, 2539.
บรรยงค์ โตจินดา. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: คณะวิทยาการ

จดั การ สถาบนั ราชภฏั สวนดุสติ , 2538.
พ จน านุกรม. ฉบับราชบัณ ฑิตยสถาน ราชบัณ ฑิตยสถาน . พิมพ์คร้ังที่ 2.

กรงุ เทพมหานคร : สำนกั พิมพ์อักษรเจรญิ ทัศน์ จำกดั , 2525.
พระพรหมคุณ าภรณ์ ป.อ. ปยุตฺโต. การศึกษากับการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2.

กรุงเทพมหานคร: สำนกั พิมพ์มูลนิธิพทุ ธธรรม จำกัด, 2544.

การบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์สมยั ใหม่ | 460

. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร
: บรษิ ทั สหธรรมิก จำกดั , 2546.

. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์คร้ังที่ 12. กรุงเทพมหานคร
: โรงพมิ พ์มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , 2546.

. หวั ใจพระพุทธศาสนา. พทุ ธจักร. ปีที่ 61 ฉบับที่ 5 พฤษภาคม 2550
พระธรรมปิฎก ป.อ. ปยุตฺโต. การศึกษ ากับการพั ฒ น าทรัพ ยากรมนุษย์ .

กรงุ เทพมหานคร: พมิ พ์ที่ โรงพิมพโ์ รงพมิ พก์ ารศาสนา, 2539.
. พุทธธรรม ฉบบั ปรบั ปรงุ ขยายความ. กรงุ เทพมหานคร: สหธรรมมิก, 2546.
. เศรษฐศาสตร์ตามแนวพุทธ. พิมพ์ครั้งท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมลคีม

ทอง, 2531.
. ปฏิบตั ธิ รรมให้ถูกทาง. พิมพค์ ร้ังที่ 30 กรุงเทพมหานคร:มลู นธิ ิพุทธรรม, 2539.
. จะพัฒนาคนกนั ได้อยา่ งไร. พมิ พ์ครัง้ ท่ี 7. กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ, 2543.
. สามไตร. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท สหธรรมิก จำกัด, 2554.
. ท ศ ว ร ร ษ ธ ร ร ม ทั ศ น์ พ ร ะ ปิ ฎ ก ห ม ว ด ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร์ .

กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา, 2543.
พุทธทาสภิกขุ เงอ่ื ม อินฺทปญฺโ . การศึกษาสมบูรณ์แบบ:คือวงกลมที่คุ้มครองโลกถึง

ทีส่ ุด. กรงุ เทพมหานคร: อุษาการพมิ พ์. ธันวาคม 2549.
. เป้าหมายของการศกึ ษา. กรงุ เทพมหานคร: สำนกั พมิ พ์พาน, 2537.
. การศึกษาสมบูรณ์แบบ : คือวงกลมท่ีคุ้มครองโลกถึงที่สุด. กรุงเทพมหานคร:

อษุ าการพมิ พ์, 2549.
. คำสอนผู้บวชพรรษาเดียว. พิมพ์คร้ังท่ี 2. กรุงเทพมหานคร: รุ่งแสงการพิมพ์,

2534.
. ตวั ก-ู ของก.ู กรุงเทพมหานคร: อมรการพิมพ์, 2548.
พิทยา ศรีโกตะเพ็ชร. “พระพุทธศาสนากับการพัฒนามนุษย์: กรณีศึกษา เฉพาะกรณี

การพัฒนาคนตาบอดในสงคมไทยปัจจุบัน”. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหา

การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์สมยั ใหม่ | 461

บัณฑิต. สาขาวิชาศาสนาเปรียบเทียบ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล,
2545.
พระอุปติสสเถระ ลังกา. วิมุตติมรรค. แปลโดย พระเทพโสภณ ประยูร ธมฺมจิตฺโต และ
คณะ. กรุงเทพมหานคร : มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย, 2548.
พระธรรมโกศาจารย์ ประยูร ธมฺมจิตโต. พุทธศาสนากับปรัชญา. กรุงเทพมหานคร:
อมรินทรพ์ รน้ิ ติ้ง กร๊ฟุ , 2533.
พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์ สมาน กลฺยาณธมฺโม. เอตทัคคะในพระพุทธศาสนา.
กรุงเทพมหานคร: สหธรรมกิ , 2548.
พ รธิดา วิเชียรปั ญ ญ า. การจัดการค วาม รู้พ้ื น ฐาน แ ละการป ระยุกต์ ใช้ .
กรุงเทพมหานคร: ธรรกมลการพิมพ์, 2547.
พระไพศาล วิสาโล. การศึกษาเพอื่ พฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์. ครุศาสตร์: สถาบันราชภัฎ
เชยี งราย, 2542.
พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน. ปฏิจจสมุปบาท สำหรับคนรุ่นใหม่. เชียงใหม่: บริษัท นันท
พันธพ์ ร้ินต้ิง จำกดั , 2550.
พสิ ิฐ เจริญสขุ . คู่มือการอบรมสมาธิ. กรงุ เทพมหานคร: การศาสนา, 2542.
พระราชวรมุนี ป.อ. ปยุตฺโต. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม .
กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยลัย, 2528.
พุทธทาส อนิ ฺทปญโฺ . คู่มือมนุษย์. กรงุ เทพมหานคร: ธรรมสภา, 2537.
มัลลี เวชชาชีวะ. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: สำนักวิจัย สถาบัน
พัฒนาบณั ฑิตบริหารศาสตร์, 2524.
วนั ชัย สุขตาม. “การพฒั นาทุนมนุษย์วิถีพุทธในยุคโลกาภิวัตน์”. วทิ ยานิพนธ์ปรญิ ญา
รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏว
ไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2555.
เสนาะ ติเยาว์. การบริหารงานบุคคล. พิมพ์คร้ังที่ 11. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2539.

การบริหารทรัพยากรมนษุ ย์สมัยใหม่ | 462

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เจรญิ สุวฑฺฒโน. สุว
ฑฒฺ โนวาท. กรงุ เทพมหานคร: ศูนยส์ ง่ เสริมพระพุทธศาสนาแหง่ ประเทศไทย
, 2546.

เสถียรพงษ์ วรรณปก. คำบรรยายพระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภาสถาบัน
บันลือธรรม, 2553.

อำนวย แสงสว่าง. การจัดการทรพั ยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ทพิ ยวิสทุ ธิ์,
2540.

การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์สมยั ใหม่ | 463

บรรณานกุ รม

กวี วงศพ์ ุฒ. แรงงานสมั พันธ์. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพพ์ ี.เอ. ลฟิ วิง่ , 2538.
กิติมา ปรีดีดิลก. ทฤษฏีการบริหาร. กรุงเทพมหานคร : แพร่พิทยาอินเตอร์เนชั่นแนล

วงั บูรพา, 2529.
กิ่งพร ทองใบ. ประมวลสาระชุดวิชาการจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์.

นนทบุรี :มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช, 2543.
เกรียงศักด์ิ เขียวยิ่ง. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ พิมพ์ครั้งที่ 2. ขอนแก่น :โรงพิมพ์

คลังนานาวิทยา, 2543
เกื้อจิตร ชีระกาญจน์ และคนอื่นๆ. กรอบความคิดสำหรับการจัดการทรัพยากร

มนุษย.์ กรุงเทพมหานคร: เพียรส์ ัน เอ็ดดูเคชัน่ อนิ โดไซน่า, 2549.
กัญญา แซ่โง้ว. การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และการใช้ทฤษฎีธรีซาวด์พัฒนาทรัพยากร

มนุษย์ของร้อยเอก ศาสตราจารย์ ดร.จิตรจำนง สุภาพ. วิทยานิพนธ์ศึกษา
ศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาการศึกษาเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัย
รามคำแหง, 2546.
คณาจารย์แห่งโรงพิมพ์เลี่ยงเซียง. ธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ ฉบับมาตรฐาน.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เลีย่ งเซียง, 2550.
จิตติมา อัครธิติพงศ์. การจัดการทรัพยากรมนุษย์. พระนครศรีอยุธยา. มหาวิทยาลัย
ราชภัฏ พระนครศรีอยธุ ยา 2556.
จุฑามาศ ทวีไพบูลย์วงศ์ และสุวรรธนา เทพจิต. การจัดการทุนมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพมหานคร: เพยี ร์สนั เอ็ดดเู คชนั่ อนิ โดไซน,่ 2550.
จำเนียร ทรงฤกษ์. ชีวประวัติพุทธสาวก ประวัติพระอัจฉริยะมหาเถระเมื่อคร้ัง
พุทธกาล เล่ม 1. สำนักปฏิบัติธรรมสวนแก้ว สาขาวัดปากน้ำ : ธรรมสภา,
2542.
จำเนยี ร จวงตระกูล. การประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน. กรงุ เทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอ
เดียนสโตร์, 2531.

การบริหารทรพั ยากรมนุษย์สมยั ใหม่ | 464

จันทร์ ชุ่มเมืองปัก. แรงจูงใจและการจูงใจสร้างปาฏิหาริย์. กรุงเทพมหานคร : ดอก
หญา้ กรปุ๊ , 2546.

เฉลิมพงศ์ มีสมนัย. เอกสารการสอนชุดวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หน่วยที่ 1-7.
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. นนทบรุ ี, 2554.

เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์ เอกสารการสอนชุดวิชาการบริหารงานความปลอดภัย
มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช, 2533.

ชมพูนุท ศรีพงษ์. เอกสารประกอบการสอนรายวิชาองค์การและการจัดการ. คณะ
วิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา, 2548.

ชุมพล นมิ พานชิ . ”การสรรหาและการคัดเลือกทรพั ยากรมนษุ ย์” ในเอกสารการสอน
ชุดวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ หน่วยที่ 3. นนทบุรี : มหาวิทยาลัย
สุโขทยั ธรรมธริ าช, 2544.

ชูศักด์ิ เที่ยงตรง. การประเมินผลการปฏิบัติงาน. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์วิจัยคณะ
รฐั ศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์, 2528.

ชูชัย เสมิทธิไกร. การสรหาการ คัดเลือก และการประเมินผลการปฏิบัติงานของ
บคุ ลากร. พมิ พ์ครง้ั

ที่ 3. กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย, 2552.
ชัยยุทธ ปัญญสวสั ดิส์ ทุ ธ์ิ. รายงานการวิจัยเสรมิ หลักสตู ร ทฤษฎีการเจรญิ เตมิ โตแนว

ใหม่พรมแดนแห่งความรู้. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
2547.
ชัชวาล ทัตศิวัช. ความรับผิดชอบด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ Corporate
Human Resource Responsibility. กรุงเทพมหานคร: คณะพัฒนา
ทรัพยากรมนษุ ย์ สถาบนั บัณฑิตพฒั นาบริหารศาสตร,์ 2552.
โชคชัย สเุ วชวัฒนกลู และกนกกานต์ แก้วนุช. ทางเลอื ก-ทางรอดจากวกิ ฤตเิ ศรษฐกิ
ของกจิ กรรมทุนมนษุ ยใ์ นอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบรหิ ารตามหลัก

การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์สมยั ใหม่ | 465

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง : กิจกรรมการบรหิ ารและการพัฒนาทนุ มนุษย์.
กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, 2555.
ฌาน ตรรกวิจารณ์. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัย
รามคำแหง, 2544.
ฐีระ ประวาลพฤษ์. การพัฒนาบุคคลและการฝึกอบรม. กรุงเทพมหานคร : สำนักงาน
สภาสถาบันราชภฏั , 2538.
ณรงค์ศักดิ์ บุญเลิศ. “การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ”ใน ประมวลชุดวิขา
การจัดการองค์การและทรัพยากรมนุษย์ หน่วยที่ 11. นนทบุรี :
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช, 2547.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนนั ทน์. การจดั การทรัพยากรมนุษย์. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท ซีเอ็ดยูเคชั่น
จำกดั (มหาชน), 2545.
ณัฐหทัย ชลายนวัฒน์. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามหลักธรรม. : กรณีศึกษา บริษัท
505 โภคภัณฑ์ จำกัด. วิทยานิพนธ์ปริญญาพัฒนาแรงงานและสวัสดิการ
มหาบณั ฑติ . บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์, 2546.
ดนัย เทียนพุฒ. บริหารคนในทศวรรษหน้า. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซ
เปอรเ์ นท็ , 2546.
. ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ. กรุงเทพมหานคร: โครงการฮิวแมนแคปปิตอล,
2553.
ดิสดารก์ เวชยานนท์. มิติใหม่ในการบริหารทุนมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: กราฟฟิกซิส
เต็มส์ กำจดั , 2551.
เดชวทิ ย์ นิลวรรณ. การบริหารทรพั ยากรมนุษย.์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราช
ภฏั เชยี งใหม่, 2548.
ตุลา มหาพสุธานนท์. หลักการจัดการ หลักการบริหาร. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ด
ยูเคช่นั , 2545.

การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์สมัยใหม่ | 466

เติมศักดิ์ ทองอินทร์ ผศ.ดร. เอกสารประกอบการสอน : การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์.
ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลยั , 2558.

ไตรรัตน์ โภคพลากรณ์. “การสรรหาและการคัดเลือก” ใน ประมวลชุดวิขาการ
บรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์ หน่วยท่ี 3. 2556.

ทวีป อภิสิทธ์ิ. เทคนิคการเป็นวิทยากรและนักฝึกอบรม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :
บริษทั วี.พร้นิ ท์ 1991 จำกดั , 2551.

ทวีศักด์ิ สุวคนธ์.ดร. บริหารงานขาย Sales Management. บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น
จำกัด, 2538.

ทองใบ สุดชารี. ภาวะผู้นำและการจูงใจ. เอกสารประกอบคำสอน. อุบลราชธานี :
สถาบนั ราชภฏั อบุ ลราชธานี, 2543.

ธงชัย สมบูรณ์. การบริหารและจัดการมนุษย์ในองค์การ. กรุงเทพเทพมหานคร :
ปราชญ์สยาม,. 2549.

ธงชัย สันติวงษ์. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 11 . กรุงเทพฯ: บริษัท
ประชุมชา่ ง จำกัด, 2546 .

ธำรงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์. ทุนมนุษย์ การกำหนดตัวชี้วัดเพื่อพัฒนา. กรุงเทพมหานคร:
สมาคมสง่ เสรมิ เทคโนโลยี ไทย-ญี่ปนุ่ , 2550

ธัญญา ผลอนันต์. Human Resource Focus. กรุงเทพมหานคร: อินโดกราฟฟิค,
2547.

นิสดารก์ เวชยานนท์. มิติใหม่ในการบริหารทุนมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: กราฟิโก ซิส
เต็มส,์ 2551.

นิคม จันทรวทิ ุร. แรงงานไทย. พมิ พค์ รง้ั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร : วฒั นาพานิช, 2526.
เนตรพ์ ัณณา ยาวริ าช. ภาวะผนู้ ำและผู้นำเชงิ กลยุทธ์ .พมิ พ์ครง้ั ที่ 5. กรงุ เทพมหานคร

: สำนักพิมพเ์ ซ็นทรลั เอก็ ซเ์ พรส, 2549.
บรรยงค์ โตจนิ ดา. การบรหิ ารงานบคุ คล. กรงุ เทพเทพมหานคร : ปราชญส์ ยาม, 2549.

การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์สมยั ใหม่ | 467

บรรยงค์ โตจินดา. การบริหารงานบุคคล การจัดการทรัพยากรมนุษย์.
กรงุ เทพมหานคร : สำนักพมิ พ์รวมสาส์น, 2543.

บุญเลิศ ไพรินทร์. พฤติกรรมการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพมหานคร : สำนักงาน
คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือน, 2538.

บญุ มี แทน่ แก้ว. จรยิ ศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์, 2539.
บุญทัน ดอกไธสง. การจดั การทนุ มนุษย์. กรุงเทพมหานคร: พมิ พ์ตะวัน, 2551.
บุญทัน ดอกไธสง และธเนศ ต่อมชะเอม. กระบวนการและวิธีการพัฒนาจิตใจเพื่อ

พัฒนาสังคมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์รัชดา 84
แมเนเจเมน้ ท์, 2539.
ปภาวดี ประจกั ษศ์ ภุ นติ ิต. “การพฒั นาทรัพยากรมนุษยใ์ นองคก์ าร” ในประมวลขุดวิ
ขาสัมมนาการจัดการทรพั ยากรมนุษย์ หน่วยที่ 8, 2554.
ปราชญา กล้าผจัญ และ พอตา บุตรสุทธิวงศ์. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์ครั้งท่ี
1. กรุงเทพฯ:
ก.พล การพิมพ์ (1996) จำกัด, 2550.
ประเวศ มหารัตนส์ กลุ . สรา้ งมาตรฐานงานบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรงุ เทพมหานคร:
พมิ พต์ ะวัน, 2550.
ประคัลภ์ ปัณฑพลังกูร. การว่าจ้างและรักษาบุคลากร. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์
เน็ท, 2550.
ปรียาพร วงศ์นฺตรโรจน์. จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริม
กรงุ เทพ, 2535.
ปัญญา ธีระเวชวรวฒุ .ิ คู่มืออบรมพัฒนาบคุ ลากรให้เป็นมอื อาชีพ. กรุงเทพฯ : บริษัท
แอล.ที.เพรส จำกดั , 2553.
พระธรรมปิฎก ป.อ. ปยุตฺโต . ทศวรรษธรรมทัศน์พระปิฎก หมวดศึกษาศาสตร์.
กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ธรรมสภา, 2543.
พะยอม วงศ์สารศรี. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร :
สถาบันราชภัฏสวนดุสติ , 2540.

การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ | 468

พะยอม วงศ์สารศรี. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร :
สถาบันราชภัฏสวนดุสติ , 2540.

พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ. ปยุตฺโต. การศึกษากับการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มูลนิธพิ ุทธธรรม จำกัด, 2544.
. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 12.
กรุงเทพมหานคร : บริษทั สหธรรมิก จำกดั , 2546.
. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 12.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2546.
. หวั ใจพระพทุ ธศาสนา. พุทธจักร. ปีท่ี 61 ฉบบั ท่ี 5 พฤษภาคม 2550

พระธรรมปิฎก ป.อ. ปยุตฺโต. การศึกษากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์.
กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ที่ โรงพมิ พ์โรงพิมพ์การศาสนา, 2539.
. พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงขยายความ. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมมิก,
2546.
. เศรษฐศาสตร์ตามแนวพุทธ. พิมพค์ รัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิโกมล
คีมทอง, 2531.
. ปฏิบัติธรรมให้ถูกทาง. พิมพ์ครั้งที่ 30 กรุงเทพมหานคร:มูลนิธิพุทธรรม,
2539.
. จะพัฒนาคนกันได้อย่างไร. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ,
2543.
. สามไตร. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั สหธรรมกิ จำกัด, 2554.
. ท ศ ว ร ร ษ ธ ร ร ม ท ั ศ น ์ พ ร ะ ป ิ ฎ ก ห ม ว ด ศ ึ ก ษ า ศ า ส ต ร์ .
กรงุ เทพมหานคร : ธรรมสภา, 2543.

พระอุปติสสเถระ ลงั กา. วิมตุ ติมรรค. แปลโดย พระเทพโสภณ ประยูร ธมมฺ จิตฺโต และ
คณะ. กรงุ เทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2548.

พระธรรมโกศาจารย์ ประยูร ธมฺมจิตโต. พุทธศาสนากับปรัชญา. กรุงเทพมหานคร:
อมรนิ ทร์พรน้ิ ตงิ้ กรฟุ๊ , 2533.

การบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์สมัยใหม่ | 469

พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์ สมาน กลฺยาณธมฺโม. เอตทัคคะในพระพุทธศาสนา.
กรงุ เทพมหานคร: สหธรรมิก, 2548.

พระไพศาล วสิ าโล. การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. ครศุ าสตร์: สถาบันราชภัฎ
เชียงราย, 2542.

พระภาสกร ภูริวฑฺฒโน. ปฏิจจสมุปบาท สำหรับคนรุ่นใหม่. เชียงใหม่: บริษัท นันท
พนั ธพ์ รนิ้ ติ้ง จำกัด, 2550.

พระราชวรมุนี ป.อ. ปยุตฺโต. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม.
กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยลัย, 2528.

พุทธทาส อินทฺ ปญฺโ . คู่มือมนุษย์. กรงุ เทพมหานคร: ธรรมสภา, 2537.
พุทธทาสภิกขุ เงื่อม อินฺทปญฺโ . การศึกษาสมบูรณ์แบบ:คือวงกลมที่คุ้มครองโลกถงึ

ทีส่ ุด. กรุงเทพมหานคร: อษุ าการพมิ พ์. ธันวาคม 2549.
. เปา้ หมายของการศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพมิ พ์พาน, 2537.
. การศึกษาสมบูรณ์แบบ : คือวงกลมที่คุ้มครองโลกถึงที่สุด.
กรงุ เทพมหานคร: อุษาการพมิ พ,์ 2549.
. คำสอนผู้บวชพรรษาเดียว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: รุ่งแสงการ
พมิ พ์, 2534.
. ตัวก-ู ของก.ู กรงุ เทพมหานคร: อมรการพิมพ,์ 2548.
พรชัย ลิขิตจธรรมโรจน์. ผศ.ดร.. พฤติกรรมองค์การ Organizational Behavior
สำนักพพิ มโ์ อเดียนสโตร์, 2545.
พจนานุกรม. ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรงุ เทพมหานคร : สำนักพิมพ์อกั ษรเจรญิ ทัศน์ จำกดั , 2525.
พรธิดา วิเชียรปัญญา. การจัดการความรู้พื้นฐานและการประยุกต์ใช้ .
กรุงเทพมหานคร: ธรรกมลการพิมพ์, 2547.
พยอม วงศ์สารศรี. การบริหารทรัพยากรบุคคล. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: พรานนก
การพมิ พ์, 2530.

การบริหารทรพั ยากรมนษุ ย์สมยั ใหม่ | 470

. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คณะวิทยาการ
จัดการ สถาบนั

ราชภัฏสวนดุสิต, 2538.
พรชัย ลิขิตจธรรมโรจน์. พฤติกรรมองค์การ Organizational Behavior สำนักพิพม์

โอเดยี นสโตร,์ 2545.
พรธิดา วิเชียรปัญญา. การจัดการความรู้พื้นฐานและการประยุกต์ใช้ .

กรุงเทพมหานคร: ธรรกมลการพิมพ์, 2547.
พิทยา ศรีโกตะเพ็ชร. “พระพุทธศาสนากับการพัฒนามนุษย์: กรณีศึกษา เฉพาะกรณี

การพัฒนาคนตาบอดในสงคมไทยปัจจุบัน”. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหา
บัณฑิต. สาขาวิชาศาสนาเปรยี บเทียบ. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยั มหิดล,
2545.
พมิ ลจรรย์ นามวัฒน.์ การบรหิ ารงานบคุ ลากร. กรงุ เทพมหานคร : บรรณกิ,. 2534.
พิพัฒน์ ก้องกิจกุล. ทุนมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอ็กซ์สเปอร์
เน็ท จำกดั , 2549.
พิชิต เทพวรรณ์. การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์: แนวคิดและกลยุทธ์เพ่ือ
ความ ได้เปรียบ ทางการแข่งขัน. กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด
มหาชน. 2554.
พิสิฐ เจรญิ สุข. คู่มอื การอบรมสมาธิ. กรงุ เทพมหานคร: การศาสนา, 2542.
ฝ่ายวิชาการเอ็กชเปอร์เน็ท. เกมและกิจกรรมพัฒนาทีมงาน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ
ธรรมกลมการพิมพ์, 2550.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ. เอกสาร
ประกอบการสอน พมิ พ์ครง้ั ที่ 9, 2541.
มัลลี เวชชาชีวะ. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ : สำนักวิจัย สถาบันพัฒนา
บัณฑิตบริหารศาสตร์, 2524 .
ยุดา รกั ไทย และวีรวธุ มาฆะศิรานนท.์ การบริหารผลการปฏิบตั ิงาน. กรุงเทพมหานคร
: เอก็ ซเปอรเ์ นท็ , 2545.

การบรหิ ารทรพั ยากรมนษุ ย์สมยั ใหม่ | 471

เริงลักษณ์ โรจนพันธ์. เทคนิคการฝึกอบรม. ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะ
ศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ, 2529.

เริงศักดิ์ ปานเจรญิ . หลกั การและเทคนคิ การประเมินผลงาน. กรุงเทพมหานคร : ซเี อ็ด
ยูเคช่ัน, 2538.

ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542. กรงุ เทพมหานคร
: บริษัทนานมีบคุ๊ พลบั ลเิ คชัน่ ส์ จำกัด, 2546.

ลีลา สิ้นานุเคราะห์. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. ฉะเชิงเทรา: ภาควิชาบริหารธุรกิจ
และสหกรณ์ คณะวทิ ยาการจดั การ สถาบันราชภัฏฉะเชิงเทรา, 2538.

วิเชียร วิทยอุดม. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพ : บริษัท ธนธัช
การพิมพ์ จำกัด, 2550.

วิชัย โถสุวรรณจินดา. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์วี
เจพรนิ้ ต้งิ , 2546.

วิศนรุ กั ษ์ มะลติ ้น. เอกสารในวิชาบริหารธุรกจิ บริหารทรพั ยากรมนุษย์, 2555.
วิลาวรรณ รพีพิศาล. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร :

วจิ ติ รหัตถกร, 2550.
วนั ชัย สุขตาม. “การพัฒนาทนุ มนุษย์วิถีพุทธในยุคโลกาภิวัตน์”. วิทยานิพนธ์ปริญญา

รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏว
ไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ,์ 2555.
ศิรโิ สภาคย์ บูรพาเดชะ. จติ วิทยาธุรกิจ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย,
2535.
สุรพงษ์ มาลี. “The Human Capital Journey : เส้นทางสู่บทความใหม่ของการ
บริหารทุนมนุษย์”. วารสารวิชาการ, ปีที่ 51 ฉบับที่ 2. มีนาค-เมษายน
2549.
สุรพงษ์ มาลี. “ส่องกระจกชะโงกดูเงา : การเทียบเคียงมาตรฐานการบริหารทรัพยากร
บคุ คล”. วารสารราชการ, ปีท่ี 51 ฉบบั ที่ 1 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2549.

การบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์สมยั ใหม่ | 472

สุภาพร พิศาลบุตร และยงยุทธ เกษสาคร. การพัฒนาบุคลากรและการฝึกอบรม.
กรงุ เทพมหานคร: วี เจ พร้นิ ติง้ , 2546.

สุพจน์ ทรายแก้ว. การจดั การรัฐแนวใหม่. พระนครศรีอยุธยา: เทียนวฒั นา, 2545.
สุภาพร พิศาลบุตร. การวิเคราะห์งาน. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏสวน

ดสุ ิต, 2546.
สรุ พล สุยะพรหม. การเมอื งกับการปกครองของไทย. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์มหา

จฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั , 2547.
สมชาย หิรัญกิตติ. การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ : บริษัท ธีระฟิล์ม และไซ

เท็กซ์ จำกดั , 2542.
สมยศ นาวีการ. การบริหาร. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์บรรณกิจ,

2544.
สมชาย หิรัญกิตติ. การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ฉบับมาตรฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 1.

กรงุ เทพฯ บรษิ ทั ธรี ะฟลม์ และไซเทก็ ซ์ จำกัด. 2542.
สมคิด บางโม. องค์การและการจัดการ.พมิ พค์ ร้ังที่ 6 กรุงเทพฯ :วิทยพัฒน์, 2555.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เจริญ สุวฑฺฒโน.

สุวฑฺฒโนวาท. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ส่งเสริมพระพุทธศาสนาแห่งประเทศ
ไทย, 2546.
สีมา สีมานนท์. “สิ่งที่ท้าทายกับสิ่งที่คาดหวัง”. ใน หลักแนวคิด นโยบายและทิศ
ทางการบรหิ ารคน. กรุงเทพมหานคร: บริษทั แอรบ์ อร์นพรินด์ จำกดั , 2549.
เสถียรพงษ์ วรรณปก. คำบรรยายพระไตรปิฎก. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภาสถาบนั
บนั ลือธรรม, 2553.
เสถียรภาพ พันธุ์ไพโรจน์. ปรัชญาแนวคิดการจัดการทรัพยากรมนุษย์. นนทบุรี: โรง
พิมพ์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช, 2543.
สัมฤทธิ์ ยศสมศักด์ิ. เอกสารคำสอนวิชา หลักรัฐประศาสนศาสตร์. มหาวิทยาลัย
บูรพา. ภาควชิ ารัฐศาสตร.์ 2547.

การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์สมยั ใหม่ | 473

เสนาะ ติเยาว์. การบริหารงานบุคคล. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2539 .

สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. ทุนมนุษย์กับการพัฒนาสมรรถนะการ
บริหารทรพั ยากรบุคคล. กรงุ เทพมหานคร: พี. เอ. ลฟี วงิ่ , 2547.

สำนกั งานปลดั กระทรวงมหาดไทย สำนักคณะกรรมการมาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคล
ส่วนท้องถ่ิน, 2549.

โสภณ ภเู กา้ ล้วน. การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์สำหรบั ผู้จัดการในสายงาน. พิมพ์ครั้งท่ี
1. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั ไซวคิ ทูบเทค แอนด์ ปริ้นติ้ง จำกัด, 2552.

อำนวย แสงสวา่ ง. การจดั การทรพั ยากรมนุษย์. กรงุ เทพ : หจก.ทิพยวิสุทธิ์, 2544.
อำนวย แสงสวา่ ง. การจดั การทรพั ยากรมนษุ ย.์ กรงุ เทพ : หจก.ทิพยวิสทุ ธ์ิ, 2544.
อทุ ยั หิรัญโต. หลกั การบริหารงานบคุ คล. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพโ์ อเดยี มสโตร์,

2531.
อำนวย แสงสว่าง. การจัดการทรัพยากรมนุษย์. . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ทิพยวิสุทธิ์,

2540.
อำนาจ เจรญิ ศิลป์. การจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม. กรงุ เทพมหานคร

: โอ. เอส. พริ้นต้ิง เฮา้ ส์, 2543 .
อำนวย แสงสวา่ ง. การจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พท์ พิ ยวิสทุ ธ์ิ

, 2540.
อุษณีย์ จิตตะปาโล และนุตประวีณ์ เลิศกาญจนวติ. มปป. การบริหารงานบุคคล.

กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ ง่ เสรมิ วิชาการ.
อนวิ ชั แก้วจำนง. ดร.. การจัดการทรพั ยากรมนษุ ย์. สงขลา: นำศิลปโ์ ฆษณา, 2550.
อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. กลยุทธ์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: เอช อาร์

เซน็ เตอร,์ 2551.
อนวิ ชั แก้วจำนง. การจัดการทรพั ยากรมนุษย์. สงขลา: นำศิลปโ์ ฆษณา, 2550.

การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์สมัยใหม่ | 474

Alfred Tack ; How to Succceed as aSales Manager Cedar Books, 1983
Abranam H. Maslow. “A Theory of Human Motivation” Psychological

Review. 50, 1943.
Bank.C.G.. & Murphy. K.R. Toward narrawing the research practice gun in

performance dimensions of personal background data.
Journal of Applied Psychology. 1985.
Beer et al. Managing Human Assets. New York: The Free Press, 1984.
Beach. D. and S. Personnel. The Management of People at work. New
York : The Macmillan Publishing Inc, 1970.
Bovee. Courtland L.and others. Management. New York : McGraw - Hill,
1993.
Bank.C.G.. & Murphy. K.R. Toward narrawing the research practice gun in
performance dimensions of personal background data.
Journal of Applied Psychology. 65.662-6171, 1985.
Burud. S.. & Timolo. M.. Inveraging the New Human Capital. CA :
Consulting Psychologists Press, 2004.
Chartered Institute of Personnel and Development. Human Capital Panel
Report. New York : John Wiley & Son, 2007.
Cascio. W. F.. Applied Psychology in Personnel Management. Virginia :
Prentice - Hall, 1978.
Chruden. Herbert J and Sherman Arthur W. Personal Management
Cincinati: South–Western Publishing Company, 1988.
Davenport. T. O.. Human Capital: What It Is and Why People Invest It.
San Francisco : Thomas Davinport and Jossey-Bass Inc. , 199.
Dave Ulrich. “ A new mandate for human resources” . Harvard Business
Review. January-Februay, 1998.

การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์สมัยใหม่ | 475

Dipboye. R.L.. Smith. C.S.. & Howell. W.C. Understanding an industrial
and organizational psychology: An integrated approach. Fort
Worth. TX: Harcourt Brace, 1994.

Dwivedi R.S.. Management of Human Resources. New Delhi: Oxford & IBH
Publishing. 1985.

De Cenzo, D, and Robbins. Human Resource Management, 4 Edition, New
York: John Wiley & Sons. 1993.

Douglas McGregor. The Human Side of Enterprise. New York : McGraw –
Hill, 1960.

Desimone. Randy L. Werner. Jon M. And Harris. David M. Human Resource
Development. 3" Ed. Ohio Thomson And South-Western, 2002.

Douglas McGregor. The Human Side of Enterprise. New York : McGraw –
Hill, 1960.

Desimone. Randy L. Werner. Jon M. And Harris. David M. 2002. Human
Resource Development. 3" Ed. Ohio Thomson And South-
Western.

David M. Walker. “Managing Human Capita in the 21st century”. United
States General Accounting office Report, March 2000.

Ghorpade Jai Job Analysis: A Handbook for the Human Resource
Director. Prentice Hall, Englewood Cliff. New Jersey. 1988.

Gregory G. and Joseph C. Picken. Beyond Productivity : How Leading
Companies Achieve Superior Performance by Leveraging their
human Capital. New York: American Management Association,
1999.

G. Roos and J. Roos “ Measuring your company’s intellectual
performance”. Long Range Planning, Vol. 3 1977.

การบรหิ ารทรัพยากรมนษุ ย์สมัยใหม่ | 476

Gomez-Mejia. L. R.. Balkin. D. B.. & Cardy. R. L.. Managing Human
Resources. New Jersey : Pearson Prenticd Hall, 2004.

HRFocus. April 1993. American Management Association International.
Reprinted Bypermission of American Management Association
International. New York. NY. All rights reserved.

Ivancevich. J. M.. Human Resource Management. New York : McGraw –
Hill, 2007.

Jucius. M. J.. Personnel Management. Illinois : Richard D. Erwin, 1956.
Kavanagh. M.J.. Borman. W.C. Hedge. J.W & Gould. R.B. Performance

measurement quality. In B.M. Bass & P.J.D. Drenth Eds.. Advances
in organizational psychology : A international review. Beverly Hills.
CA: Suge, 1987.
Lyman W. Porter and Edwarad E. Lawler III. Managerial Attitudes and
Perfomance. Homewood. III. Dorsey Press. 1968.
Leon Richardson ; Entrepreneurs/The key to success; Asia Magazine
December 1, 1985.
Martin G. Evens. “ The Effect of Supervisory Behavior on the Path- Goal
Relationship”. Organization Behavior and Human Performance.
May 1970. p.277-298. And Rovert J.House and Terence R. Mitchell.
“ Path- Goal Theory of Leadership” . Journal of Contemporary
Business. Autumn, 1974.
Murphy.K.R. and J.N. Cleveland. Performance Appraisal : An
Organizational. Perspective. Boston : Allyn and Bacon, 1991.
Millet. J. D.. Management in the public service: the quest for effective
performance. New York: Mc Graw–Hill. 1954.

การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ | 477

Mondy. R. W.. & Noe. M.R. Human Resource Manager 9 ed. Upper Sadler
River New Jersey: Prenitice-Hall. 2004.

Michael Armstrong. Handbook of Human Resource Management
Practice 10thed. London and Philadelphia. USA, 2006.

Megginson.Leon. A Behavioral Approach to Administration. Homewood
: Richard D Lrwin, 1969.

Nadler.Leonard. Designing training program : The critical events model.
Reading. Mass. Addison : Wesley, 1982.

Nadler. L. & Nadler. Z. Developing Human Resource. 3rded. London:
Jossey–Bass, 1989.

Nadler. L. & Nadler. Z. Developing Human Resource. 3rded. London:
Jossey–Bass, 1989.

Peters. J.T. and H.R. Waterman. In Search of excellence: Lessons from
America’s. New York: John Willey. 1980.

P.N. Rastogi. “ Sustaining enterprise competitiveness- is human capital the
answer? ” Human Systema Management Vol. 3, 2000 :

Patrick M. Wright. Benjamin B. Dunford and Scott A. Scoell. “ Human
Resources and the Resource-Based view of the Firm”. Journal of
Management. Vol, 6 2001

Ronald .Sim – auther. Organazation Succes through Effective Human
Resource Management. West : CT.Publication, 2002.

Russell C. Swansburg. In Service Education. New York: G.D. Putmen Sons.
1968, 1998.

Schultz. T.W.. “Investment in human capital”. The Role of Education and
of Research. Vol. 51 New York: The Free Press, 1971

การบริหารทรพั ยากรมนุษย์สมัยใหม่ | 478

Stephen. P. R.. Organizational Behavior : Concepts Controversies and
Applications. Englewook Cliffs. N.J. : Prentice-Hall, 1993.

Schmith. N.W.. & Klimoski. R.J. Research methods in Human resources
management. Cincinnati. OH: South - Western Publishing. 1991.

Steers. Richard. Introduction to Organizational behavior. Glenview :
Scott . Fores man and Company, 1981.

Tompkins, J., Human Resources Management in Government, New York:
Collins. 1995.

Vonbergen. C.W.. Gary. Barlow Soper. Rosenthal. T.. Wilkinson. Ramar
V.1997. "Selected Alternative Training Techniques In HRD" Human
Resource Development Quarterly. 84 Winter.

Walf. W. B. . The Management of Personnel. California : Wadsworth
Publishing Co. , 1962.

William J . Reddin. Managerial Effectiveness. Newyork : Mcgraw – Hill,
1970.

การบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์สมัยใหม่ | 479

ผศ.ดร.ธติ ิวุฒิ หมั่นมี

ท่ีอยปู่ ัจจบุ ัน : 99/374 ศุภาลัยพาร์ควิลล์ หมู่ 7 ตำบลลำโพ อำเภอบางบัวทอง
จงั หวดั นนทบรุ ี

หน่วยงานท่ีติดต่อได้สะดวก : ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหา
จฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั
ประวตั กิ ารศึกษา : พธ.บ.(สงั คมศึกษา), พธ.ม.(ปรชั ญา), พธ.ด.(รฐั ประศาสนศาสตร์)
ปจั จุบันดำรงตำแหน่ง : รองหวั หนา้ ภาควิชารัฐศาสตร์