เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ
 โวลต์มิเตอร์ คือ เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจรความต้านทานภายในของเครื่องโวลต์มิเตอร์มีค่าสูง วิธีใช้ต้องต่อขนานกับวงจร เครื่องมือที่ใช้วัดค่าความต่างศักย์ในวงจรไฟฟ้า ค่าที่วัดได้มีหน่วย โวลต์ 
เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ
โวลต์มิเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ดัดแปลงมากจากแกลแวนอมิเตอร์ โดยต่อความต้านทาน แบบอนุกรม (Rx) กับแกลแวนอมิเตอร์ และใช้วัดความต่างศักย์ในวงจรโดยต่อแบบขนานกับวงจรที่ต้องการวัด
เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ
โวลต์มิเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้วัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า (แรงดันไฟฟ้าหรือแรงดันตกคร่อม) ระหว่าง จุดสองจุด ในวงจร ความจริงแล้วโวลต์มิเตอร์ก็คือแอมมิเตอร์นั่นเอง เพราะขณะวัดแรงดันไฟฟ้าในวงจร หรือแหล่ง จ่ายแรงดันจะต้องมี กระแสไฟฟ้าไหลผ่านมิเตอร์จึงทำให้เข็มมิเตอร์บ่ายเบนไป และการที่กระแสไฟฟ้าจะไหล ผ่าน เข้าโวลต์มิเตอร์ได้ ท็ต้องมี แรงดันไฟฟ้าป้อนเข้ามา นั่นเองกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้ามีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน กระแสไฟฟ้าไหลได้มากน้อยถ้า จ่ายแรงดันไฟฟ้าเข้ามาน้อย กระแสไฟฟ้าไหลน้อย เข็มชี้บ่ายเบนไปน้อยถ้าจ่าย แรงดันไฟฟ้าเข้ามามาก กระแสไฟฟ้าไหลมาก เข็มชี้บ่ายเบนไปมาก การวัด แรงดันไฟฟ้าด้วยโวลต์มิเตอร์ดีซีโวลต์มิเตอร์สร้างขึ้นมาเพื่อวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของแหล่งจ่ายแรงดัน หรือวัดค่าแรงดันไฟฟ้าตกคร่อม ระหว่างจุดสองจุดในวงจร 

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ

ที่มาภาพ : https://tungelectronic.wordpress.com/tag/โวลต์มิเตอร์/

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ
การใช้โวลต์มิเตอร์ก็เช่นเดียวกับแอมมิเตอร์ ซึ่งมี 2 แบบคือ ใช้กับไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ เมื่อต้องการใช้โวลต์มิเตอร์วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง จุด 2 จุด ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรง จะต้องคำนึงถึงขั้วบวกและขั้วลบด้วย โดยต่อขั้วบวกของโวลต์มิเตอร์เข้ากับขั้วบวกของวงจร และต่อขั้วลบของโวลต์มิเตอร์เข้ากับขั้วลบของวงจร การที่กระแสไฟฟ้าไหลอันเนื่องมาจากความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ขั้วของแหล่งกำเนิดไฟฟ้าแต่ละชนิดก็จะไม่เท่ากัน เช่น ถ่านไฟฉายมีความต่างศักย์ไฟฟ้าประมาณ 1.5 โวลต์ แบตเตอรี่รถยนต์มีความต่างศักย์ไฟฟ้า 12 โวลต์ ส่วนสายไฟภายในบ้านมีความต่างศักย์ไฟฟ้าประมาณ 220 โวลต์ทั้งนี้ถ้าความต่างศักย์ไฟฟ้ามีค่ามากขึ้นระดับพลังงานไฟฟ้าก็จะมากขึ้นด้วย ซึ่งจะมีผลและเป็นอันตรายต่อชีวิตของมนุษย์มากขึ้นด้วยเช่นกัน

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ

    https://sites.google.com/site/sattapolparsawai62/home/wolt-mitexr

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ

เครื่องมือตรวจวัดด้านไฟฟ้า

การพัฒนาทางด้านอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ ทำให้เครื่องมือวัดต่างๆทั้งทางไฟฟ้าและเครื่องกลใช้งานได้ง่ายขึ้น เชื่อถือได้และมีความเที่ยงตรงมากยิ่งขึ้น ต่อไปนี้เป็นเครื่องมือวัดไฟฟ้า

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ

รูปเครื่องมือตรวจวัดด้านไฟฟ้า

ตารางเครื่องมือวัดด้านไฟฟ้า

เครื่องวัดกระแสไฟฟ้า (Ammeter) เครื่องวัดกระแสไฟฟ้าเป็นอุปกรณ์ที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้า (I) มีหน่วยเป็นแอมแปร์ กระแสไฟฟ้าอาจจะเป็นกระแสตรงหรือกระแสสลับ ปัจจุบันเครื่องวัดกระแสไฟฟ้ามีความสะดวกมีลักษณะเป็นปากครีบ-คล้อง ทำให้สามารถตรวจวัดกระแสไฟฟ้าได้ง่าย
เครื่องวัดแรงดันไฟฟ้า (Voltmeter) เครื่องวัดแรงดันไฟฟ้าเป็นเครื่องวัดความแตกต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่าง 2 จุดในวงจรไฟฟ้า ความต่างศักย์นี้มีหน่วยเป็น โวลต์ (V) แรงดันไฟฟ้านี้เป็นค่าตรวจวัดที่สำคัญตัวหนึ่งที่แสดงความสามารถในการขับเคลื่อนพลังงานไฟฟ้า
เครื่องวัดกำลังไฟฟ้า (Power meter) เครื่องวัดกำลังไฟฟ้าเป็นเครื่องมือที่ใช้วัดอัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อหน่วยเวลามีหน่วยเป็น วัตต์ เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการประเมินการใช้พลังงานไฟฟ้าของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องอัดอากาศ ปั้มและมอเตอร์ต่างๆ ปัจจุบันเครื่องวัดกำลังไฟฟ้านอกจากจะแสดงค่ากำลังไฟฟ้าได้แล้วยังสามารถแสดงค่ากระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า ตัวประกอบกำลัง (Power factor) ความถี่ (Frequency) และอื่นๆ ได้อีกด้วย
เครื่องวัดตัวประกอบกำลัง (Power Factor meter) ตัวประกอบกำลังไฟฟ้าไม่มีหน่วย มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับกระแสไฟฟ้า เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ใดๆที่มีอัตราการใช้กำลังไฟฟ้าเท่ากัน ถ้าระบบมีค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าต่ำจะทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าสูงในระบบ
เครื่องวัดความส่องสว่าง (Lux meter) ค่าความส่องสว่าง เป็นระดับความสว่าง (ลูเมน) ที่หลอดเปล่งออกมา  ต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร มีหน่วยเป็นลักซ์ (Lux) หรือ ลูเมนต่อตารางเมตร ใช้เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบค่าความสว่าง เครื่องวัดความส่องสว่างนิยมเรียกกันทั่วไปว่า Lux meter โดยมีหลักการทำงานคือ ให้แสงผ่านตัวรับแสงจากนั้นจะเปลี่ยนความเข้มของแสงให้เป็นค่าทางไฟฟ้าเพื่อนำไปแสดงผล
เครื่องวัดความเร็วรอบ เครื่องมือที่ใช้วัดความเร็วรอบของอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีการหมุนเช่น มอเตอร์ ใบกวน สายพาน เป็นต้น ซึ่งจะมีหน่วยวัดเป็น รอบต่อนาที (rpm)

ความสัมพันธ์ระหว่าง กำลัง (Power), แรงดันไฟฟ้า (Voltage) และกระแสไฟฟ้า


ระบบไฟฟ้ากระแสตรง

กำลังไฟฟ้า (Power) = แรงดันไฟฟ้า x กระแสไฟฟ้า

ระบบกระแสไฟฟ้าสลับ

กำลังไฟฟ้า (Power) = แรงดันไฟฟ้า x กระแสไฟฟ้า x ตัวประกอบกำลัง

กำลังไฟฟ้า


(W) = V x I x PF

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ

วิธีการวัดกำลังไฟฟ้า

ไฟฟ้าที่ใช้ในอุตสาหกรรมมีทั้งแบบ กระแสตรง กระแสสลับ 1 เฟส 3 เฟส การวัดในแต่ละแบบเป็นดังนี้

การวัดกระแสตรง หรือ กระแสสลับ 1 เฟส 2 สาย

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ

Power = V x I x PF
การวัดไฟฟ้ากระแสตรง
หรือ กระแสสลับ 1 เฟส 2 สาย

การวัดวงจร 3 เฟส 3 สาย สมดุล

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ

Power = √3 xV x I x PF
การวัดไฟฟ้ากระแสสลับ
วงจร 3 เฟส 3 สาย สมดุล

การวัดวงจร 3 เฟส 3 สาย ไม่สมดุล

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ

W=W1+W2

การวัดไฟฟ้ากระแสสลับ

3 เฟส 3 สาย ไม่สมดุล

การวัดวงจร 3 เฟส 4 สาย

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ

W=W1+W2+W3

การวัดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส 4 สาย

ตัวอย่าง

ปั๊มน้ำเฟสเดียวใช้กำลังไฟฟ้า 11 kW มีแรงดันไฟฟ้าเท่ากับ 220 โวลต์ ตัวประกอบกำลังไฟฟ้าเท่ากับ 0.85
I = Power / (V x PF)
กระแสไฟฟ้า = (11x1,000) / (220 x 0.85) = 58.8 A

ถ้าตัวประกอบกำลังเป็น 0.6

กระแสไฟฟ้า = (11x1,000) / (220 x 0.6) = 83.3 A

Note

ในระบบไฟฟ้ากระแสสลับ อุปกรณ์ไฟฟ้าประเภทเหนี่ยวนำ เช่น มอเตอร์ไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าจะเกิดการเหนี่ยวนำทำให้เกิดสนามแม่เหล็ก ที่ทำให้กระแสไฟฟ้า (I) ตามหลัง (Lagging) แรงดันไฟฟ้า (V) มีผลให้ค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าต่ำกว่า 1

จากตัวอย่างจะเห็นว่าถ้าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าต่ำจะทำให้กระแสไฟฟ้าในระบบสูงขึ้น ซึ่งจะทำให้เกิดความสูญเสียในสายไฟฟ้ามากขึ้น การไฟฟ้าฯ จึงกำหนดให้ค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้าของโรงงานต้องมากกว่า 0.85 ถ้าต่ำกว่านี้จะถูกปรับค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า (ดูได้จากบิลค่าไฟฟ้า)

วิธีการแก้ไขจะใช้คาปาซิเตอร์ปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลังไฟฟ้า ซึ่งเครื่องวัดตัวประกอบกำลังที่ใช้ในโรงงานจะเป็นแบบอัตโนมัติ โดยจะทำการสั่งให้ต่อคาปาซิเตอร์เข้าระบบไฟฟ้าเมื่อค่าตัวประกอบกำลังของโรงงานต่ำและตามหลัง (Lagging)

Bibliography

กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน. (2555). บทที่ 2 การตรวจวิเคราะห์การอนุรักษ์พลังงาน. In คู่มือการตรวจวิเคราะห์การอนุรักษ์พลังงานสำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (pp. 2-3 - 2-4).

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ ไฟฟ้า หรือ พลังงาน ไฟฟ้าที่ ต่าง กัน ระหว่างจุด 2 จุด ในวงจร คือ

0 Reviews

เครื่องมือชนิดใดที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุด เรียกว่า

1. เครื่องวัดแรงดันไฟฟ้า (Voltmeter) เครื่องวัดชนิดนี้เป็นเครื่องมือวัดความต่างศักย์ของไฟฟ้าระหว่าง 2 จุดในวงจรไฟฟ้าแรงดันไฟฟ้าเป็นค่าหนึ่งที่ต้องวัดในการคํานวณการใช้งานด้านไฟฟ้ามีทั้งประเภทที่ติดตั้งบนแผงควบคุม และชนิดเคลื่อนที่ได้

เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้า คือข้อใด

- เครื่องมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า เรียกว่า โวลต์มิเตอร์ (voltmeter) มีหน่วยการวัด คือ โวลต์ (volt) ใช้ตัวย่อแทนความต่างศักย์ว่า V. รูปแสดงลักษณะโวลต์มิเตอร์

เครื่องมือวัดกําลังไฟฟ้า มีอะไรบ้าง

วัตต์มิเตอร์ (Wattmeter) เป็นเครื่องมือวัดที่ใช้สำหรับวัดกำลังไฟฟ้า (Power) กำลังไฟฟ้าสามารถวัดได้ในรูปของแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า นำค่าที่ได้ทั้งสอง มาคำนวณหากำลัง ไฟฟ้า โดยใช้สูตรคำนวณ ดังนี้ P.

เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้าคืออะไร

เครื่องมือที่ใช้สำหรับวัดกระแสไฟฟ้าเรียกว่า แอมมิเตอร์ (Ampere meter) ตัวอย่างการวัด ทำการต่อหลอดไฟฟ้าขนาดเล็กเข้ากับแบตเตอรี่ และวัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านหลอดไฟฟ้า โดยนำปลาย + ของแอมมิเตอร์ผ่านหลอดไฟฟ้าต่อกับขั้ว + ของแบตเตอรี่ และนำปลาย - ของแอมมิเตอร์ต่อกับขั้ว - ของแบตเตอรี่ ดังรูป