เฉลย อ่านออก เขียนได้ ป.3 เล่ม 2

📚วันนี้มีเฉลย หนังสืออ่านออก เขียนได้ มาฝากค่ะ #หนังสือเรียนอ่านออก หนังสือชุดนี้ มีส่วนช่วยให้นักเรียนอ่านออก เขียนได้...

Posted by ร้านทรัพย์ไพลิน จำหน่ายหนังสือเรียน เตรียมสอบ และนิทาน ทุกสำนักพิมพ์ on Saturday, March 7, 2020

หนังสือเรียนภาษาอังกฤษ ระดับชั้นป.3 มีทั้งหมด 8 บท ครอบคลุมเนื้อหาตามหลักสูตรแกนกลาง พ.ศ.2551 สอนคำศัพท์ในหมวดต่างๆ เช่น classroom, appearance, food, animals, jobs, daily routines, sports เนื้่อหามีบริบทและสถานการณ์ที่ใกล้กับชีวิตเด็ก และน่าตื่นเต้นสำหรับเด็ก ทุกบทมีกิจกรรม Let's Speak English ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการสนทนาโดยใช้สื่อที่สนุกสนาน และมีนิทานแสนสนุกใน Story Time ในหนังสือนำเสนอ sentence patterns และ grammar โดยใช้ graphic organizers แถม DVD คาราโอเกะท้ายเล่ม ให้ฝึกอ่านตามเนื้อหาในหนังสือ

บริษัทธารปัญญา จำ�กดั

สงวนลิขสทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒
ห้ามมิให้น�ำ แผนการจัดการเรียนรนู้ ้ี
ไปใช้เพอื่ การจำ�หนา่ ยหรือการคา้ ใดๆ
ในทุกรปู แบบ ไม่วา่ จะเปน็ หนงั สอื
หรือในระบบคอมพวิ เตอรท์ กุ ชนิด

แผนการจดั การเรยี นรู้

อา่ นออก เขยี นได้

ประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

เลม่ ๒

กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ค�ำ แนะน�ำ การใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรอู้ า่ นออก เขยี นได้ 2

หนังสืออ่านออก เขียนได้ ชุดน้ี ออกแบบข้ึนมา เพ่ือให้นักเรียนเรียนรู้อย่างเป็นขั้นเป็นตอน ไม่มี
การขา้ มข้นั ตอน แต่ละเลม่ จะก้าวไปทลี ะข้นั (step) คุณครูทุกท่านท่ใี ชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้นี้ โปรด
ท�ำ ความเข้าใจหลักการของแผนการจัดการเรยี นรชู้ ุดน้ี ดังน้ี

๑. กระบวนการสอน ๕ ขน้ั แบบ Brain-based Learning (BBL)

กระบวนการสอนอา่ นออก เขยี นได้ ในแผนการจัดการเรยี นร้นู ี้ ยดึ การสอนท่ีแบง่ ออกเปน็ ๕
ขั้น ดังรายละเอียดขา้ งล่างนี้ เพอื่ ประกันผลส�ำ เร็จ ว่านกั เรียนจะอ่านออก เขียนได้แม่นยำ� คือ

๑.๑ อนุ่ เครอื่ ง (Warm-up)
การอนุ่ เครอื่ ง (warm-up) เปน็ กจิ กรรมทที่ �ำ เพอื่ ใหส้ มองตน่ื ตวั เตรยี มพรอ้ มทจี่ ะเรยี นรวู้ ชิ า
ตอ่ ไป หรือระหวา่ งช่ัวโมง ถ้าเนื้อหาทจี่ ะเรยี นรู้น้นั ค่อนขา้ งยาก คุณครูสงั เกตวา่ นักเรียน
เรมิ่ หมดความสนใจหรอื อ่อนล้า ควรใหท้ ำ� Warm-up เพอ่ื กระตนุ้ สมอง การ Warm-up
น้นั ทำ�ได้ ๓ วธิ ี คือ ๑) Brain Exercise ๒) การเคลื่อนไหวเปน็ จงั หวะ (Rhythm) อาจมี
เสียงเพลงและค�ำ กลอนประกอบ และ ๓) ยืดเส้นยืดสาย (Stretching)

๑.๒ ข้นั นำ�เสนอความรู้ (Present)
นักเรียนทุกคนมีความต่างกัน มีประสบการณ์ มีพ้ืนฐานเฉพาะตัว ดังนั้น การนำ�เสนอ
ความรู้ (การสอน) จึงควรเปิดโอกาสให้เด็กทุกคนได้เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย
น�ำ เสนอความรู้ใหม่ ผ่านสอ่ื การเรียนรู้ทน่ี ่าสนใจ เช่น สื่อของจริง บตั รภาพ บัตรคำ� บัตร
ตัวเลข ชาร์ตบทกลอน บทเพลง กระดานเคลอ่ื นท่ี เปน็ ต้น

๑.๓ ขนั้ ลงมอื เรียนร้-ู ฝึกทำ�-ฝกึ ฝน (Learn-Practice)
เ ปิดโอกาสให้นักเรียนฝึกทำ� โดยลงมือทดลองใช้ความรู้ ด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น ฝึกทำ�
โดยใช้ส่อื จากมมุ สื่อ BBL พานักเรียนไปดูของจรงิ สำ�รวจและบนั ทึกจากสงิ่ ที่พบเหน็ ท�ำ
กิจกรรมจากใบงาน เชน่ กิจกรรมตัดปะ เล่นเกมบงิ โก ใช้อุปกรณเ์ คาะลงบนข้อความหรอื
ค�ำ ศพั ท์ ใหเ้ ดก็ ได้เคล่อื นไหว เช่น ลุกขึน้ จากโต๊ะเพ่อื ไปทำ�กิจกรรม และควรมใี บงานท่ใี ห้
นักเรยี นได้ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ และคิดสร้างสรรคด์ ว้ ยตวั เอง

๑.๔ ข ้นั สรุปความรู้ (Summary)
แม้ว่าการเรียนรู้จะดำ�เนินมาตั้งแต่ข้ันเร่ิมเรียนรู้ความรู้ใหม่ (present) ขั้นที่นักเรียนได้
ทดลองน�ำ ความรใู้ หมน่ นั้ มาลงมอื ปฏบิ ตั ิ ฝกึ ลองท�ำ ดว้ ยตวั เอง (learn-practice) ลงมอื ท�ำ
แบบฝกึ หัดแลว้ กต็ าม แตใ่ นทีส่ ดุ การน�ำ ประสบการณ์ทงั้ หมดมาสรุปรวบยอด เป็นความ
รทู้ ชี่ ัดเจนอีกครั้งหน่งึ กม็ ีความจ�ำ เปน็ อยา่ งยิง่ โดยเฉพาะเรามักสังเกตได้ว่า นักเรยี นอาจ
ทำ�การฝกึ ผดิ พลาด ทำ�แบบฝกึ หดั ไมถ่ กู สรา้ งความรจู้ าก concept ทผี่ ดิ เป็นตน้ ความ
ผิดพลาดเหล่าน้ี แม้จะเกิดขึ้นเพียง ๑๐-๓๐% แต่ก็แสดงว่า มีส่ิงผิดพลาดเกิดขึ้นแล้ว
การเขยี นกากบาทหรือ comment นกั เรยี นวา่ ยงั มสี งิ่ ผิดพลาด ก็ไมไ่ ด้ชว่ ยอะไรมากนกั
ทางเดียวที่จะแก้ไขไดก้ ็คือ การใหฝ้ กึ ซํา้ ในส่วนผิดน้ัน และตอ้ งทำ�การสรปุ ความร้รู ว่ มกับ
นักเรียน

บริษัทธารปญั ญา จำ�กดั สงวนลิขสทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒

๑.๕ ป ระยกุ ต์ใช้ความรู้ (Apply)
ถ้าเป็นไปได้และมีเวลา กระบวนการเรียนรู้ควรทำ�ไปถึงขั้นให้นักเรียนประยุกต์ใช้ความรู้
ในสถานการณ์ใหม่ๆ ในข้นั น้ี โดยมากนักเรยี นจะเริม่ นำ�ความรูไ้ ปสร้าง (make) หรือผลติ
(produce) ช้ินงานใหม่ๆ เช่น แตง่ นิทาน ท�ำ หนงั สอื เล่มเลก็ แสดงละคร โตว้ าที จัดบอร์ด
ผลงาน นทิ รรศการ เปน็ ตน้ แตง่ านขนั้ นี้ เปน็ ไปไดย้ ากทจี่ ะท�ำ ทกุ ชวั่ โมง ทกุ เนอื้ หาทเ่ี รยี น
เพราะเวลาเรียนไม่พอ อีกท้ัง เนื้อหาที่เรียนมีมากเกินกว่าท่ีจะเน้นให้นักเรียนลงมือทำ�
กจิ กรรมต่างๆ ไดห้ มดสิน้ ด้วยเหตนุ ้ี ขน้ั ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้ จงึ อาจเลอื กทำ�เฉพาะหวั ข้อที่
ส�ำ คญั หรอื หัวขอ้ ที่พอจะน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ช้ได้สำ�หรบั เด็กแตล่ ะวยั ในหัวข้อง่ายๆ เชน่ การ
ประสมพยญั ชนะกบั สระ อาจจะยงั ไมม่ คี วามจ�ำ เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ เปน็ ตน้ แต่
ทงั้ นี้ กข็ น้ึ อยกู่ ับความรู้ ความสามารถ และความชำ�นาญของผูส้ อนเอง

๒. วธิ ีการปรับแผนการจดั การเรยี นรใู้ นช่ัวโมงการสอนจรงิ

แมว้ า่ ในแผนการจดั การเรยี นรชู้ ดุ น้ี ในทกุ บทจะเสนอแนะการสอนครบ ทกุ ขนั้ ตอน แตใ่ นชว่ั โมง
การสอนจริง คณุ ครอู าจปรับแผนบางขนั้ การสอนใหก้ ระชับ รวดเรว็ ลดั ข้ันตอนได้ตามความเหมาะสม
ไมจ่ �ำ เป็นต้องเดนิ ๕ ข้นั อยา่ งเคร่งครดั ส�ำ หรับอ่านออก เขียนได้ เล่ม ๑ นกั เรยี นยังไมร่ ู้จักพยญั ชนะ
และสระ คุณครูอาจตอ้ งสอนละเอียด ใช้เวลายาวนาน และอดทน แตเ่ มื่อนักเรียนเรม่ิ แม่นยำ�แลว้ ก้าว
สู่เล่มท่ี ๒ และ ๓ นักเรียนอาจจะอ่านได้มากข้ึน สะกดได้ดีข้ึน ทำ�ให้เรียนคำ�ที่มีวรรณยุกต์และคำ�ท่ี
มีตัวสะกดได้รวดเร็ว เมื่อนักเรียนเรียนเร็วขึ้นมากแล้ว บางขั้นคุณครูก็ไม่ควรเสียเวลามากเกินไป เช่น
จ�ำ นวนใบงานในขั้นลงมือเรยี นรู้ กับข้นั สรุปความรู้ อาจลดจ�ำ นวนลง หรอื บูรณาการสองขน้ั น้ี รวบเปน็
ขน้ั เดยี วกนั กไ็ ด้ สว่ นขน้ั ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรนู้ น้ั เราเพมิ่ เขา้ มาเพอื่ ใหแ้ ผนการสอนสมบรู ณ์ เสนอแนะครบ
ถว้ น แต่คุณครูอาจไมม่ เี วลาท�ำ ในช่วั โมงการสอนจริง เพราะจ�ำ นวนชัว่ โมง ๒๐๐ ชว่ั โมงตอ่ ปีท่ีก�ำ หนดไว้
นนั้ นา่ จะไม่พอส�ำ หรบั กระบวนการสอนใหค้ รบทุกข้ัน

๓. ทา่ นสามารถสรา้ งแผนการจดั การเรยี นร้ทู ดี่ กี ว่า

คณุ ครทู กุ คน โรงเรยี นทกุ โรงเรยี นลว้ นมคี วามแตกตา่ งกนั ไมม่ แี ผนการจดั การเรยี นรใู้ ดใชไ้ ดก้ บั
ทกุ หอ้ งเรยี น ๑๐๐% คณุ ครทู มี่ คี วามรคู้ วามสามารถ มปี ระสบการณส์ งู เอาใจใสน่ กั เรยี นมาก จะทราบดี
วา่ แผนการจดั การเรยี นรแู้ ตล่ ะแผนจะตอ้ งเพมิ่ หรอื ลด แมก้ ระทง่ั ตอ้ งเปลย่ี นกระบวนการใดบา้ ง เพอื่ ให้
เหมาะสมกับนกั เรยี นในหอ้ งเรยี นของตน ดังนัน้ คุณครูสามารถน�ำ แผนการจัดการเรียนรชู้ ุดน้ี ไปพัฒนา
ตอ่ ยอด สร้างเป็นแผนการจัดการเรยี นรใู้ หมๆ่ เพ่ือใหเ้ ปน็ ประโยชน์สงู สดุ ตอ่ การเรียนรขู้ องนักเรยี น

๔. ในกรณที ตี่ อ้ งการปรบั ใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรนู้ กี้ บั หนงั สอื เรยี นชดุ อนื่ ๆ ทไ่ี มใ่ ช่
ชุดอ่านออก เขียนได้ ชดุ น้ี

ในกรณีท่ีคุณครูใช้หนังสือเรียนชุดอื่นๆ ท่ีไม่ใช่ชุดอ่านออก เขียนได้ ของเรา ท่านสามารถนำ�
แผนการจดั การเรยี นรชู้ ดุ นไี้ ปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ แมจ้ ะไมค่ รบขนั้ ตอน ท�ำ ไมไ่ ดท้ ง้ั หมด และเนอื้ หาของหนงั สอื
ไมต่ รงกนั คณุ ครกู ส็ ามารถน�ำ เอาเทคนคิ การสอนในบางขนั้ ตอน เขา้ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวั่ โมงการสอนของ
ทา่ น โดยเลอื กขนั้ ตอนทจี่ ะชว่ ยใหน้ กั เรยี นมคี วามสขุ ในการเรยี นรู้ สนใจการเรยี นมากขน้ึ เรยี นไดเ้ รว็ ขนึ้
มีสอื่ และใบงานชว่ ยในการสอนตามความเหมาะสม

บรษิ ทั ธารปญั ญา จ�ำ กดั สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 3

แผนการจดั การเรียนรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้ อ่านออก เขยี นได้ เลม่ ๒
กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓

หนว่ ยที่ ชื่อหน่วย จำ�นวนช่วั โมง

๙ เทศกาลอาหาร ๔
๑๐ เรารกั ประชาธิปไตย ๔

๑๑ กีฬาโอลิมปกิ ๔
๑๒ ไปเทยี่ วตราด ๔

๑๓ สง่ ขา่ ว เลา่ เร่อื ง ๔
๑๔ เลน่ เกม เล่นเกิน ๔
๓๒
๑๕ อนิ ทนนท์ ผจญภยั
๑๖ ขา่ วรา้ ยของพบ่ี อย

รวม

หมายเหตุ
จ�ำ นวนบทเรียน กจิ กรรมการเรียนรู้ หรือเวลาในการสอน สามารถปรับเปลี่ยนและ

ยดื หยุ่นได้ตามความเหมาะสม ข้ึนอย่กู ับดลุ ยพินิจของครูผู้สอน

บรษิ ทั ธารปัญญา จำ�กัด สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 4

แผนการจัดการเรียนรู้
หนว่ ยการเรียนรู้ อา่ นออก เขียนได้ เลม่ ๒
กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓

บทท่ี ๙ เทศกาลอาหาร (๑) จ�ำ นวน ๒ ชว่ั โมง

มาตรฐานการเรยี นรู้

๑. มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื น�ำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการด�ำ เนนิ
ชวี ติ และมีนิสัยรกั การอา่ น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใ ชก้ ระบวนการเขยี นเขียนสื่อสาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเร่อื งราวในรปู แบบ
ตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นออกเสยี งค�ำ ขอ้ ความ เรอื่ งสนั้ ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๕ สรุปความรู้และขอ้ คดิ จากเรื่องทีอ่ ่านเพอื่ นำ�ไปใชใ้ นชวี ิตประจ�ำ วนั
มาตรฐาน ท ๒.๑ ป.๓/๕ เขยี นเร่ืองตามจนิ ตนาการ

สาระส�ำ คัญ

การอ่าน ท�ำ ความเข้าใจเร่ืองราว แล้วสรุปความร้หู ลงั การอา่ น จะสามารถพัฒนาทักษะด้านการอ่านของผเู้ รยี น
นอกจากน้ยี ังเปน็ แนวทางทน่ี �ำ ไปสกู่ ารพัฒนาทกั ษะดา้ นการเขยี น

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

๑. สามารถอ่านและสรปุ เรอ่ื งราวจากบทเรียนได้
๒. สามารถเขยี นอธิบาย บรรยาย และบอกเหตุผลได้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

๑. การอ่านจับใจความจากสอื่ ตา่ งๆ เช่น นทิ าน เรอ่ื งเลา่ สน้ั ๆ บทเรยี นในกลุ่มสาระการเรยี นรู้อ่ืน
๒. ก ารอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของค�ำ ค�ำ คลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ทปี่ ระกอบ

ดว้ ยคำ�พืน้ ฐานเพมิ่ จาก ป.๒ ไม่น้อยกวา่ ๑,๒๐๐ ค�ำ
๓. การเขยี นบรรยายเกยี่ วกบั ลักษณะของ คน สตั ว์ สิ่งของ สถานที่

กระบวนการจดั การเรียนรู้ ยกมือไหวก้ ันและกัน

๑. ข้นั นำ�เขา้ สู่บทเรียน
๑. ค ณุ ครใู หน้ กั เรยี นเคลอื่ นไหวประกอบเพลง “สวสั ด”ี โดยรอ้ งเพลงวา่ “สวสั ดี
สวัสดี วันน้ีเรามาพบกัน เธอและฉนั พบกัน สวัสดี” ส�ำ หรับการเคลอ่ื นไหว
ประกอบเพลง ใหเ้ คลือ่ นไหวท่าทางตามเนอ้ื เพลง เช่น ท่อน “สวัสดีๆ วนั
น้เี รามาพบกัน” ให้ทำ�ท่ายกมอื ไหว้ ท่อน “เธอและฉัน” ให้ช้เี พือ่ นและตัว
เอง ทอ่ น “พบกนั สวสั ด”ี ให้ยกมอื ไหว้อีกคร้งั
๒. คณุ ครตู ดิ ชารต์ บทเพลง “สวสั ด”ี บนกระดานเคลอื่ นที่ ชอ้ี า่ นใหน้ กั เรยี นฟงั
แล้วให้นักเรยี นอา่ นตามจนคล่อง

บรษิ ัทธารปญั ญา จ�ำ กัด สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 5

๒. ข้นั นำ�เสนอความรู้ 6
๑. ค ณุ ครสู อนนักเรียนอา่ นเร่ือง เทศกาลอาหาร ในหนังสือเรยี น
๒. คณุ ครพู านกั เรยี นอา่ น และใหน้ กั เรยี นชอ้ี า่ นไปพรอ้ มกนั ทงั้ หอ้ งจนจบ (ใน
กรณที นี่ กั เรยี นยงั ไมส่ ามารถอา่ นดว้ ยตวั เองได้ คณุ ครจู �ำ เปน็ ตอ้ งพาอา่ นไป
ทีละย่อหน้าก่อน ขั้นตอนการสอนคุณครูสามารถปรับให้เหมาะสม หรือ
ความพร้อมของนกั เรยี นได้)
๓. เ มื่อจบท้ังเรื่องแล้ว คุณครูอาจจะพูดคุย หรือถามนักเรียนว่า ในเร่ืองนี้
กล่าวถึงใคร ก�ำ ลงั ทำ�อะไร
๔. ใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามท่ีครูถาม โดยการไฮไลต์ค�ำ ตอบของคำ�ถามนั้นๆ

๓. ข้นั ลงมอื เรยี นรู้
๑. คุณครูใหน้ กั เรยี นทุกคนนั่งเป็นวงกลม
๒. น กั เรยี นจะตอ้ งอา่ นเรอื่ ง “เทศกาลอาหาร” ตอ่ กนั คณุ ครจู ะสมุ่ ใหน้ กั เรยี นอา่ นคนละวรรค ไมอ่ า่ นตอ่ กนั
ตามล�ำ ดับการนงั่ ดงั นนั้ นักเรียนทุกคนจะตอ้ งดแู ละอา่ นในใจตามไปด้วย แม้จะยงั ไมถ่ งึ รอบท่ตี วั เองอ่าน
๓. หลงั จากทีอ่ ่านครบทกุ คนแลว้ ใหน้ กั เรยี นท�ำ แบบฝึกหัดในหนังสอื เรยี น (แบบฝึกหัด คุณครสู ามารถแบง่
ใหน้ ักเรยี นทำ�ได้ตามความเหมาะสม)

๔. ขั้นสรปุ ความรู้
๑. คุณครู แจกใบงาน “มแี บบไหนบา้ ง? (3D - GO : Windows 3 บาน)”
๒. นักเรียนตัดใบงานตามรอยประ แล้วติดลงในสมุด จากนั้น เขียน
บรรยายลักษณะการรับประทานอาหารแต่ละประเภท ตามที่ได้อ่าน
ในบทเรยี น

๓. ตดั ภาพอาหาร มาตดิ ประกอบใบงานใหถ้ กู ตอ้ ง และตกแตง่ ใหส้ วยงาม

๕. ขน้ั ประยุกต์ใช้ความรู้
๑. ให้นกั เรยี นเขยี นเร่อื งราวสั้นๆ ๘ - ๑๐ บรรทัด ในหวั ขอ้ “อาหารที่ฉนั ชอบ” และวาดภาพอาหาร หรือ
น�ำ ภาพมาตดิ ประกอบเรอื่ งราวดังกล่าว พร้อมตกแต่งใหส้ วยงาม
๒. น�ำ ผลงานของนกั เรียนทกุ คนจดั นิทรรศการในหอ้ งเรียน นกั เรยี นอา่ นแลว้ จดบันทึกว่า เพ่อื นในหอ้ งชอบ
อาหารอะไรบ้าง
๓. คณุ ครแู จกสติกเกอรใ์ หน้ ักเรยี นคนละ ๑ ดวง ให้ทุกคนเดินผ่านผลงานของเพอ่ื น แล้วติดสตกิ เกอร์ลงบน
ผลงานทช่ี อบ
๔. คุณครูให้นักเรยี นท่ีเป็นเจา้ ของผลงานท่ไี ดร้ ับคะแนนมากทส่ี ดุ ๓ ล�ำ ดบั ออกมาอ่านผลงานหน้าชั้นเรยี น

เครอ่ื งมอื - ส่ือการเรยี นรู้

๑. ชารต์ เพลง “สวสั ด”ี
๒. หนงั สอื เรยี นอา่ นออกเขยี นได้ ป.๓ เล่ม ๒
๓. ใบงาน “มแี บบไหนบา้ ง? (3D - GO : Windows 3 บาน)”
๔. สติกเกอร์

การวัดและประเมินผล

๑. สังเกตพฤติกรรมการอา่ น / การออกเสยี ง / การสะกดค�ำ ของนกั เรียน
๒. ป ระเมนิ ผลจากคะแนนการท�ำ แบบฝกึ หัดของนักเรยี น
(การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ
ก่อนเรยี น - หลังเรยี น การเขยี นตามคำ�บอก การทดสอบการอ่าน ฯลฯ)

บริษทั ธารปญั ญา จำ�กดั สงวนลิขสทิ ธิ์ © ๒๕๖๒

ใบงานประกอบแผนการจดั การเรียนรู้ บทที่ ๙ (๑) : ตดั ตามรอยประ
พับตามรอย
มีแบบไหนบา้ ง? (3D-GO : Windows 3 บาน)

 ตดั ตามรอยประ ตดิ ลงในสมดุ ใหส้ ามารถ เปดิ -ปดิ ได้ แลว้ เขยี นบรรยาย
ลกั ษณะอาหารแต่ละประเภท และตัดภาพมาติดใหส้ มั พนั ธ์กนั

บริษทั ธารปัญญา จ�ำ กัด สงวนลิขสทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 7

แผนการจดั การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ อ่านออก เขียนได้ เล่ม ๒
กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓

บทท่ี ๙ เทศกาลอาหาร (๒) จำ�นวน ๒ ชวั่ โมง

มาตรฐานการเรยี นรู้

๑. มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื น�ำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการด�ำ เนนิ
ชีวิต และมนี สิ ยั รกั การอา่ น
มาตรฐาน ท ๓.๑ ส ามารถเลือกฟังและดอู ยา่ งมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สกึ
ในโอกาสตา่ งๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสร้างสรรค์

๒. ตัวชว้ี ัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นออกเสยี งค�ำ ขอ้ ความ เรอื่ งสนั้ ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๕ สรุปความรแู้ ละข้อคิดจากเรือ่ งที่อา่ นเพ่อื นำ�ไปใช้ในชวี ติ ประจำ�วัน
มาตรฐาน ท ๓.๑ ป.๓/๕ พดู สื่อสารได้ชัดเจนตรงตามวตั ถุประสงค์

สาระสำ�คญั

ทกั ษะการอา่ น การสรปุ ความ และการพดู เปน็ ทกั ษะทผ่ี เู้ รยี นตอ้ งฝกึ ฝน เพอ่ื ใหส้ ามารถเรยี นรู้ เขา้ ใจ และสอื่ สาร
ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

๑. อ่านและสรุปเรื่องราวจากบทเรยี นได้
๒. สามารถพูดนำ�เสนอขอ้ มลู หนา้ ช้ันเรยี นได้

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

๑. การอ่านจบั ใจความจากสอ่ื ต่างๆ เชน่ นิทาน เรือ่ งเล่าสน้ั ๆ บทเรยี นในกลุ่มสาระการเรยี นร้อู ่ืน
๒. ก ารอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของค�ำ ค�ำ คลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ทปี่ ระกอบ

ด้วยคำ�พืน้ ฐานเพมิ่ จาก ป.๒ ไม่น้อยกว่า ๑,๒๐๐ คำ�
๓. การพดู สื่อสารในชีวิตประจ�ำ วัน เช่น การพูดในโอกาสต่างๆ

กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๑๒

๑. ข้นั นำ�เขา้ สู่บทเรียน ตบตกั ตบมือ
๑. ค ุณครใู ห้นกั เรยี นเคลื่อนไหวประกอบบทเพลง “ฝนตกสยุ สยุ ” ใน
ทา่ ทม่ี ีจงั หวะสนกุ สนาน ๓
๒. ใ หน้ กั เรียนจบั คู่กบั เพือ่ น แลว้ ท�ำ ทา่ ทางประกอบ ได้แก่ ตบตกั -
ตบมือ - ตบวืด ตบวืด
๓. ค ุณครูติดชาร์ตบทเพลง “ฝนตกสุยสุย” บนกระดานเคล่ือนที่
ช้ีอา่ นใหน้ ักเรียนฟัง แล้วใหน้ กั เรยี นอ่านพรอ้ มกนั จนคล่อง

บรษิ ทั ธารปัญญา จ�ำ กัด สงวนลิขสทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 8

๒. ข้นั นำ�เสนอความรู้
๑. ค ุณครูสอนนักเรยี นอา่ นเรือ่ ง พิธกี นิ เจ ในหนงั สอื เรยี น
๒. ค ณุ ครพู านกั เรยี นอา่ น และใหน้ กั เรยี นชอี้ า่ นไปพรอ้ มกนั ทงั้ หอ้ งจนอา่ นจบ (ในกรณที นี่ กั เรยี นยงั ไมส่ ามารถ
อ่านด้วยตัวเองได้ คุณครูจำ�เป็นต้องพาอ่านไปทีละย่อหน้าก่อน ข้ันตอนการสอนคุณครูสามารถปรับให้
เหมาะสมหรือความพร้อมของนกั เรียนได)้
๓. เ มื่อจบทั้งเรื่องแล้ว คุณครูอาจจะพูดคุย หรือถามนักเรียนว่า ในเรื่องนี้กล่าวถึงอะไร นักเรียนเคยมี
ประสบการณ์เชน่ เดยี วกับเรอื่ งทีอ่ า่ นหรือไม่
๔. นกั เรียนท�ำ แบบฝึกหัดในหนังสอื เรยี น

๓. ขน้ั ลงมอื เรยี นรู้
๑. ค ุณครูสอนนกั เรยี นอ่านเกร็ดวรรณคดี เร่อื ง พระอภัยมณี ในหนงั สือเรยี น
๒. ค ณุ ครูพานกั เรียนอา่ น และให้นักเรียนชี้อา่ นไปทีละย่อหน้า
๓. เ มอื่ อา่ นจบทงั้ เรือ่ งแลว้ คณุ ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั พดู คยุ วา่ เรื่องนี้กล่าวถึง ใคร ทำ�อะไร ท่ไี หน เมอ่ื ไหร่
อยา่ งไร
๔. นักเรียนท�ำ แบบฝกึ หดั ในหนงั สอื เรยี น

๔. ขั้นสรุปความรู้
๑. ค ณุ ครแู จกใบงาน “สรปุ เรื่องพระอภยั มณี (3D - GO : Windows
5 บาน)” เพ่ือใหน้ ักเรยี นได้ฝึกสรปุ เรอ่ื งและจบั ใจความส�ำ คัญจาก
เร่ืองทีอ่ า่ น
๒. ตัดใบงานตามรอยประ พับ เแลว้ เขยี นคำ�ตอบลงในใบงาน
๓. ตัดภาพและชื่อเรอื่ ง ตดิ บนใบงาน (ดงั ตัวอยา่ ง) ตกแต่งให้สวยงาม
๔. ตดิ ใบงานลงในสมุด

๕. ขน้ั ประยุกตใ์ ชค้ วามรู้
คุณครูและนกั เรยี น นัง่ เปน็ วงกลม แลว้ ใหน้ ักเรยี นแต่ละคนเล่าเรอื่ ง
เกี่ยวกบั พิธี หรือประเพณี ทีน่ ักเรียนชนื่ ชอบ หรอื สนใจ ใหเ้ พือ่ นๆ ฟัง

เครอื่ งมอื - ส่ือการเรยี นรู้

๑. ชารต์ เพลง “ฝนตกสยุ สยุ ”
๒. หนังสือเรยี นอา่ นออกเขียนได้ ป.๓ เลม่ ๒
๓. ใบงาน "สรปุ เร่อื งพระอภยั มณี (3D - GO : Windows 5 บาน)"

การวัดและประเมินผล

๑. ส ังเกตพฤติกรรมการอา่ น / การออกเสยี ง / การสะกดคำ� ของนักเรียน
๒. ป ระเมินผลจากคะแนนการท�ำ แบบฝกึ หัดของนกั เรียน
(การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ
กอ่ นเรยี น - หลงั เรียน การเขยี นตามคำ�บอก การทดสอบการอา่ น ฯลฯ)

บรษิ ทั ธารปัญญา จ�ำ กดั สงวนลิขสทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 9

ใบงานประกอบแผนการจดั การเรียนรู้ บทท่ี ๙ (๒) : ตัดตามรอยประ
พบั ตามรอย
สรปุ เรอื่ งพระอภยั มณี (GO : Windows 5 บาน)

 ตดั ตามรอยประ ติดลงในสมุดให้สามารถ เปดิ -ปดิ ได้ แล้วเขียนสรุปตามหวั ข้อ

ทากาว ตดิ ลงบนสมดุ

ทากาว ตดิ ลงบนสมดุ

ครอบค ัรว
ของพระอภัยมณี
ความสามารถ
ของพระอภัยมณี
พราหมณ์ ้ัทง ๓

มีใคร ้บาง
ผีเ ืส้อส ุมทร

ืคอใคร
สถาน ี่ทในเ ืร่อง
คือท่ีใด ้บาง

บรษิ ัทธารปัญญา จำ�กดั สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 10

ใบงานประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ บทท่ี ๙ (๒) : ตัดตามรอยประ

สรุปเรอ่ื งพระอภัยมณี (GO : Windows 5 บาน) ✄

 ตัดตามรอยประ ระบายสี แล้วตดิ ลงในใบงาน

บริษทั ธารปญั ญา จ�ำ กดั สงวนลิขสิทธิ์ © ๒๕๖๒ 11

แผนการจัดการเรยี นรู้
หน่วยการเรียนรู้ อ่านออก เขยี นได้ เล่ม ๒
กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

บทท่ี ๑๐ เรารกั ประชาธิปไตย (๑) จำ�นวน ๒ ชั่วโมง

มาตรฐานการเรยี นรู้

๑. มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใ ชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื น�ำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการด�ำ เนนิ
ชวี ติ และมีนสิ ัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท ๓.๑ ส ามารถเลอื กฟงั และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรู้สกึ
ในโอกาสตา่ งๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์

๒. ตัวช้วี ัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นออกเสยี งค�ำ ขอ้ ความ เรอื่ งสนั้ ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๕ สรุปความรู้และขอ้ คิดจากเรือ่ งที่อ่านเพ่ือนำ�ไปใชใ้ นชวี ิตประจำ�วนั
มาตรฐาน ท ๓.๑ ป.๓/๕ พูดส่ือสารได้ชดั เจนตรงตามวตั ถปุ ระสงค์

สาระสำ�คญั

ทักษะการอ่าน การสรุปความ และการพูด เป็นทักษะที่ผู้เรียนต้องฝึกฝน เพ่ือให้สามารถเรียนรู้ เข้าใจ และ
สอื่ สารในชีวติ ประจ�ำ วนั ได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

๑. อา่ นและสรุปเรือ่ งราวจากบทเรยี นได้
๒. สามารถพูดนำ�เสนอข้อมลู หน้าชนั้ เรยี นได้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

๑. การอ่านจบั ใจความจากส่ือต่างๆ เช่น นทิ าน เรื่องเลา่ สนั้ ๆ บทเรยี นในกล่มุ สาระการเรียนรูอ้ ื่น
๒. ก ารอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของค�ำ ค�ำ คลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ทปี่ ระกอบ

ดว้ ยคำ�พน้ื ฐานเพม่ิ จาก ป.๒ ไม่น้อยกวา่ ๑,๒๐๐ ค�ำ
๓. การพดู ส่ือสารในชีวิตประจ�ำ วัน เชน่ การแนะน�ำ ตนเอง การพูดในโอกาสตา่ งๆ

กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๑๒

๑. ขนั้ น�ำ เขา้ สูบ่ ทเรยี น
๑. ค ุณครูใหน้ ักเรียนเคลอ่ื นไหวประกอบบทกลอน “คณุ ป้า” ใน
ท่าทม่ี จี ังหวะสนุกสนาน ตง้ั มอื ซ้าย แบไว้ ใช้มือขวาตบมอื ซ้าย

๒. ใหน้ กั เรยี นนง่ั ลอ้ มเปน็ วงกลม แลว้ ท�ำ ทา่ ทางประกอบบทกลอน ๓๔
คอื ต้งั มอื ซ้าย แบไว้ ใชม้ อื ขวาตบมอื ซ้าย ๑ ครั้ง - ใชม้ ือขวา
ตบโตะ๊ ๒ ครงั้ - ใชม้ อื ขวาตบบนมอื ซา้ ยของเพอื่ นทน่ี ง่ั อยขู่ า้ งๆ มือขวาตบโตะ๊ ๒ คร้งั ใช้มือขวา
ตบมือซ้ายของเพ่อื น
๓. ค ณุ ครตู ดิ ชารต์ บทกลอน “คณุ ปา้ ” บนกระดานเคลอ่ื นท่ี ชอ้ี า่ น
ให้นักเรยี นฟงั แล้วให้นักเรยี นอ่านตามจนคล่อง

บริษัทธารปัญญา จำ�กดั สงวนลิขสิทธิ์ © ๒๕๖๒ 12

๒. ขน้ั นำ�เสนอความรู้
๑. ค ุณครูสอนนักเรียนอา่ นเรอื่ ง เรารักประชาธิปไตย ในหนังสอื เรียน
๒. ค ณุ ครพู านกั เรยี นอา่ น และใหน้ กั เรยี นชอ้ี า่ นไปพรอ้ มกนั ทงั้ หอ้ งจนอา่ นจบ
(ในกรณีที่นักเรียนยังไม่สามารถอ่านด้วยตัวเองได้ คุณครูจำ�เป็นต้องพา
อา่ นไปทลี ะยอ่ หนา้ กอ่ น ขนั้ ตอนการสอนคณุ ครสู ามารถปรบั ใหเ้ หมาะสม)
๓. เ มื่อจบทั้งเร่ืองแล้ว คุณครูอาจจะพูดคุย หรือถามนักเรียนว่า ในเร่ืองน้ี
กลา่ วถงึ ใคร ก�ำ ลงั ท�ำ อะไร
๔. ใหน้ ักเรยี นตอบคำ�ถามท่คี รถู าม โดยการไฮไลตค์ �ำ ตอบของคำ�ถามน้ันๆ (ตัวอย่างการสอนอา่ น
๓. ขั้นลงมือเรียนรู้ จากเรือ่ ง เทศกาลอาหาร)

๑. ค ณุ ครูสอนนักเรียนอ่านเร่ือง คา้ งคาวแม่ไก่ ในหนงั สอื เรียน
๒. คุณครพู านักเรยี นอ่าน และให้นักเรียนช้อี ่านไปทีละยอ่ หน้า
๓. เ มอ่ื อ่านจบทงั้ เร่อื งแล้ว คุณครแู ละนักเรยี นรว่ มกันพูดคุย อภิปราย เก่ียวกับคา้ งคาวแม่ไก่
๔. นกั เรียนทำ�แบบฝึกหัดในหนังสอื เรียน

๔. ขน้ั สรุปความรู้
๑. คุณครู แจกใบงาน “คา้ งคาวแมไ่ ก่ (GO : Picture)”
๒. นกั เรยี นลงมอื เขยี นค�ำ ตอบลงในชอ่ งวา่ ง ตามประเดน็ ทกี่ �ำ หนดให้ เพอื่
ฝึกทกั ษะการสังเกตและการสรุปใจความสำ�คญั

๕. ขน้ั ประยุกต์ใช้ความรู้
๑. ค ุณครูและนักเรียนน่ังเป็นวงกลมแล้วพูดคุยกันเกี่ยวกับประชาธิปไตย
ในชีวติ ประจ�ำ วัน
๒. ให้นกั เรยี นจับกลุ่ม กลุ่มละ ๖ - ๘ คน ชว่ ยกัน คดิ ชอื่ พรรค ค�ำ ขวญั นโยบายและต�ำ แหน่งหน้าที่ พร้อม
จดั ท�ำ โปสเตอร์
๓. แ ตล่ ะกลุ่มนำ�เสนอพรรคของตนเอง หนา้ ช้ันเรยี น
๔. สรุปกิจกรรมรว่ มกัน ว่านักเรียนสนใจพรรคไหน เพราะอะไร

เครอื่ งมอื - สอื่ การเรยี นรู้

๑. ชารต์ บทกลอน “คณุ ปา้ ”
๒. หนงั สือเรยี นอ่านออกเขียนได้ ป.๓ เลม่ ๒
๓. ใบงาน “คา้ งคาวแมไ่ ก่ (GO : Picture)”

การวดั และประเมนิ ผล

๑. สังเกตพฤติกรรมการอ่าน / การออกเสยี ง / การสะกดค�ำ ของนักเรียน
๒. ประเมินผลจากคะแนนการท�ำ แบบฝึกหัดของนกั เรียน
(การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ
กอ่ นเรียน - หลังเรยี น การเขยี นตามค�ำ บอก การทดสอบการอา่ น ฯลฯ)

บริษัทธารปญั ญา จำ�กัด สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 13

ใบงานประกอบแผนการจัดการเรยี นรู้ บทท่ี ๑๐ (๑) :

คา้ งคาวแม่ไก่ (GO : Picture)

 อา่ นเรอื่ ง “คา้ งคาวแมไ่ ก”่ แลว้ เตมิ ค�ำ ตอบลงในชอ่ งวา่ งใหต้ รงกบั หวั ขอ้

คา้ งคาว -------------------------------------------- ขอองคาหา้ งาคราว

ประโยชนข์ องข้คี ้างคาว คอื ----------------------------------------------------------------
----------------------------------------------------------------
----------------------------------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------
----------------------------------------------------------------
เวลาท่อี อกหากนิ
มีขา ขา--------------------
----------------------------------------------------------------------- ปกี กวา้ ง ฟุต-------------------

หน้าตาของมันคล้าย บริษทั ธารปัญญา จำ�กัด สงวนลขิ สทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 14

-----------------------------------------------------------------------

แผนการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรยี นรู้ อา่ นออก เขียนได้ เล่ม ๒
กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓

บทที่ ๑๐ เรารกั ประชาธิปไตย (๒) จ�ำ นวน ๒ ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้

๑. มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใ ชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ น�ำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการด�ำ เนนิ
ชวี ิต และมนี สิ ัยรักการอา่ น
มาตรฐาน ท ๔.๑ เ ขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา
ภูมิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ

๒. ตวั ชี้วดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นออกเสยี งค�ำ ขอ้ ความ เรอื่ งสนั้ ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๕ สรุปความร้แู ละขอ้ คดิ จากเร่ืองท่อี า่ นเพือ่ นำ�ไปใชใ้ นชีวิตประจำ�วัน
มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๓/๕ แตง่ ประโยคงา่ ยๆ

สาระสำ�คญั

ทักษะที่ผู้เรียนต้องฝึกฝนควบคู่กับการอ่านก็คือการสรุปและจับใจความสำ�คัญ เม่ือสามารถอ่านและสรุป
ใจความส�ำ คญั ไดแ้ ลว้ จะชว่ ยใหผ้ ้เู รียนสามารถเรียบเรียงเรอื่ งราว เพอ่ื ถ่ายทอดผ่านการพดู ไดด้ ีมากข้นึ

จุดประสงค์การเรียนรู้

๑. สามารถอ่านและสรุปเร่อื งราวจากบทเรยี นได้
๒. แตง่ ประโยคงา่ ยๆ จากคำ�ศัพท์ในบทเรียน

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

๑. การอา่ นจบั ใจความจากสอ่ื ต่างๆ เช่น นิทาน เร่ืองเล่าสน้ั ๆ บทเรยี นในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อืน่
๒. การอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของค�ำ ค�ำ คลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ทปี่ ระกอบ

ด้วยคำ�พื้นฐานเพ่มิ จาก ป.๒ ไม่น้อยกว่า ๑,๒๐๐ คำ�
๓. การแตง่ ประโยคเพอ่ื การสอ่ื สาร

กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ๑

๑. ขน้ั น�ำ เขา้ สู่บทเรียน
๑. ค ณุ ครใู หน้ กั เรยี นเคลอื่ นไหวประกอบเพลง “ในโลกนมี้ อี ะไรเปน็ ไทยแท”้ โดย
ท�ำ ท่าทาง ตบโตะ๊ ๑ ครง้ั ตบมือ ๑ คร้ัง สลบั กนั ไป จนจบ ตบโต๊ะ ๑ คร้ัง

๒. ค ุณครูติดชาร์ตบทกลอน “ในโลกนมี้ ีอะไรเป็นไทยแท้” บนกระดานเคลื่อนที่ ๒
หรือแสดงเน้ือเพลงบนจอ ชี้อ่านให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียนอ่านตามจน
คล่อง

ตบมือ ๑ ครั้ง

บรษิ ทั ธารปญั ญา จำ�กดั สงวนลขิ สิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 15

๒. ขน้ั น�ำ เสนอความรู้
๑. คุณครสู อนนกั เรียนอ่านนทิ าน เร่อื ง มโหสถ ในหนังสอื เรยี น
๒. ค ุณครูพานักเรียนอ่าน และให้นักเรียนช้ีอ่านไปพร้อมกันท้ังห้องจนจบ (ในกรณีที่นักเรียนยังไม่สามารถ
อ่านด้วยตัวเองได้ คุณครูจำ�เป็นต้องพาอ่านไปทีละย่อหน้าก่อน ขั้นตอนการสอนคุณครูสามารถปรับให้
เหมาะสม หรือความพรอ้ มของนกั เรยี นได้)
๓. เมอื่ จบทงั้ เรอื่ งแลว้ คณุ ครอู าจจะพดู คยุ หรอื ถามนกั เรยี นวา่ ในเรอ่ื งนกี้ ลา่ วถงึ ใคร ท�ำ อะไร ทไ่ี หน เมอ่ื ไหร่
อยา่ งไร

๓. ขัน้ ลงมือเรียนรู้
๑. คุณครสู อนนกั เรยี นอ่านเกร็ดวรรณคดเี รอื่ ง ม้าสหี มอกและดาบฟา้ ฟน้ื ในหนงั สือเรยี น
๒. คุณครพู านักเรียนอา่ นและใหน้ กั เรียนชี้อา่ นไปพรอ้ มกนั ทง้ั หอ้ งจนจบ
๓. เมอ่ื อ่านจบแล้ว คุณครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ใจความส�ำ คัญจากเรือ่ งทอี่ า่ น โดยคุณครอู าจจะเป็นผ้ตู ง้ั
คำ�ถาม แล้วนักเรียนตอบคำ�ถาม โดยการไฮไลตค์ �ำ ตอบในเน้ือเรื่อง
๔. ใหน้ ักเรียนทำ�แบบฝึกหัดในหนังสอื เรียน

๔. ขัน้ สรปุ ความรู้
๑. คณุ ครูแ จกใบงาน “ข้อมูลของใคร”
๒. น กั เรยี นตดั ใบงานตามรอยประ ตดั ขอ้ ความทเ่ี ปน็ คณุ สมบตั ไิ ปตดิ
ลงในกรอบใต้ภาพ ให้ถกู ต้อง
๓. เมือ่ ท�ำ กจิ กรรมเสรจ็ แลว้ นักเรยี นอา่ นขอ้ ความพร้อมกัน

๕. ขั้นประยุกตใ์ ช้ความรู้
๑. คุณครูให้นักเรยี นเลอื กคำ�ศพั ท์จากนทิ าน เรือ่ ง มโหสถ คนละ ๑๐ คำ�
๒. นำ�ค�ำ ศพั ท์ทัง้ ๑๐ ค�ำ นน้ั ไปแตง่ ประโยคลงในสมุดของตนเอง
๓. จับค่กู บั เพ่อื นแล้วผลดั กนั อา่ นประโยคทีแ่ ตง่

เคร่อื งมือ - สื่อการเรยี นรู้

๑. ชารต์ บทกลอน “ในโลกน้ีมีอะไรเปน็ ไทยแท”้
๒. หนังสือเรียนอ่านออกเขียนได้ ป.๓ เลม่ ๒
๓. ใบงาน "ข้อมูลของใคร"

การวดั และประเมินผล

๑. สังเกตพฤติกรรมการอ่าน / การออกเสียง / การสะกดค�ำ ของนักเรียน
๒. ป ระเมินผลจากคะแนนการท�ำ แบบฝกึ หัดของนักเรยี น
(การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ
ก่อนเรียน - หลังเรียน การเขียนตามค�ำ บอก การทดสอบการอา่ น ฯลฯ)

บริษัทธารปญั ญา จ�ำ กดั สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 16

ม้า ีสหมอกใบงานประกอบแผนการจดั การเรยี นรู้ บทท่ี ๑๐ (๒) :
ทากาว
ทากาวข้อมูลของใคร (๑)
ทากาว
ทากาว✄ ตัดตามรอยประ นำ�ขอ้ มลู จากใบงาน ข้อมูลของใคร (๒) มาติดให้ตรงกับภาพกับภาพ แล้วระบายสีให้สวยงาม

บริษทั ธารปัญญา จำ�กดั สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 17
ดาบฟ้าฟ้ืน

ทากาว
ทากาว
ทากาว
ทากาว

ใบงานประกอบแผนการสอน บทที่ ๑๐ (๒) : ตัดตามรอยประ

ข้อมูลของใคร (๒) ✄

 ตัดขอ้ ความด้านล่าง ไปตดิ ในใบงาน ข้อมูลของใคร (๑) ให้ถกู ต้อง

ดแุ ละซกุ ซนมาก พอกวดั แกวง่ จะเกดิ แสง

กนิ หญา้ เสกของขนุ แผน ฟันตน้ ไม้ขาดง่ายดาย

เป็นดาบวิเศษ ทำ�ให้เกดิ พายุ ฟา้ ผา่

ชอบไล่กัดม้าตัวอื่น จงรักภักดตี อ่ ขุนแผน

บรษิ ัทธารปญั ญา จ�ำ กัด สงวนลิขสทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 18

แผนการจดั การเรียนรู้
หน่วยการเรยี นรู้ อ่านออก เขยี นได้ เล่ม ๒
กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓

บทที่ ๑๑ กฬี าโอลมิ ปกิ (๑) จำ�นวน ๒ ชว่ั โมง

มาตรฐานการเรยี นรู้

๑. มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื น�ำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการด�ำ เนนิ
ชวี ิต และมีนิสัยรักการอา่ น
มาตรฐาน ท ๒.๑ เ ขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา
ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ

๒. ตวั ชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นออกเสยี งค�ำ ขอ้ ความ เรอ่ื งสนั้ ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๕ สรุปความรแู้ ละข้อคดิ จากเร่ืองทอ่ี า่ นเพ่อื น�ำ ไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ป.๓/๕ เขยี นเรื่องตามจินตนาการ

สาระสำ�คัญ

การอา่ น ท�ำ ความเข้าใจเรอ่ื งราว แล้วสรุปความรูห้ ลังการอา่ น จะสามารถพฒั นาทักษะดา้ นการอ่านของผูเ้ รียน
นอกจากนี้ยงั เปน็ แนวทางท่ีน�ำ ไปสูก่ ารพัฒนาทกั ษะดา้ นการเขยี นเรยี บเรยี งเรื่องราว

จุดประสงค์การเรียนรู้

๑. สามารถอา่ นและสรุปเร่ืองราวจากบทเรียนได้
๒. สามารถเขียนเรือ่ งราวสน้ั ๆ ตามความคดิ และจินตนาการ

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

๑. การอ่านจับใจความจากส่อื ตา่ งๆ เชน่ นิทาน เรื่องเลา่ สน้ั ๆ บทเรยี นในกล่มุ สาระการเรยี นรอู้ ื่น
๒. ก ารอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของค�ำ ค�ำ คลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ทปี่ ระกอบ

ดว้ ยค�ำ พน้ื ฐานเพ่มิ จาก ป.๒ ไมน่ อ้ ยกว่า ๑,๒๐๐ ค�ำ
๓. การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากคำ� ภาพ และหวั ข้อทก่ี ำ�หนด

กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ๑ ๒

๑. ขน้ั น�ำ เข้าสู่บทเรยี น แตะหวั แตะไหล่
๑. ค ุณครใู ห้นักเรียนเคล่อื นไหวประกอบเพลง “พรวนดิน” ดว้ ย
ท่าทางท่สี นกุ สนาน เชน่ แตะหวั - แตะไหล่ - ตบมือ - ตบวดื ๓ ๔
๒. คุณครตู ดิ ชาร์ตบทเพลง “พรวนดนิ ” บนกระดานเคลื่อนที่ ช้ี
อา่ นใหน้ กั เรยี นฟงั แลว้ ใหน้ กั เรียนอ่านตามจนคลอ่ ง

ตบมือ ตบวดื

บริษัทธารปญั ญา จ�ำ กดั สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 19

๒. ข้นั น�ำ เสนอความรู้ (ตวั อยา่ งการสอนอา่ น
๑. คุณครูสอนนกั เรียนอา่ นเรอ่ื ง กฬี าโอลิมปิก ในหนงั สอื เรียน จากเรื่อง เทศกาลอาหาร)
๒. ค ณุ ครพู านกั เรยี นอา่ น และใหน้ กั เรยี นชอ้ี า่ นไปพรอ้ มกนั ทงั้ หอ้ งจนจบ (ใน
กรณีท่นี กั เรยี นยังไม่สามารถอา่ นดว้ ยตัวเองได้ คุณครูจำ�เป็นต้องพาอา่ น
ไปทลี ะยอ่ หนา้ กอ่ น ขน้ั ตอนการสอนคณุ ครสู ามารถปรบั ใหเ้ หมาะสมหรอื
ความพร้อมของนกั เรียนได้)
๓. เ ม่ือจบทั้งเรื่องแล้ว คุณครูอาจจะพูดคุย หรือถามนักเรียนว่า ในเรื่องนี้
กลา่ วถงึ ใคร ทำ�อะไร ทไ่ี หน เมื่อไหร่ อย่างไร

๓. ขน้ั ลงมอื เรียนรู้
๑. คณุ ครูสอนนักเรยี นอา่ นสารคดี เรอื่ ง กีฬาโอลมิ ปิกสมัยกอ่ น ในหนังสอื เรียน
๒. คุณครพู านกั เรยี นอ่านและให้นักเรียนชีอ้ า่ นไปพรอ้ มกนั ทั้งหอ้ งจนจบ
๓. เ มอ่ื อ่านจบแลว้ คณุ ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรปุ ใจความสำ�คัญจากเรอ่ื งทอ่ี า่ น โดยคุณครอู าจจะเปน็ ผูต้ ั้ง

ค�ำ ถาม แลว้ นักเรียนตอบคำ�ถาม โดยการไฮไลตค์ ำ�ตอบในเนื้อเรื่อง

๔. ให้นักเรียนทำ�แบบฝกึ หัดในหนงั สือเรียน

๔. ขน้ั สรุปความรู้
๑. คณุ ครแ ู จกใบงาน “ยอ้ นรอยกฬี าโอลมิ ปกิ (3D-GO : Windows 4 บาน)”"
๒. นกั เรียนตัดใบงานตามรอยประ ติดลงในสมดุ ใหส้ ามารถเปดิ ปดิ ได้
๓. ลงมิือเขียนขอ้ มูลลงในใบงาน

๕. ขั้นประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้
๑. คุณครูชวนนักเรียนพูดคุยเก่ียวกับกีฬา จากนั้นให้นักเรียนเขียนเล่าเร่ือง
เกยี่ วกบั “กีฬาทฉี่ ันชอบ” พรอ้ มวาดภาพประกอบ (สามารถเปลย่ี นเป็น
หัวขอ้ อนื่ ๆ ท่ีเกยี่ วกับกีฬาได)้
๒. เมือ่ นกั เรยี นเขยี นเสร็จแล้ว ให้ออกมาอ่านผลงานหน้าชนั้ เรยี น หรือตดิ บนปา้ ยนเิ ทศ

เครื่องมอื - สือ่ การเรียนรู้

๑. ชารต์ บทเพลง “พรวนดิน”
๒. หนงั สือเรยี นอา่ นออกเขียนได้ ป.๓ เล่ม ๒
๓. ใบงาน “ย้อนรอยกฬี าโอลิมปิก (3D-GO : Windows 4 บาน)”

การวดั และประเมินผล

๑. สังเกตพฤตกิ รรมการอ่าน / การออกเสยี ง / การสะกดค�ำ ของนกั เรียน
๒. ประเมินผลจากคะแนนการท�ำ แบบฝกึ หดั ของนกั เรยี น
(การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม บางชั้นเรียนอาจมีการทดสอบ
ก่อนเรยี น - หลังเรยี น การเขยี นตามคำ�บอก การทดสอบการอา่ น ฯลฯ)

บรษิ ทั ธารปญั ญา จ�ำ กดั สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 20

กีฬาโอ ิลม ิปก เกิดขึ้นไ ้ดอ ่ยางไรใบงานประกอบแผนการจัดการเรยี นรู้ บทที่ ๑๑ (๑) :
การจัด ีกฬาโอ ิลม ิปก ครั้งแรก
ยอ้ นรอยกฬี าโอลิมปิก (GO : Windows 4 บาน)
"มง ุกฎ ิก่งมะกอก" ำส�คัญอย่างไร
ความหมายของ "ไฟ" ใน ีกฬาโอลิมปิก ตดั ตามรอยประ ตดิ ลงในสมดุ แล้วเขยี นขอ้ มูลใตใ้ บงาน ตามประเด็นตา่ งๆ แล้วระบายสีใหส้ วยงาม
ตัดตามรอยประ

พบั ตามรอย ✄

บรษิ ทั ธารปญั ญา จ�ำ กัด สงวนลิขสทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 21

แผนการจัดการเรียนรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้ อา่ นออก เขียนได้ เลม่ ๒
กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

บทที่ ๑๑ กีฬาโอลมิ ปกิ (๒) จำ�นวน ๒ ชั่วโมง

มาตรฐานการเรยี นรู้

๑. มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื น�ำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการด�ำ เนนิ
ชวี ติ และมนี ิสยั รักการอ่าน
มาตรฐาน ท ๔.๑ เ ขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา
ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ

๒. ตวั ชว้ี ัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นออกเสยี งค�ำ ขอ้ ความ เรอ่ื งสนั้ ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๔ ลำ�ดบั เหตุการณ์และคาดคะเนเหตกุ ารณ์จากเร่ืองท่อี า่ นโดยระบเุ หตผุ ลประกอบ
มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๓/๕ แต่งประโยคงา่ ยๆ

สาระส�ำ คัญ

เมื่อเรื่องราวที่ผู้เรียนได้อ่าน มีความซับซ้อนมากข้ึน ผู้เรียนควรเรียนรู้การลำ�ดับเหตุการณสำ�คัญในเรื่อง เพ่ือ
ทบทวนความเข้าใจ รวมถึงจัดระบบความคิดและพัฒนาทักษะด้านการอ่าน เม่ือมีทักษะการอ่านท่ีดีควรฝึกทักษะ
การเขยี น การแตง่ ประโยค เป็นการพฒั นา ๒ ทักษะควบคูก่ ันไป

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

๑. สามารถอา่ นเรอ่ื งราวในบทเรยี นได้
๒. ลำ�ดับเหตุการณจ์ ากเร่ืองท่ีอา่ นได้
๓. แต่งประโยคง่ายๆ จากคำ�ศัพทใ์ นบทเรยี น

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
๑. การอา่ นจบั ใจความจากสอ่ื ต่างๆ เชน่ นทิ าน เร่ืองเลา่ สน้ั ๆ บทเรยี นในกลุม่ สาระการเรียนร้อู นื่
๒. ก ารอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของค�ำ ค�ำ คลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ทปี่ ระกอบ
ดว้ ยค�ำ พื้นฐานเพิ่มจาก ป.๒ ไม่น้อยกวา่ ๑,๒๐๐ คำ�
๓. การแต่งประโยคเพอ่ื การสือ่ สาร
๑๒
กระบวนการจดั การเรยี นรู้
๑. ขัน้ น�ำ เขา้ สู่บทเรียน
๑. ค ุณครูใหน้ ักเรยี นท่อง ทบทวนบทเพลง “พรวนดิน” หากนักเรียน
จำ�ไมไ่ ดใ้ หต้ ิดแผน่ ชารต์ บนกระดาน กระทืบเทา้ ๒ ครั้ง ตบมอื

๒. ค ุณครูให้นกั เรียนเคล่ือนไหวประกอบบทเพลง “พรวนดนิ ” ในท่าท่ี ๓ ๔
สนุกสนานโดย ให้นกั เรยี นจับคู่กับเพอื่ น แล้วท�ำ ท่าทางคือ กระทบื
เทา้ ๒ คร้งั - ตบมือตัวเอง - ตบมอื เพอ่ื น - ตบตกั

ตบมอื เพ่ือน ตบตกั

บรษิ ทั ธารปญั ญา จำ�กดั สงวนลิขสิทธิ์ © ๒๕๖๒ 22

๒. ขั้นนำ�เสนอความรู้
๑. คุณครสู อนนักเรยี นอ่านเกร็ดวรรณคดี เรอื่ ง บุษบา ในหนังสือเรียน
๒. ค ุณครูพานักเรียนอ่าน และให้นักเรียนช้ีอ่านไปพร้อมกันท้ังห้องจนจบ (ในกรณีท่ีนักเรียนยังไม่สามารถ
อ่านด้วยตัวเองได้ คุณครูจำ�เป็นต้องพาอ่านไปทีละย่อหน้าก่อน ขั้นตอนการสอนคุณครูสามารถปรับให้
เหมาะสมหรือความพร้อมของนักเรยี นได)้

๓. ขัน้ ลงมือเรียนรู้
๑. คุณครูแบง่ นกั เรยี นเป็น ๒ กลมุ่ ใหน้ กั เรียนอ่านเรือ่ ง บุษบา อีกครั้ง โดยอ่านกลุ่มละ ๑ วรรค สลบั กนั ไป
๒. ช ว่ ยกันสรปุ วา่ ในเรื่องน้มี ีคำ�ศัพท์ ค�ำ สำ�คัญใดบา้ ง แลว้ ไฮไลตค์ �ำ นน้ั ๆ
๓. ร ่วมกันพูดคุย แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับเนอื้ เรือ่ งว่าใคร ท�ำ อะไร ที่ไหน อย่างไร
๔. ใหน้ กั เรยี นท�ำ แบบฝึกหดั ในหนงั สือเรยี น

๔. ข้นั สรปุ ความรู้
๑. ใหน้ กั เรียนจบั คูก่ นั คณุ คร ูแจกใบงาน “เรยี งเรอ่ื งราวของบษุ บา”
๒. น กั เรยี นตดั ใบงานตามรอยประ อา่ นขอ้ ความ แลว้ เตมิ หมายเลข
ลงในช่องว่างตามลำ�ดับเหตุการณ์ในเร่ืองให้ถูกต้อง เพ่ือให้
นกั เรยี นไดฝ้ กึ สรปุ และล�ำ ดบั เรอ่ื งราว หลงั จากทไ่ี ดอ้ า่ นเนอื้ เรอ่ื ง
๓. เจาะกระดาษตามจดุ ทก่ี �ำ หนดให้ ใชล้ วดเสยี บกระดาษ หรอื เชอื ก
ร้อยแผน่ ใบงาน ตามลำ�ดบั
๔. นักเรียนอา่ นข้อความในใบงานพร้อมกนั

๕. ขน้ั ประยุกต์ใชค้ วามรู้
๑. คุณครใู หน้ ักเรยี นเลอื กค�ำ ศพั ทจ์ าก นทิ าน เรอ่ื ง บษุ บา ในหนังสอื เรยี น หนา้ คนละ ๑๐ ค�ำ
๒. นำ�ค�ำ ศัพท์ทั้ง ๑๐ ค�ำ น้นั ไปแต่งประโยคลงในสมุดของตนเอง
๓. จบั คกู่ ับเพื่อนแลว้ ผลัดกันอ่านประโยคที่แตง่

เคร่อื งมอื - สื่อการเรียนรู้

๑. ชารต์ บทเพลง “พรวนดนิ ”
๒. หนงั สือเรยี นอา่ นออกเขียนได้ ป.๓ เลม่ ๒
๓. ปากกาไฮไลต์
๔. ใบงาน “เรียงเรือ่ งราวของบุษบา”
๕. อุปกรณส์ ำ�หรบั ท�ำ ใบงาน เชน่ เชือก ลวดเสียบกระดาษ เทปใส เปน็ ต้น

การวัดและประเมินผล

๑. ส งั เกตพฤติกรรมการอ่าน / การออกเสยี ง / การสะกดคำ� ของนกั เรยี น
๒. ป ระเมินผลจากคะแนนการทำ�แบบฝกึ หดั ของนักเรียน
(การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ
กอ่ นเรยี น - หลังเรยี น การเขียนตามคำ�บอก การทดสอบการอา่ น ฯลฯ)

บริษทั ธารปญั ญา จ�ำ กดั สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 23

ต่อมา มะเดหวี แม่เล้ียง ใบงานประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ บทท่ี ๑๑ (๒) :เมอ่ื ถงึ วันวิวาห์ของ
ของบษุ บา ได้ชวนบษุ บา บุษบากับจรกา อิเหนา
ไปไหวพ้ ระ แลว้ ใหล้ อง เรียงเรอื่ งราวของบุษบา (๑)ทนไมไ่ ด้ จึงลกั พาตวั
เส่ียงเทียนว่าบุษบาจะได้ บุษบาไปซอ่ นในถํา้
คกู่ ับจรกาหรอื อิเหนา  ตดั ตามรอยประ เขียนหมายเลขเรียงล�ำ ดับเหตุการณ์ จากน้ันเจาะกระดาษ แลว้ ร้อยต่อใบงานตามล�ำ ดบั

✄ตัดตามรอยประ

บรษิ ทั ธารปัญญา จ�ำ กดั สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 24
บษุ บาอธษิ ฐานวา่ หากนาง ยั ง ไ ม่ ทั น ที่ เ ที ย น จ ะ ดั บ
จะไดร้ ักและครองคูใ่ คร ขอ อิเหนาซึ่งแอบหลบอยู่
ให้เทียนของคนนน้ั สว่างไสว หลังพระพุทธรูปก็พูดว่า
ส่วนคนท่ีไมไ่ ดค้ กู่ นั ขอให้ บุษบาจะไดค้ ู่กับอิเหนา
เทียนนน้ั ดบั ไป

แต่ความรกั ของอเิ หนา ใบงานประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ บทท่ี ๑๑ (๒) :บษุ บา เป็นเจา้ หญงิ มคี ู่
กบั บษุ บามอี ปุ สรรค หม้นั คือ อเิ หนา แต่ท้ังคู่
มากมาย ตอ้ งฝ่าฟัน ใน เรยี งเร่อื งราวของบุษบา (๒)ไมเ่ คยพบกัน อิเหนาจงึ ขอ
ทีส่ ดุ ก็ผ่านไปได้ และ ถอนหม้นั บุษบา
ครองคกู่ นั  ตดั ตามรอยประ เขยี นหมายเลขเรียงล�ำ ดับเหตุการณ์ จากน้ันเจาะกระดาษ แล้วร้อยตอ่ ใบงานตามล�ำ ดบั

✄ตัดตามรอยประทา้ วดาหา บดิ าของบุษบา
กริว้ มาก จึงยกบุษบาให้
บริษัทธารปัญญา จำ�กัด สงวนลขิ สทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 25ทา้ วจรกา แต่อเิ หนากลับ
เปลี่ยนใจเพราะได้พบ
บุษบาแลว้ หลงรกั

แผนการจดั การเรียนรู้
หน่วยการเรยี นรู้ อา่ นออก เขียนได้ เลม่ ๒
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๓

บทท่ี ๑๒ ไปเทยี่ วตราด (๑) จำ�นวน ๒ ชวั่ โมง

มาตรฐานการเรียนรู้

๑. มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื น�ำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการด�ำ เนนิ
ชีวติ และมนี สิ ยั รกั การอ่าน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใ ชก้ ระบวนการเขยี นเขยี นสอ่ื สาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเร่อื งราวในรูปแบบ
ตา่ งๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ คว้าอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

๒. ตวั ชีว้ ัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นออกเสยี งค�ำ ขอ้ ความ เรอื่ งสน้ั ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๕ สรปุ ความร้แู ละขอ้ คดิ จากเร่ืองที่อ่านเพ่ือนำ�ไปใชใ้ นชีวิตประจ�ำ วัน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ป.๓/๒ เขยี นบรรยายเก่ียวกับสิ่งใดสิ่งหน่งึ ได้อย่างชดั เจน

สาระสำ�คญั

เมื่อเร่ืองราวที่ผู้เรียนได้อ่าน มีความซับซ้อนมากข้ึน ผู้เรียนควรเรียนรู้การลำ�ดับเหตุการณ์สำ�คัญในเรื่อง เพื่อ
ทบทวนความเข้าใจ รวมถึงจัดระบบความคิดและพัฒนาทักษะด้านการอ่าน เมื่อมีทักษะการอ่านท่ีดีควรฝึกทักษะ
การเขยี น การเขียนบรรยายเล่าเรือ่ ง เปน็ การพฒั นา ๒ ทักษะควบค่กู ันไป

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

๑. สามารถอ่านและสรปุ เรือ่ งราวในบทเรียนได้
๒. สามารถเขียนเพ่อื บรรยาย เล่าเรื่องทีต่ ้องการส่อื สารได้

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

๑. การอา่ นจับใจความจากสอื่ ต่างๆ เชน่ นิทาน เรือ่ งเล่าสัน้ ๆ บทเรยี นในกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ่นื
๒. การอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของค�ำ ค�ำ คลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ทปี่ ระกอบ

ด้วยคำ�พนื้ ฐานเพมิ่ จาก ป.๒ ไม่นอ้ ยกวา่ ๑,๒๐๐ ค�ำ
๓. การเขียนบรรยายเกย่ี วกบั ลกั ษณะของ คน สตั ว์ สง่ิ ของ สถานที่

กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ๑

๑. ขัน้ น�ำ เขา้ ส่บู ทเรียน
๑. ค ุณครูให้นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบบทเพลง “เต่า งู และ กา” ในท่าที่มี
จงั หวะสนกุ สนาน เชน่ จบี มอื ขา้ งซา้ ย - ท�ำ มอื เปน็ รปู ตวั แอล (L) ดา้ นขวา - จบี
มือข้างขวา - ท�ำ มือเป็นรูปตัวแอล (L) ดา้ นซา้ ย ทำ�สลบั ขา้ งไปเรอ่ื ยๆ
๒. ค ุณครูติดชาร์ตบทเพลง “เต่า งู และ กา” บนกระดานเคลื่อนท่ี ช้ีอ่านให้
นกั เรยี นฟงั แล้วให้นกั เรียนอา่ นพรอ้ มกนั จนคล่อง

บรษิ ัทธารปัญญา จำ�กดั สงวนลขิ สิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 26

๒. ข้นั นำ�เสนอความรู้
๑. ค ณุ ครูสอนนักเรยี นอา่ น เรอื่ ง ไปเทย่ี วตราด ในหนังสอื เรียน
๒. ค ุณครูพานักเรียนอ่าน และให้นักเรียนช้ีอ่านไปพร้อมกันทั้งห้องจนจบ
(ในกรณที ี่นักเรียนยงั ไมส่ ามารถอา่ นด้วยตวั เองได้ คุณครูจำ�เปน็ ตอ้ งพา
อ่านไปทีละย่อหน้าก่อน ขั้นตอนการสอนคุณครูสามารถปรับให้เหมาะ
สมหรือความพร้อมของนกั เรยี นได้)
๓. เ ม่ือจบท้ังเร่ืองแลว้ คุณครูอาจจะพูดคุย หรอื ถามนกั เรียนว่า ในเรอ่ื งน้ี
กล่าวถงึ ใคร ก�ำ ลงั ทำ�อะไร (ตวั อย่างการสอนอ่าน
จากเรอ่ื ง เทศกาลอาหาร)
๓. ขนั้ ลงมอื เรียนรู้
๑. คุณครใู ห้นักเรียนนำ�เก้าอีม้ าต่อกนั ใหเ้ หมอื นนั่งรถทวั ร์
๒. ใหน้ กั เรยี นอา่ นเรอ่ื ง ไปเทยี่ วตราด อกี ครง้ั โดยครจู ะเปน็ ผบู้ อกใหเ้ รมิ่ และหยดุ นกั เรยี นทกุ คนแมไ้ มไ่ ดอ้ า่ น
อยกู่ ต็ ้องดูตาม เพือ่ ให้สามารถอ่านต่อจากเพ่ือนไดถ้ กู วรรค ทุกคร้ังที่เพอื่ นอ่านจบ ทุกคนต้องออกเสียง
พรอ้ มกนั วา่ "บร๊ืน บร๊ืน"
๓. หลังจากทอ่ี ่านครบทุกคนแลว้ ให้นักเรยี นท�ำ แบบฝกึ หัดในหนังสอื เรยี น (แบบฝกึ หัด คณุ ครสู ามารถแบ่ง
ให้นกั เรียนท�ำ ไดต้ ามความเหมาะสม)

๔. ขัน้ สรปุ ความรู้
๑. คณุ ครูแ จกใบงาน “เรียนร้จู ากเลม่ เล็ก”
๒. น ักเรียนตัดใบงานตามรอยประ เขียนข้อมูลตามประเด็นในใบงาน
เพอื่ ฝกึ สรปุ เรอื่ งจากการอ่าน
๓. ติดกาวให้เปน็ สมดุ เล่มเลก็ แลว้ ตกแตง่ ใหส้ วยงาม

๕. ขั้นประยกุ ต์ใชค้ วามรู้
๑. แบง่ กล่มุ กลุ่มละ ๕ - ๖ คน
๒. ชว่ ยกนั คดิ วา่ ในชมุ ชน หรอื จงั หวดั ของตวั เอง มอี าหาร สถานที่ หรอื
จดุ เด่นอะไรทนี่ ่าสนใจ
๓. น �ำ ขอ้ มลู มาน�ำ เสนอในรปู แบบตา่ งๆ ขน้ึ อยกู่ บั ดลุ ยพนิ จิ ของครหู รอื ขอ้ ตกลงรว่ มกนั เชน่ แผน่ พบั โปสเตอร์
ป้ายนิเทศ ฯลฯ

เครื่องมอื - สอื่ การเรียนรู้

๑. ชาร์ตบทเพลง “เต่า งู และ กา”
๒. หนงั สอื เรียนอา่ นออกเขยี นได้ ป.๓ เลม่ ๒
๓. ใบงาน “เรียนรจู้ ากเลม่ เลก็ ”

การวัดและประเมินผล

๑. ส ังเกตพฤติกรรมการอ่าน / การออกเสยี ง / การสะกดค�ำ ของนกั เรยี น
๒. ป ระเมนิ ผลจากคะแนนการทำ�แบบฝกึ หดั ของนักเรยี น
(การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม บางชั้นเรียนอาจมีการทดสอบ
ก่อนเรยี น - หลังเรยี น การเขียนตามค�ำ บอก การทดสอบการอา่ น ฯลฯ)

บริษทั ธารปญั ญา จ�ำ กัด สงวนลิขสทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 27

ใบงานประกอบแผนการสอน บทท่ี ๑๒ (๑) :

เรยี นรู้จากเล่มเลก็

 ตัด เขยี นสรุปเรอื่ งตามประเด็นในใบงาน ระบายสีตกแตง่ จากนนั้ ติดกาวใหเ้ ปน็ หนังสอื เลม่ เล็ก

ตัดตามรอยประ พบั ตามรอย ✄

ทากาว ทากาว มใี ครไปบา้ ง...

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

มอี าหารอะไรบ้าง

------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บรษิ ัทธารปัญญา จ�ำ กัด สงวนลขิ สทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 28

ใบงานประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ บทท่ี ๑๒ (๑) :

เรยี นรจู้ ากเลม่ เล็ก

 ตัด เขยี นสรุปเรอื่ งตามประเด็นในใบงาน ระบายสตี กแต่ง จากน้นั ติดกาวใหเ้ ป็นหนังสอื เลม่ เลก็

ตัดตามรอยประ พบั ตามรอย ✄

ท่องเท่ยี ววนั แรก...

ทากาว ทากาว --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ทากาว ท่องเทย่ี ววนั ทสี่ อง...

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ทอ่ งเทยี่ ววนั ทสี่ าม...

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

บริษัทธารปญั ญา จำ�กดั สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 29

แผนการจัดการเรียนรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้ อ่านออก เขียนได้ เล่ม ๒
กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๓

บทที่ ๑๒ ไปเทย่ี วตราด (๒) จ�ำ นวน ๒ ช่ัวโมง

มาตรฐานการเรยี นรู้

๑. มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ น�ำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการด�ำ เนนิ
ชีวิต และมนี ิสยั รักการอา่ น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใ ช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขยี นเรื่องราวในรูปแบบ
ต่างๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

๒. ตวั ชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นออกเสยี งค�ำ ขอ้ ความ เรอ่ื งสนั้ ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๕ สรุปความรู้และข้อคิดจากเร่ืองทอี่ ่านเพ่อื น�ำ ไปใช้ในชวี ิตประจ�ำ วนั
มาตรฐาน ท ๒.๑ ป.๓/๒ เขียนบรรยายเกยี่ วกับสงิ่ ใดสิ่งหนงึ่ ไดอ้ ย่างชัดเจน

สาระสำ�คญั

เม่ือเรื่องราวท่ีผู้เรียนได้อ่าน มีความซับซ้อนมากข้ึน ผู้เรียนควรเรียนรู้การลำ�ดับเหตุการณ์สำ�คัญในเร่ือง เพ่ือ
ทบทวนความเข้าใจ รวมถึงจัดระบบความคิดและพัฒนาทักษะด้านการอ่าน เม่ือมีทักษะการอ่านท่ีดีควรฝึกทักษะ
การเขียน การเขียนบรรยาย เป็นการพัฒนา ๒ ทักษะควบคกู่ ันไป

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

๑. สามารถอ่านและสรุปเรอ่ื งราวในบทเรยี นได้
๒. สามารถเขียนเพื่อบรรยายเกยี่ วกับส่งิ ใดสง่ิ หนึง่ ได้

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง
๑. การอ่านจบั ใจความจากสือ่ ต่างๆ เช่น นทิ าน เร่อื งเลา่ ส้ันๆ บทเรยี นในกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ่นื
๒. ก ารอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของค�ำ ค�ำ คลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ทปี่ ระกอบ
ด้วยค�ำ พ้ืนฐานเพม่ิ จาก ป.๒ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑,๒๐๐ คำ�
๓. การเขยี นบรรยายเก่ียวกับลักษณะของ คน สัตว์ สิ่งของ สถานที่
๑ ๒
กระบวนการจัดการเรียนรู้
๑. ขนั้ นำ�เขา้ ส่บู ทเรียน
๑. ค ุณครใู หน้ ักเรยี นทอ่ ง ทบทวนบทเพลง “เต่า งู และ กา” หาก
นักเรียนจำ�ไมไ่ ด้ใหต้ ิดแผ่นชาร์ตบนกระดาน นว้ิ ชขี้ วาจม้ิ มอื ซา้ ย นว้ิ ช้ซี า้ ยจมิ้ มือขวา

๒. ค ณุ ครูใหน้ กั เรยี นเคล่อื นไหวประกอบบทเพลง “เตา่ งู และ กา” ๓๔
ในท่าที่มีจังหวะสนุกสนานโดย คือ ใช้น้ิวช้ี (มือขวา) จ้ิมฝ่ามือ
ซ้าย - ใช้นวิ้ ช้ี (มอื ซา้ ย) จมิ้ ฝา่ มอื ขวา - ใช้ก�ำ ปนั้ ขวาแตะฝา่ มอื ก�ำ ป้ันขวา กำ�ป้ันซ้าย
ซา้ ย - ใชก้ �ำ ปัน้ ซา้ ยแตะฝา่ มือขวา

แตะมอื ซา้ ย แตะมือขวา

บริษทั ธารปัญญา จำ�กัด สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 30

๒. ขั้นน�ำ เสนอความรู้
๑. ค ณุ ครูสอนนกั เรียนอา่ น เรอ่ื ง สัตว์แปลกชายเลน ในหนงั สือเรยี น
๒. ค ุณครูพานักเรียนอ่าน และให้นักเรียนช้ีอ่านไปพร้อมกันท้ังห้องจนจบ (ในกรณีท่ีนักเรียนยังไม่สามารถ
อ่านด้วยตัวเองได้ คุณครูจำ�เป็นต้องพาอ่านไปทีละย่อหน้าก่อน ขั้นตอนการสอนคุณครูสามารถปรับให้
เหมาะสมหรอื ความพรอ้ มของนักเรียนได้)
๓. เมื่อจบทัง้ เรื่องแลว้ คณุ ครูอาจจะพดู คุย หรอื ถามนกั เรียนวา่ ในเร่ืองนกี้ ล่าวถึงใคร ก�ำ ลังท�ำ อะไร

๓. ขน้ั ลงมอื เรยี นรู้
๑. คุณครใู ห้นกั เรียนนัง่ เป็นวงกลม
๒. ใหน้ ักเรยี นอ่านเรอ่ื ง สัตว์แปลกชายเลน อกี ครงั้ โดยครจู ะเปน็ ผบู้ อกให้เริม่ และหยดุ นกั เรยี นทกุ คนแม้
ไม่ไดอ้ า่ นอย่กู ต็ ้องดูตามไปดว้ ย เพ่ือใหส้ ามารถอ่านต่อจากเพือ่ นไดถ้ กู วรรค
๓. ห ลังจากทีอ่ ่านครบทกุ คนแลว้ ให้นกั เรียนทำ�แบบฝึกหัดในหนังสอื เรยี น

๔. ข้ันสรุปความรู้
๑. คุณคร แู จกใบงาน “จกิ ซอวส์ รปุ เร่อื ง”
๒. น ักเรียนตัดใบงานตามรอยประ อ่านข้อความ
บนจิกซอว์ แล้วจับคู่ภาพกับข้อความให้ถูก
ต้อง เพ่ือฝึกจับใจความสำ�คัญและสรุปเรื่อง
จากการอา่ น
๓. จับคู่จิกซอว์แล้วติดลงในสมุด และอ่านพร้อม
กันทง้ั ห้อง

๕. ขัน้ ประยุกตใ์ ช้ความรู้
๑. ให้นกั เรียนเลือกสิ่งมชี ีวิต ๑ ชนิด จากเรอ่ื ง สัตวแ์ ปลกชายเลน
๒. นำ�ขอ้ มูลส่ิงมีชีวิตน้นั ๆ จากเนอื้ เรอ่ื งมานำ�เสนอในรูปแบบท่นี ักเรยี นชอบ ขนาดไม่เกนิ กระดาษเอส่ี เช่น
แผ่นพับ โปสเตอร์ แผนผงั ความคดิ ฯลฯ โดยเขยี นข้อมลู และวาดภาพประกอบใหน้ า่ สนใจ
๓. น�ำ ผลงานมาตดิ บนปา้ ยนิเทศ หรือวางบนโตะ๊ แล้วให้นกั เรยี นเดนิ ดผู ลงานของเพอ่ื นๆ

เครอ่ื งมอื - สอื่ การเรยี นรู้

๑. ชารต์ เพลง “เตา่ งู และ กา”
๒. หนงั สอื เรียนอ่านออกเขียนได้ ป.๓ เล่ม ๒
๓. ใบงาน “จิกซอว์สรุปเรือ่ ง”

การวดั และประเมินผล

๑. ส งั เกตพฤติกรรมการอ่าน / การออกเสยี ง / การสะกดค�ำ ของนักเรยี น
๒. ประเมนิ ผลจากคะแนนการทำ�แบบฝกึ หัดของนักเรียน
(การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ
ก่อนเรยี น - หลังเรียน การเขยี นตามคำ�บอก การทดสอบการอ่าน ฯลฯ)

บริษทั ธารปัญญา จำ�กัด สงวนลขิ สทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 31

ใบงานประกอบแผนการจัดการเรยี นรู้ บทที่ ๑๒ (๒) : ✄

จิกซอว์สรปุ เร่อื ง (๑)

 ตดั ตามรปู รา่ ง แลว้ น�ำ จิกซอว์ภาพตอ่ กบั จกิ ซอวข์ ้อมลู ให้ถูกต้อง

ปูกา้ มดาบ

ตน้ โกงกาง ปลา ีตน ปูแสม

ลิงแสม

บรษิ ัทธารปัญญา จ�ำ กัด สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 32

ใบงานประกอบแผนการสอน บทที่ ๑๒ (๒) : ✄

จิกซอวส์ รุปเรื่อง (๒) ใ ้ชครีบแทนขา ๒ ข้าง
เมื่อคลานบน ิดน มีหัวให ่ญ
 ตัดตามรปู ร่าง แล้วนำ�จิกซอว์ภาพตอ่ กบั จกิ ซอวข์ อ้ มูลใหถ้ ูกต้อง และมีตาโปน ๑ คู่ บน ัหว

มกี ้ามใหญ่ข้างหนึง่ ออกหา ิกนเวลากลาง ืคน
สื่อสารกับปตู วั อื่นด้วยการใช้ ชอบ ุขดรูอาศัย ตามต้นโกงกาง

ก้ามเคาะกบั พนื้ เป็น ูปดอง ี่ทอ ู่ยใน ้สมตำ�

อายุยนื มรี ากคา้ํ ยันแข็งแรง
ซึ่งเปน็ ทีอ่ ย่ขู องสตั ว์ชนดิ ต่างๆ

ด�ำ นํ้าได้ถงึ ๕๐ เมตร
มขี นสนี ํ�้ำ ตาล หางยาว

หัวต้งั แหลมช้ขี นึ้

บริษัทธารปญั ญา จ�ำ กดั สงวนลขิ สทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 33

แผนการจัดการเรียนรู้
หนว่ ยการเรียนรู้ อ่านออก เขยี นได้ เล่ม ๒
กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๓

บทท่ี ๑๓ สง่ ขา่ ว เลา่ เรื่อง (๑) จำ�นวน ๒ ชัว่ โมง

มาตรฐานการเรยี นรู้

๑. มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใ ชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ น�ำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการด�ำ เนนิ
ชีวติ และมีนสิ ยั รักการอา่ น
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใ ช้กระบวนการเขยี นเขียนส่อื สาร เขียนเรยี งความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรปู แบบ
ตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
มาตรฐาน ท ๔.๑ เ ขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา
ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัตขิ องชาติ

๒. ตวั ช้วี ดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นออกเสยี งค�ำ ขอ้ ความ เรอ่ื งสน้ั ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่
มาตรฐาน ท ๒.๑ ป.๓/๔ เขยี นจดหมายลาครู
มาตรฐาน ท ๔.๑ ป.๓/๕ แตง่ ประโยคงา่ ยๆ

สาระส�ำ คญั

ทกั ษะทผี่ เู้ รยี นตอ้ งฝกึ ฝนควบคกู่ บั การอา่ นกค็ อื การสรปุ และจบั ใจความส�ำ คญั เมอ่ื สามารถอา่ นและสรปุ ใจความ
สำ�คญั ไดแ้ ล้ว จะช่วยใหผ้ ู้เรยี นสามารถเรียบเรียงเรือ่ งราว เพอ่ื ถ่ายทอดผา่ นการพูดได้ดมี ากขน้ึ

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

๑. สามารถอา่ นและสรุปเรอ่ื งราวจากบทเรยี นได้
๒. แตง่ ประโยคงา่ ยๆ จากค�ำ ศัพทใ์ นบทเรียน

สาระการเรียนร้แู กนกลาง

๑. ก ารอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของค�ำ คำ�คล้องจอง ข้อความ และบทร้อยกรองงา่ ยๆ ที่
ประกอบดว้ ยคำ�พืน้ ฐานเพ่ิมจาก ป.๒ ไม่น้อยกว่า ๑,๒๐๐ คำ�

๒. การแตง่ ประโยคเพอ่ื การสอื่ สาร
๓. การเขยี นจดหมายลาครู

กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ๑

๑. ข้นั น�ำ เขา้ สบู่ ทเรยี น ตบมอื
๑. ค ุณครูให้นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบบทกลอน “ลูกเป็ด” (ดัง
ตัวอย่าง) โดยท่องกลอนวา่ “ตน่ื ขนึ้ แตเ่ ชา้ เอาขา้ วใหเ้ ป็ด อยา่ ทำ� ๒๓
อึงเอ็ด เปด็ ข้ีตกใจ หาหอยหาปลา เรงิ รา่ นํ้าใส เป็ดจงึ ออกไข่ ให้
เราไดก้ ิน” ควา่ํ แกว้ หงายแกว้
๒. ค ุณครตู ิดชารต์ บทกลอน “ลกู เปด็ ” บนกระดานเคลื่อนท่ี ชอ้ี า่ นให้
นักเรยี นฟงั แล้วใหน้ กั เรียนอ่านตามจนคลอ่ ง

บริษัทธารปญั ญา จ�ำ กดั สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 34

๒. ขั้นนำ�เสนอความรู้ (ตวั อย่างการสอนอา่ น
๑. คุณครูสอนนักเรียนอ่านเร่ือง นํ้าท่วมใหญ่ในกรุงเทพฯ ในหนังสือเรียน จากเรื่อง เทศกาลอาหาร)
หนา้ ๑๐๒
๒. คุณครูพานักเรียนอ่าน และให้นักเรียนชี้อ่านไปพร้อมกันทั้งห้องจนจบ
(ในกรณที ่ีนักเรียนยงั ไม่สามารถอ่านดว้ ยตัวเองได้ คุณครจู �ำ เป็นต้องพา
อ่านไปทีละย่อหน้าก่อน ขั้นตอนการสอนคุณครูสามารถปรับให้เหมาะ
สมหรอื ความพรอ้ มของนักเรียนได)้
๓. ให้นกั เรยี นท�ำ แบบฝกึ หดั ในหนงั สือเรยี น

๓. ขัน้ ลงมือเรยี นรู้
๑. คุณครสู อนนักเรียนอา่ นเรือ่ ง ส่งขา่ ว เลา่ เร่ือง ในหนังสอื เรยี น
๒. ค ุณครูพานกั เรียนอ่านและใหน้ ักเรียนชี้อ่านไปพรอ้ มกันท้ังห้องจนจบ
๓. เ มอื่ จบทงั้ เรอ่ื งแลว้ คณุ ครอู าจจะพดู คยุ หรอื ถามนกั เรยี นวา่ ในเรอ่ื งนกี้ ลา่ วถงึ ใคร ท�ำ อะไร ทไี่ หน เมอื่ ไหร่

อย่างไร

๔. ให้นกั เรยี นท�ำ แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน

๔. ขน้ั สรุปความรู้
๑. คณุ ครแู จกใบงาน “อักษรซอ่ นค�ำ ”
๒. น กั เรียนดูภาพ แล้ววงกลมล้อมรอบคำ�ในตาราง จากนั้นเขยี นคำ�ท่ีได้ แลว้
แต่งประโยค เพื่อให้ผู้เรียนได้ทบทวนคำ� ความหมายของคำ�จากเนื้อเร่ือง
และสามารถน�ำ ค�ำ ศพั ทไ์ ปใชใ้ นรูปแบบประโยค

๕. ข้ันประยุกตใ์ ช้ความรู้
คณุ ครใู ห้นกั เรียนฝึกเขยี นจดหมายลา คนละ ๑ ฉบบั (กิจกรรมในขั้นนี้ คณุ ครู
ควรสอนร่วมกบั การสอนเนอ้ื หา จากหนังสอื เรยี นอา่ นออกเขียนได้ ป.๓ เล่ม
๓ ในบทที่ ๑๖ เรือ่ ง การเขียนจดหมาย)

เครื่องมือ - สอื่ การเรยี นรู้

๑. ชาร์ตบทกลอน “ลูกเป็ด”
๒. หนงั สือเรยี นอา่ นออกเขยี นได้ ป.๓ เล่ม ๒"
๓. ใบงาน “อักษรซ่อนคำ�”
๔. แกว้ ส�ำ หรับเคาะจงั หวะ

การวัดและประเมนิ ผล

๑. ส ังเกตพฤติกรรมการอา่ น / การออกเสยี ง / การสะกดค�ำ ของนักเรยี น
๒. ป ระเมินผลจากคะแนนการท�ำ แบบฝึกหัดของนกั เรยี น
(การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ
ก่อนเรยี น - หลงั เรยี น การเขียนตามค�ำ บอก การทดสอบการอ่าน ฯลฯ)

บริษัทธารปัญญา จำ�กัด สงวนลิขสทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 35

ใบงานประกอบแผนการจดั การเรียนรู้ บทที่ ๑๓ (๑) :

อักษรซ่อนคำ�

 ดูภาพ แล้ววงกลมลอ้ มรอบคำ�ใหถ้ ูกต้อง จากนั้นเขียนค�ำ ท่ไี ด้ลงในช่องวา่ งดา้ นลา่ งและแต่งประโยค

๑๒๓

๔๕๖

จ อ พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์
ด นุ ม ค ง เ ม ร
ห ส ว น สั ต ว์ ถ
มา ไพนสก ไ
า ว ธปดช ไ ฟ
ย รี ร ถ ย น ต์ ฟ้
บ ย์ น ฟ า ถ ย า

เขียนค�ำ - แต่งประโยค

๑. :--------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------------------------- 36
๒. :--------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------
๓. :--------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------
๔. :--------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------
๕. :--------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------
๖. :--------------------------------------------- ----------------------------------------------------------------------------------------------

บริษัทธารปญั ญา จ�ำ กัด สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒

แผนการจดั การเรียนรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้ อา่ นออก เขยี นได้ เล่ม ๒
กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓

บทที่ ๑๓ สง่ ข่าว เลา่ เรื่อง (๒) จำ�นวน ๒ ชวั่ โมง

มาตรฐานการเรยี นรู้

๑. มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใ ชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ น�ำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการด�ำ เนนิ
ชีวติ และมีนิสัยรักการอ่าน
มาตรฐาน ท ๕.๑ เ ขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ คา่ และน�ำ
มาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จรงิ

๒. ตวั ชี้วดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นออกเสยี งค�ำ ขอ้ ความ เรอ่ื งสน้ั ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๕ สรปุ ความรู้และข้อคดิ จากเรื่องที่อา่ นเพื่อนำ�ไปใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั
มาตรฐาน ท ๕.๑ ป.๓/๓ แสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับวรรณคดีทอี่ า่ น

สาระส�ำ คญั

เมอื่ ผเู้ รยี นไดฝ้ กึ ฝนการอา่ นและการสรปุ ใจความส�ำ คญั แลว้ ตอ้ งฝกึ ฝนดา้ นการแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ สง่ิ ทไ่ี ดอ้ า่ น
ดว้ ยเพอื่ เปน็ การฝกึ และพฒั นาระบบความคดิ ปพู นื้ ฐานใหร้ จู้ กั การแสดงความคดิ เหน็ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ อยา่ งมเี หตผุ ล

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

๑. สามารถอ่านและสรปุ เรอ่ื งราวจากบทเรียนได้
๒. สามารถแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกบั วรรณคดีหรอื วรรณกรรมได้

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

๑. การอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของคำ� ค�ำ คลอ้ งจอง ขอ้ ความ และบทรอ้ ยกรองง่ายๆ ท่ี
ประกอบดว้ ยคำ�พ้นื ฐานเพม่ิ จาก ป.๒ ไมน่ ้อยกวา่ ๑,๒๐๐ คำ�

๒. ก ารอ่านจบั ใจความจากสื่อตา่ งๆ เช่น นิทานหรือเรอ่ื งเก่ยี วกบั ทอ้ งถิน่ เร่ืองเล่าส้ันๆ ฯลฯ
๓. วรรณกรรมและวรรณคดใี นบทเรยี นและตามความสนใจ

กระบวนการจัดการเรียนรู้

๑. ขน้ั นำ�เข้าสู่บทเรยี น
๑. ค ุณครูให้นักเรียนทำ�กิจกรรม “ทำ�ตรงข้ามกัน” เพื่อฝึกสมองก่อนเข้าสู่บทเรียน
โดยให้นกั เรยี นฟงั และดูท่าทางของครู แลว้ ทำ�ตามค�ำ สั่ง เช่น ยนื นั่ง หันซา้ ย หัน
ขวา คุณครสู ลับคำ�ส่งั และใหท้ ำ�หลายๆ ครง้ั
๒. เปล่ยี นกตกิ า โดยใหน้ ักเรียนทำ�ตรงข้ามกบั คำ�สง่ั เชน่ ครพู ดู ว่ายนื นักเรียนต้องนง่ั
ครพู ดู ว่าน่งั นักเรยี นตอ้ งยืน สลบั ค�ำ ส่ังและให้ท�ำ หลายๆ รอบ

บรษิ ัทธารปัญญา จ�ำ กัด สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 37

๒. ขนั้ น�ำ เสนอความรู้
๑. ค ุณครสู อนนักเรยี นอ่านเรอ่ื ง ไชยเชษฐ์ ในหนงั สือเรยี น
๒. ค ุณครูพานักเรียนอ่าน และให้นักเรียนชี้อ่านไปพร้อมกันท้ังห้องจนจบ (ในกรณีที่นักเรียนยังไม่สามารถ
อ่านด้วยตัวเองได้ คุณครูจำ�เป็นต้องพาอ่านไปทีละย่อหน้าก่อน ข้ันตอนการสอนคุณครูสามารถปรับให้
เหมาะสมและความพรอ้ มของนกั เรยี นได้)
๓. เมือ่ จบทง้ั เรอ่ื งแล้ว คณุ ครูถามนกั เรียนวา่ ในเรอ่ื งนกี้ ล่าวถงึ ใคร ทำ�อะไร ที่ไหน เมอ่ื ไหร่ อยา่ งไร
๔. ให้นักเรยี นทำ�แบบฝึกหัดในหนังสือเรยี น

๓. ขั้นลงมือเรียนรู้
๑. ค ุณครสู อนนักเรยี นอา่ นเรื่อง เทพบุตร เทพธดิ า นางกวกั ในหนังสอื เรยี น
๒. ค ุณครูพานกั เรยี นอา่ นและใหน้ ักเรยี นชอี้ า่ นไปพร้อมกนั ท้งั ห้องจนจบ
๓. เมอ่ื จบทง้ั เรอื่ งแลว้ คณุ ครอู าจจะพดู คยุ หรอื ถามนกั เรยี นวา่ ในเรอื่ งนก้ี ลา่ วถงึ ใคร ท�ำ อะไร ทไี่ หน เมอื่ ไหร่
อย่างไร
๔. ใ ห้นกั เรยี นทำ�แบบฝกึ หัดในหนังสือเรียน หนา้

๔. ขั้นสรปุ ความรู้
๑. คุณครู แจกใบงาน “เทวดาและนางกวัก (3D-GO : Windows 2 บาน)”
๒. น ักเรียนตัดใบงานตามรอยประแล้วพับ จากน้ันเขียนข้อมูลของเทวดา
และนางกวักลงในใบงาน 3D-GO เพ่ือฝึกสรุปเร่ือง และบอกลักษณะ
สำ�คัญของเทวดาและนางกวักได้
๓. ติดใบงานลงในสมดุ

๕. ขน้ั ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้
๑ . ใ หน้ กั เรยี นท�ำ กจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ การแสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั วรรณคดหี รอื วรรณกรรมทอี่ า่ น โดยเลอื ก
ตัวละครจากเร่อื งไชยเชษฐ์ท่ีชนื่ ชอบ ๑ ตวั ละคร
๒. วาดภาพตวั ละคร พร้อมเขียนชื่อตัวละคร และเหตผุ ลทชี่ ่ืนชอบ
๓. คณุ ครพู ูดคุยกบั นกั เรียนว่าใครชอบตวั ละครตวั ไหน เพราะอะไร

เครื่องมือ - สอ่ื การเรยี นรู้

๑. หนังสือเรยี นอ่านออกเขียนได้ ป.๓ เล่ม ๒
๒. ใบงาน “เทวดาและนางกวกั (3D-GO : Windows 2 บาน)”

การวดั และประเมนิ ผล

๑. ส งั เกตพฤตกิ รรมการอ่าน / การออกเสยี ง / การสะกดค�ำ ของนกั เรยี น
๒. ป ระเมินผลจากคะแนนการท�ำ แบบฝึกหดั ของนักเรยี น
(การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ
กอ่ นเรยี น - หลังเรยี น การเขยี นตามค�ำ บอก การทดสอบการอา่ น ฯลฯ)

บรษิ ทั ธารปญั ญา จ�ำ กัด สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 38

ใบงานประกอบแผนการจดั การเรยี นรู้ บทท่ี ๑๓ (๒) : ตดั ตามรอยประ
พับตามรอย
เทวดาและนางกวกั (GO : Windows 2 บาน)

 ตดั ตามรอยประ และพบั จากนน้ั เขยี นขอ้ มลู เทวดา - นางกวกั ลงในใบงานใหถ้ กู ตอ้ ง


"นางกวกั "

"เทวดา"

บริษัทธารปัญญา จำ�กดั สงวนลิขสทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 39

แผนการจดั การเรียนรู้
หนว่ ยการเรียนรู้ อ่านออก เขยี นได้ เลม่ ๒
กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓

บทท่ี ๑๔ เลน่ เกม เล่นเกนิ (๑) จ�ำ นวน ๒ ชว่ั โมง

มาตรฐานการเรยี นรู้

๑. มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใ ชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื น�ำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการด�ำ เนนิ
ชีวติ และมนี สิ ัยรกั การอ่าน
มาตรฐาน ท ๓.๑ ส ามารถเลือกฟงั และดอู ย่างมีวิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และความรูส้ ึก
ในโอกาสตา่ งๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

๒. ตัวช้ีวดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นออกเสยี งค�ำ ขอ้ ความ เรอื่ งสน้ั ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๕ สรปุ ความรู้และขอ้ คดิ จากเร่ืองท่ีอา่ นเพื่อน�ำ ไปใช้ในชวี ิตประจ�ำ วนั
มาตรฐาน ท ๓.๑ ป.๓/๔ พดู แสดงความคิดเห็นและความร้สู ึกจากเร่อื งทฟ่ี ังและดู

สาระสำ�คัญ

เมอื่ ผเู้ รยี นไดฝ้ กึ ฝนการอา่ นและการสรปุ ใจความส�ำ คญั แลว้ ตอ้ งฝกึ ฝนดา้ นการแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ สงิ่ ทไี่ ดอ้ า่ น
ดว้ ยเพอ่ื เปน็ การฝกึ และพฒั นาระบบความคดิ ปพู น้ื ฐานใหร้ จู้ กั การแสดงความคดิ เหน็ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ อยา่ งมเี หตผุ ล

จุดประสงค์การเรยี นรู้

๑. สามารถอา่ นและสรุปเรอ่ื งราวจากบทเรยี นได้
๒. สามารถแสดงความคดิ เหน็ วเิ คราะห์ขอ้ ดี ข้อเสยี จากการเลน่ เกมหรอื ใช้เทคโนโลยี

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

๑. การอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของค�ำ ค�ำ คล้องจอง ข้อความ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ที่
ประกอบด้วยคำ�พื้นฐานเพม่ิ จาก ป.๒ ไม่นอ้ ยกว่า ๑,๒๐๐ ค�ำ

๒. การอ่านจับใจความจากส่ือต่างๆ เชน่ นิทานหรือเร่อื งเกยี่ วกับท้องถน่ิ เรอื่ งเลา่ สนั้ ๆ ฯลฯ
๓. ก ารจบั ใจความและพดู แสดงความคดิ เหน็ และความรสู้ กึ จากเรอ่ื งทฟ่ี งั และดทู ง้ั ทเี่ ปน็ ความรแู้ ละความบนั เทงิ

กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ๑

๑. ขน้ั น�ำ เข้าส่บู ทเรียน ทุบโตะ๊ ๑ คร้ัง
๑. ค ณุ ครใู หน้ กั เรยี นเคลอ่ื นไหวประกอบเพลง “อง่ึ อา่ ง” ดว้ ยทา่ ทางทส่ี นกุ สนาน
เชน่ ทุบโตะ๊ ๑ คร้งั - ตบมอื ๑ คร้ัง ๒
๒. ค ณุ ครตู ดิ ชารต์ บทเพลง “อง่ึ อา่ ง” บนกระดานเคลอ่ื นท่ี แลว้ ชอี้ า่ นใหน้ กั เรยี น
ฟงั แลว้ ใหน้ ักเรียนอา่ นตามจนคลอ่ ง

ตบมอื ๑ ครง้ั

บรษิ ทั ธารปญั ญา จำ�กัด สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 40

๒. ขั้นน�ำ เสนอความรู้
๑. คณุ ครูสอนนกั เรียนอ่านเรอ่ื ง เล่นเกม เลน่ เกนิ ในหนังสือเรียน
๒. ค ุณครูพานักเรียนอ่าน และให้นักเรียนช้ีอ่านไปพร้อมกันท้ังห้องจนจบ
(ในกรณที ่นี กั เรยี นยังไม่สามารถอา่ นดว้ ยตัวเองได้ คณุ ครจู ำ�เปน็ ตอ้ งพา
อ่านไปทีละย่อหน้าก่อน ขั้นตอนการสอนคุณครูสามารถปรับให้เหมาะ
สมและความพร้อมของนกั เรียนได้)
๓. เ มอ่ื จบท้งั เรื่องแลว้ คุณครถู ามนักเรยี นวา่ ในเร่อื งน้ีกล่าวถงึ ใคร ทำ�อะไร
ทไี่ หน เมอื่ ไหร่ อย่างไร
๔. ให้นกั เรยี นทำ�แบบฝกึ หดั ในหนังสือเรยี น
๓. ขั้นลงมอื เรียนรู้ (ตวั อยา่ งการสอนอ่าน
จากเร่อื ง เทศกาลอาหาร)

๑. ค ณุ ครูสอนนักเรียนอา่ นเรื่อง ภัยจากการเล่นเกม ในหนังสอื เรียน
๒. ค ณุ ครูพานักเรยี นอ่านและให้นักเรยี นช้ีอา่ นไปพรอ้ มกนั ทงั้ ห้องจนจบ
๓. เ มอ่ื จบทง้ั เรอื่ งแลว้ คณุ ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเกยี่ วกบั การเลน่ เกม โทษของการเลน่ เกมมากเกนิ ไป

๔. ใหน้ ักเรียนท�ำ แบบฝึกหดั ในหนังสือเรยี น

๔. ขั้นสรุปความรู้
๑. ค ณุ ครแจกใบงาน “ลองสรุปปญั หา (3D-GO : Windows 4
บาน)”
๒. ตัดใบงานตามรอยประ ติดลงในสมุด
๓. สรปุ ข้อมลู เกีย่ วกบั ปญั หา หรือภัยจากการเลน่ เกม จากเรอ่ื ง
ภยั จากการเล่นเกม ลงในใบงาน

๕. ขัน้ ประยกุ ต์ใช้ความรู้
๑ . คุณครถู ามนกั เรยี นวา่ เคยเลน่ เกมอะไรบา้ ง
๒. ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ ๕ - ๗ คน ชว่ ยกนั เลอื กเกมทชี่ อบ ๑ เกม แลว้ วเิ คราะหว์ า่ เกมนนั้ มปี ระโยชน์
ขอ้ ดี ขอ้ เสยี อย่างไร แล้วเขียนลงในกระดาษปรู๊ฟ
๓. แต่ละกลมุ่ น�ำ เสนอผลงานหนา้ ช้ันเรียน

เคร่ืองมือ - สื่อการเรียนรู้

๑. ชารต์ เพลง “อ่งึ อา่ ง”
๒. หนังสอื เรยี นอา่ นออกเขียนได้ ป.๓ เล่ม ๒
๓. ใบงาน “ลองสรุปปญั หา (3D-GO : Windows 4 บาน)”
๔. กระดาษปรูฟ๊

การวดั และประเมินผล

๑. ส ังเกตพฤติกรรมการอ่าน / การออกเสยี ง / การสะกดคำ� ของนักเรียน
๒. ป ระเมินผลจากคะแนนการทำ�แบบฝึกหดั ของนักเรียน
(การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม บางชั้นเรียนอาจมีการทดสอบ
กอ่ นเรียน - หลงั เรยี น การเขียนตามค�ำ บอก การทดสอบการอา่ น ฯลฯ)

บริษัทธารปัญญา จำ�กดั สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 41

ใบงานประกอบแผนการจัดการเรยี นรู้ บทท่ี ๑๔ (๑) : ตดั ตามรอยประ
พับตามรอย
ลองสรปุ ปญั หา (GO : Windows 4 บาน)

 ตัดตามรอยประ ตดิ ใบงานลงในสมุด แลว้ ลงมือทำ�ใบงาน

ัปญหา จเากล่กนาเรกมเกินพอ ีด

บริษัทธารปญั ญา จ�ำ กัด สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 42

แผนการจดั การเรยี นรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้ อ่านออก เขียนได้ เลม่ ๒
กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๓

บทที่ ๑๔ เล่นเกม เลน่ เกิน (๒) จำ�นวน ๒ ชั่วโมง

มาตรฐานการเรียนรู้

๑. มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ น�ำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการด�ำ เนนิ
ชวี ติ และมนี สิ ยั รกั การอา่ น
มาตรฐาน ท ๕.๑ เ ขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ คา่ และน�ำ
มาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จรงิ

๒. ตัวชวี้ ดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นออกเสยี งค�ำ ขอ้ ความ เรอ่ื งสน้ั ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๕ สรุปความรแู้ ละขอ้ คดิ จากเร่อื งทอ่ี ่านเพ่อื น�ำ ไปใชใ้ นชีวติ ประจ�ำ วัน
มาตรฐาน ท ๕.๑ ป.๓/๒ รจู้ ักเพลงพ้นื บ้านและเพลงกลอ่ มเด็ก เพ่ือปลกู ฝงั ความชนื่ ชมวฒั นธรรมท้องถิ่น

สาระส�ำ คัญ

เมอื่ ผเู้ รยี นไดฝ้ กึ ฝนการอา่ นและการสรปุ ใจความส�ำ คญั แลว้ ตอ้ งฝกึ ฝนดา้ นการแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ สง่ิ ทไ่ี ดอ้ า่ น
ดว้ ยเพอื่ เปน็ การฝกึ และพฒั นาระบบความคดิ ปพู น้ื ฐานใหร้ จู้ กั การแสดงความคดิ เหน็ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ อยา่ งมเี หตผุ ล

จุดประสงค์การเรยี นรู้

๑. สามารถอา่ นและสรุปเร่อื งราวจากบทเรยี นได้
๒. เรยี นรบู้ ทรอ้ งเล่น เพลงพื้นบ้าน และการละเลน่ พืน้ บ้าน

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

๑. ก ารอ่านออกเสียงและการบอกความหมายของคำ� ค�ำ คลอ้ งจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ ที่
ประกอบด้วยคำ�พน้ื ฐานเพิ่มจาก ป.๒ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑,๒๐๐ คำ�

๒. ก ารอา่ นจบั ใจความจากส่อื ต่างๆ เช่น นทิ านหรือเรือ่ งเก่ยี วกบั ทอ้ งถน่ิ เรือ่ งเลา่ สน้ั ๆ ฯลฯ
๓. เ พลงพน้ื บา้ น เพลงกลอ่ มเด็ก

กระบวนการจดั การเรยี นรู้

๑. ข้นั นำ�เข้าสบู่ ทเรยี น
๑. ค ุณครูให้นักเรียนเคลื่อนไหวประกอบเพลง “มดแดง” (จากหนังสือเรียน
หนา้ ๑๓๕) ด้วยท่าทางทสี่ นุกสนาน เช่น แตะนอ่ ง - แตะเขา่ -จบั เอว -แตะ
ไหล่ - เท้าสะเอว ส่ายเอว
๒. ค ณุ ครูตดิ ชาร์ตบทเพลง “มดแดง” บนกระดานเคลอื่ นท่ี ช้อี า่ นให้นกั เรยี น
ฟงั แลว้ ให้นกั เรียนอ่านตามจนคล่อง

บรษิ ทั ธารปัญญา จำ�กัด สงวนลิขสิทธิ์ © ๒๕๖๒ 43

๒. ขนั้ น�ำ เสนอความรู้
๑. คณุ ครูสอนนกั เรียนอ่านเรอ่ื ง ว่าวไทย ในหนงั สือเรยี น
๒. คุณครูพานักเรียนอ่าน และให้นักเรียนช้ีอ่านไปพร้อมกันท้ังห้องจนจบ (ในกรณีท่ีนักเรียนยังไม่สามารถ
อ่านด้วยตัวเองได้ คุณครูจำ�เป็นต้องพาอ่านไปทีละย่อหน้าก่อน ขั้นตอนการสอนคุณครูสามารถปรับให้
เหมาะสมหรือความพร้อมของนักเรียนได้)
๓. เ มอื่ จบท้ังเร่ืองแลว้ คุณครูพดู คุยกับนักเรยี นเก่ยี วกบั การเล่นวา่ ว และการละเล่นพนื้ บ้านอ่นื ๆ
๔. ให้นกั เรยี นทำ�แบบฝึกหดั ในหนงั สอื เรียน

๓. ขัน้ ลงมอื เรียนรู้
๑. ค ุณครูสอนนักเรยี นอ่านเกร็ดวรรณคดี เรอื่ ง ยอ่ งตอด ในหนงั สือเรียน
๒. คุณครูพานักเรียนอ่าน และใหน้ ักเรยี นชอ้ี า่ นไปพรอ้ มกันท้งั ห้องจนจบ
๓. เมื่ออา่ นจบทั้งเรือ่ งแล้ว คณุ ครูและนักเรยี นรว่ มกันพูดคุยวา่ เร่ืองน้กี ล่าวถึง ใคร ท�ำ อะไร ทไ่ี หน เม่อื ไหร่
อยา่ งไร
๔. นกั เรียนท�ำ แบบฝึกหัดในหนังสอื เรยี น

๔. ขั้นสรุปความรู้
๑. คณุ ครแ ู จกใบงาน “ทำ�ความรู้จกั ยอ่ งตอด”
๒. นกั เรยี นลงมอื ท�ำ ใบงานเพอื่ ฝกึ การสรปุ ใจความส�ำ คญั จากเรอื่ ง ยอ่ งตอด
โดยตอบคำ�ถามจากเนื้อเรื่องลงในช่องว่าง

๕. ข้ันประยกุ ต์ใชค้ วามรู้
๑. ค ณุ ครแู นะน�ำ นกั เรยี นอกี ครงั้ เกย่ี วกบั การละเลน่ พนื้ บา้ นและการละเลน่
ท้องถน่ิ ว่านกั เรยี นรจู้ กั หรือไม่ รจู้ ักการละเลน่ ใดบา้ ง
๒. คณุ ครเู ลอื ก ๑ การละเลน่ เพอ่ื สอนและพานกั เรยี นลองเลน่ เชน่ รรี ขี า้ วสาร มอญซอ่ นผา้ เสอื กนิ ววั เปน็ ตน้
๓. สรปุ การท�ำ กจิ กรรมรว่ มกนั วา่ หลงั จากไดเ้ ลน่ ท�ำ กจิ กรรมการละเลน่ พน้ื บา้ น หรอื ทอ้ งถน่ิ แลว้ รสู้ กึ อยา่ งไร
และกิจกรรมนีม้ ปี ระโยชนอ์ ย่างไร

เครือ่ งมอื - ส่ือการเรียนรู้

๑. ชารต์ บทเพลง “มดแดง”
๒. หนงั สอื เรียนอา่ นออกเขยี นได้ ป.๓ เลม่ ๒
๓. ใบงาน “ทำ�ความรูจ้ ักย่องตอด”
๔. อุปกรณ์สำ�หรับการละเลน่ พื้นบ้าน เชน่ ผ้า หมอ้ ฯลฯ (ขึน้ อยูก่ บั การเลอื กกจิ กรรม)

การวดั และประเมนิ ผล

๑. ส งั เกตพฤตกิ รรมการอ่าน / การออกเสียง / การสะกดคำ� ของนกั เรยี น
๒. ประเมินผลจากคะแนนการท�ำ แบบฝกึ หดั ของนกั เรียน
(การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม บางชั้นเรียนอาจมีการทดสอบ
ก่อนเรยี น - หลงั เรียน การเขยี นตามคำ�บอก การทดสอบการอ่าน ฯลฯ)

บริษทั ธารปญั ญา จ�ำ กัด สงวนลขิ สทิ ธ์ิ © ๒๕๖๒ 44

ใบงานประกอบแผนการจัดการเรยี นรู้ บทท่ี ๑๔ (๒) :

ท�ำ ความรจู้ กั ย่องตอด

 สรุปเรื่อง ย่องตอด โดยเตมิ คำ�ตอบลงในชอ่ งวา่ ง

รปู รา่ ง ลกั ษณะ อาหารของย่องตอด

------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------
------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------
------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------

ท�ำ ไมย่องตอดรับใช้นางละเวง การต่อสู้กับสนิ สมุทร

------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------
------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------
------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------
------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------
------------------------------------------------------- -------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------
-------------------------------------------------------

บรษิ ัทธารปญั ญา จำ�กดั สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 45

แผนการจัดการเรียนรู้
หน่วยการเรยี นรู้ อ่านออก เขยี นได้ เลม่ ๒
กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๓

บทที่ ๑๕ อินทนนท์ ผจญภยั (๑) จำ�นวน ๒ ช่วั โมง

มาตรฐานการเรยี นรู้

๑. มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื น�ำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการด�ำ เนนิ
ชีวิต และมีนสิ ัยรกั การอ่าน
มาตรฐาน ท ๕.๑ เ ขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ คา่ และน�ำ
มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง

๒. ตัวชว้ี ดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นออกเสยี งค�ำ ขอ้ ความ เรอ่ื งสน้ั ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๕ สรุปความรแู้ ละขอ้ คิดจากเรอื่ งท่ีอ่านเพอ่ื นำ�ไปใช้ในชวี ติ ประจำ�วัน
มาตรฐาน ท ๕.๑ ป.๓/๒ ร้จู กั เพลงพนื้ บ้านและเพลงกล่อมเดก็ เพอ่ื ปลกู ฝงั ความชืน่ ชมวัฒนธรรมท้องถ่ิน

สาระสำ�คญั

เพลงพื้นบา้ น และ เพลงกล่อมเด็ก เป็นบทเพลงท่ีนอกจากจะให้ความเพลิดเพลิน สนุกสนานแลว้ ยังชว่ ยพัฒนา
ทักษะดา้ นการอา่ นและการออกเสียงใหผ้ ูเ้ รียน จึงตอ้ งเรยี นร้คู วบคู่ไปด้วย

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้

๑. สามารถอ่านและสรุปเรื่องราวจากบทเรียนได้
๒. เรยี นรเู้ พลงกลอ่ มเด็ก เพลงพื้นบ้าน

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

๑. ก ารอา่ นออกเสียงและการบอกความหมายของค�ำ ค�ำ คลอ้ งจอง ข้อความ และบทร้อยกรองง่ายๆ ท่ี
ประกอบดว้ ยค�ำ พื้นฐานเพม่ิ จาก ป.๒ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๑,๒๐๐ ค�ำ

๒. การอา่ นจบั ใจความจากสอ่ื ต่างๆ เชน่ นทิ านหรอื เรือ่ งเกยี่ วกับท้องถิ่น เร่ืองเล่าส้ันๆ ฯลฯ
๓. เ พลงพน้ื บา้ น เพลงกล่อมเด็ก

กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ๑

๑. ขน้ั น�ำ เขา้ ส่บู ทเรยี น
๑. ค ุณครูให้นักเรียนเคล่ือนไหวร่างกายประกอบบทกลอน “ดูหนูสู่รูงู” (จาก
หนงั สอื อา่ นออกเขยี นได้ ป.๑ เลม่ ๑ บทท่ี ๓) ในทา่ ทมี่ จี งั หวะสนกุ สนาน เชน่
มือซ้ายใชน้ ว้ิ ช้ีแตะหวั แม่มอื (สัญลักษณ์ OK) มอื ขวา ชูนว้ิ ช้ีน้ิวเดียว แลว้ ท�ำ
สลับข้างไปเร่ือยๆ
๒. คุณครูติดชาร์ตบทกลอน “ดูหนูสู่รูงู” บนกระดานเคล่ือนท่ี คุณครูอ่านให้
นักเรยี นฟงั แลว้ ใหน้ กั เรียนร้องตามจนคลอ่ ง

บรษิ ทั ธารปญั ญา จำ�กดั สงวนลิขสิทธ์ิ © ๒๕๖๒ 46

๒. ขนั้ น�ำ เสนอความรู้
๑. คุณครูสอนนักเรียนอ่านเพลงกล่อมเด็ก "เจ้านกกาเหว่าเอย"
ในหนงั สอื เรยี น
๒. คุณครูพานักเรียนอ่าน โดยให้นักเรียนชี้อ่านทีละวรรคพร้อมกันท้ังห้อง
จนจบ
๓. อ ่านเพลงกลอ่ มเดก็ พร้อมกันอกี ครง้ั
๔. ใหน้ ักเรียนท�ำ แบบฝึกหัดในหนังสือเรียน
(ตัวอย่างการสอนอ่าน
๓. ข้ันลงมือเรยี นรู้ จากเรื่อง เทศกาลอาหาร)
๑. คุณครูสอนนักเรยี นอา่ นเรื่อง อนิ ทนนท์ ผจญภัย ในหนงั สอื เรียน
๒. ค ุณครูพานกั เรยี นอ่าน และให้นกั เรยี นชีอ้ า่ นไปพรอ้ มกันทง้ั ห้องจนจบ
๓. เ มอ่ื อ่านจบทั้งเรอ่ื งแลว้ คณุ ครแู ละนักเรยี นร่วมกนั พดู คยุ วา่ เรื่องนี้กล่าวถึง ใคร ทำ�อะไร ที่ไหน เม่ือไหร่
อย่างไร
๔. นักเรยี นทำ�แบบฝึกหัดในหนงั สอื เรียน

๔. ขน้ั สรปุ ความรู้
๑. คุณครแู จกใบงาน “สรุปเรื่องไวใ้ นกระเปา๋ (3D -
GO : Flip)”
๒. นักเรียนตัดใบงาน พบั แล้วเขยี นคำ�ตอบลงในชอ่ ง
ว่าง เพื่อสรุปข้อมูล จากการอ่านเร่ือง อินทนนท์
ผจญภยั
๓. ตดิ ใบงานลงในสมุด

๕. ขั้นประยกุ ตใ์ ช้ความรู้
๑. ค ณุ ครใู หน้ ักเรยี นจบั กลมุ่ กลุ่มละ ๓ - ๕ คน
๒. ร ะดมความคดิ กันวา่ เคยได้ยนิ หรอื เคยรอ้ งเพลงกล่อมเดก็ เพลงพ้ืนบ้าน เพลงไหนบา้ ง
๓. แตล่ ะกลุ่มเลือก ๑ บทเพลง (ไมซ่ า้ํ กัน) แล้วออกมาร้องเพลงน้นั หนา้ ชน้ั เรยี น

เคร่ืองมอื - สอ่ื การเรยี นรู้

๑. ชารต์ บทกลอน “ดูหนสู รู่ งู ู”
๒. หนังสอื เรยี นอ่านออกเขียนได้ ป.๓ เล่ม ๒
๓. ใบงาน “สรุปเร่อื งไวใ้ นกระเป๋า (3D - GO : Flip)”

การวัดและประเมนิ ผล

๑. สงั เกตพฤติกรรมการอ่าน / การออกเสยี ง / การสะกดค�ำ ของนักเรยี น
๒. ป ระเมนิ ผลจากคะแนนการทำ�แบบฝึกหัดของนกั เรียน
(การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ
กอ่ นเรียน - หลังเรยี น การเขียนตามค�ำ บอก การทดสอบการอ่าน ฯลฯ)

บริษัทธารปัญญา จ�ำ กัด สงวนลขิ สทิ ธิ์ © ๒๕๖๒ 47

ใบงานประกอบแผนการจดั การเรียนรู้ บทที่ ๑๕ (๑) : ตัดตามรอยประ

สรุปเรอ่ื งไว้ในกระเปา๋ (3D - GO : Flip) ✄

 ตัดตามรอยประ แล้วพับให้สามารถเปิด-ปดิ ได้ จากนัน้ เขยี นคำ�ตอบและติดลงในสมดุ

กิจกรรม ี่ท ิปงปองและเพ่ือนๆ ได้ทำ�... เ ็ดกๆ เจอนกอะไร ้บาง

เด็กๆ เ ิดนทางไปไหน... ีมใครไป ้บาง?

บรษิ ทั ธารปัญญา จ�ำ กัด สงวนลิขสิทธิ์ © ๒๕๖๒ 48

แผนการจัดการเรียนรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้ อา่ นออก เขียนได้ เลม่ ๒
กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓

บทท่ี ๑๕ อินทนนท์ ผจญภัย (๒) จ�ำ นวน ๒ ชัว่ โมง

มาตรฐานการเรียนรู้

๑. มาตรฐาน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอ่ื น�ำ ไปใชต้ ดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาในการด�ำ เนนิ
ชวี ติ และมนี สิ ัยรักการอ่าน

๒. ตัวชว้ี ดั
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๑ อา่ นออกเสยี งค�ำ ขอ้ ความ เรอ่ื งสนั้ ๆ และบทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คลอ่ งแคลว่
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๓/๕ สรปุ ความรู้และข้อคดิ จากเรอ่ื งที่อา่ นเพ่ือน�ำ ไปใชใ้ นชวี ิตประจำ�วัน

สาระสำ�คัญ

เมอื่ ผเู้ รยี นไดฝ้ กึ ฝนการอา่ นและการสรปุ ใจความส�ำ คญั แลว้ ตอ้ งฝกึ ฝนดา้ นการแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ สง่ิ ทไ่ี ดอ้ า่ น
ดว้ ยเพอ่ื เปน็ การฝกึ และพฒั นาระบบความคดิ ปพู น้ื ฐานใหร้ จู้ กั การแสดงความคดิ เหน็ วพิ ากษ์ วจิ ารณ์ อยา่ งมเี หตผุ ล

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

๑. สามารถอ่านและสรปุ เร่อื งราวจากบทเรียนได้
๒. สามารถคดิ เชื่อมโยงและจนิ ตนาการบทสนทนาของตวั ละครในเรอื่ งได้

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

๑. การอา่ นออกเสยี งและการบอกความหมายของคำ� คำ�คล้องจอง ข้อความ และบทรอ้ ยกรองง่ายๆ ที่
ประกอบด้วยคำ�พน้ื ฐานเพม่ิ จาก ป.๒ ไม่นอ้ ยกว่า ๑,๒๐๐ คำ�

๒. การอา่ นจับใจความจากสือ่ ต่างๆ เชน่ นิทานหรอื เร่ืองเกี่ยวกับทอ้ งถิน่ เร่ืองเล่าส้นั ๆ ฯลฯ

กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ๒ ๑

๑. ขั้นน�ำ เข้าสบู่ ทเรยี น ตบตกั ๒ คร้งั
๑. ใ ห้นักเรียนท่องและเคลื่อนไหวประกอบบทกลอน “ย่ีสิบ
ม้วน” ในท่าท่ีมีจังหวะสนุกสนาน เช่น ตบตักสองคร้ัง - ๓
ตบมือ - ตบอก
๒. ค ณุ ครตู ดิ ชารต์ บทกลอน “ยสี่ บิ มว้ น” บนกระดานเคลอ่ื นท่ี
คุณครูช้ีอ่านให้นักเรียนฟัง แล้วให้นักเรียนอ่านตามทีละ
ประโยคจนคล่อง

ตบมอื ตบอก

บริษทั ธารปญั ญา จำ�กัด สงวนลิขสิทธิ์ © ๒๕๖๒ 49

๒. ข้ันนำ�เสนอความรู้
๑. ค ณุ ครูสอนนักเรียนอ่านสารคดี เร่อื ง ถํา้ เชยี งดาว ในหนังสอื เรียน
๒. คุณครูพานักเรียนอ่าน และให้นักเรียนช้ีอ่านไปพร้อมกันท้ังห้องจนจบ (ในกรณีท่ีนักเรียนยังไม่สามารถ
อ่านด้วยตัวเองได้ คุณครูจำ�เป็นต้องพาอ่านไปทีละย่อหน้าก่อน ข้ันตอนการสอนคุณครูสามารถปรับให้
เหมาะสมหรอื ความพรอ้ มของนกั เรียนได)้
๓. ใหน้ ักเรยี นทำ�แบบฝกึ หดั ในหนังสอื เรยี น

๓. ขน้ั ลงมือเรยี นรู้
๑. คณุ ครูสอนนกั เรียนอ่านนทิ าน เรอื่ ง พญาหงสท์ อง
๒. คุณครพู านักเรียนอ่าน และให้นกั เรยี นชอ้ี า่ นไปพรอ้ มกันท้งั หอ้ งจนจบ
๓. เมอื่ อ่านจบท้งั เรอื่ งแล้ว คณุ ครแู ละนักเรยี นรว่ มกนั พูดคยุ ว่า เรอื่ งนกี้ ลา่ วถึง ใคร ทำ�อะไร ทไ่ี หน เม่อื ไหร่
อยา่ งไร
๔. นักเรยี นทำ�แบบฝึกหัดในหนังสอื เรยี น

๔. ขน้ั สรปุ ความรู้
๑. คณุ ครูแ จกใบงาน “คำ�พูดของใคร”
๒. นกั เรียนดูภาพ แล้วเลือกตัดบทสนทนาตามรอยประ ไปติดใหถ้ กู ต้อง เพอ่ื
ฝึกฝนการวิเคราะห์และสรุปจากการอ่าน

๕. ข้นั ประยกุ ต์ใชค้ วามรู้
๑. คุณครูพานักเรียนไปชมแหล่งธรรมชาติในชุมชน หรือพานักเรียนไปพบ
วทิ ยากร ปราชญช์ าวบ้านเพือ่ เรียนรูต้ �ำ นานท้องถ่นิ หรอื เรือ่ งเลา่ เกีย่ วกับ
สถานทท่ี างธรรมชาตใิ นชุมชน
๒. วาดภาพและบันทึกขอ้ มลู จากการฟังลงในสมดุ ของตนเอง

เครอ่ื งมือ - สือ่ การเรยี นรู้

๑. ชาร์ตบทกลอน “ย่ีสบิ มว้ น”
๒. หนังสอื เรียนอ่านออกเขยี นได้ ป.๓ เลม่ ๒
๓. ใบงาน “คำ�พดู ของใคร”

การวัดและประเมินผล

๑. สังเกตพฤติกรรมการอ่าน / การออกเสยี ง / การสะกดคำ� ของนกั เรยี น
๒. ป ระเมนิ ผลจากคะแนนการทำ�แบบฝกึ หัดของนกั เรียน
(การวัดและการประเมินผล คุณครูสามารถปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสม บางช้ันเรียนอาจมีการทดสอบ
ก่อนเรยี น - หลงั เรียน การเขยี นตามคำ�บอก การทดสอบการอ่าน ฯลฯ)

บริษทั ธารปัญญา จ�ำ กดั สงวนลขิ สิทธิ์ © ๒๕๖๒ 50