ค่าไฟแอร์ 9000 btu ต่อชั่วโมง

แอร์เคลื่อนที่ แบบ แอร์มุ้ง กินไฟไหม ชั่วละ1บาทจริงไหม

31 Aug, 2020 / By Wimanair

แอร์เคลื่อนที่รุ่นปกติ อัตราการกินไฟ จะกินไฟมากกว่าแอร์บ้าน ถึง 3 เท่า เมื่อเทียบ บีทียู ต่อ บีทียู เช่น

  1. แอร์เคลื่อนที่ 9000 บีทียู กินไฟวันละ 30 บาท

  2. แอร์บ้าน 9000 บีทียู กินไฟวันละ 10 บาท

สาเหตุเนื่องมาจาก

        ข้อจำกัดทางเทคนิคเกี่ยวกับขนาดแผงคอล์ยเย็น และ แผงคอยล์ร้อน ที่จะต้องออกแบบให้เล็ก เพื่อเหมาะสมกับการเป็นแอร์เคลื่อนที่ เพื่อที่จะให้ตัวเครื่องแอร์เคลื่อนที่เล็กลง ใช้งานสะดวก ขนาดพอดี น้ำหนักพอดี และ สมส่วนกัน

         มีผลทำให้ ค่าสัมประสิทธิ์ พลังงาน กับ ความเย็นที่ออกมามีอัตตราส่วน ลดน้อยลง เมื่อเทียบกับแอร์บ้านที่แผงคอร์ยใหญ่ได้ไม่จำกัด จนทำให้ความเย็นของแอร์บ้าน ออกมาได้ค่า EER ถึง 4.5 เท่า

         แต่ EER แอร์เคลื่อนที่เฉลี่ย วัดได้ แค่ 1.5 เท่า ชึ่งน้อยกว่าแอร์บ้าน 

          EER ยกตัวอย่าง 

         ( ค่า EER แบบเข้าใจง่ายๆ เช่น คอมเพรสเซอร์ใช้พลังงานอัดน้ำยาแอร์เข้าไป 1000 บีทียู ( ไฟฟ้า ) ได้ ความเย็นที่วิ่งออกมาที่คอลย์เย็นแล้วกระจายตัวออก วัด พลังงานความเย็น ที่ออกมาได้ 3000 บีทียู นั่น แสดงว่า พลังงานที่ออกมามากกว่า พลังงานที่เข้าไป 3 เท่า คือ EER = 3 นั่นเอง )

          สรุป แอร์บ้าน EER=4.5 หมายถึง แอร์กินไฟ 1 หน่วย แต่ ให้ความเย็นออกมา 4.5 หน่วย ( คุ้มค่าไฟ )

          แอร์เคลื่อนที่ EER=1.5 หมายถึง แอร์กินไฟ 1 หน่วย แต่ ให้ความเย็นออกมา 1.5 หน่วย ( เปลืองไฟ )

          ดังนั้น หากลูกค้า จะชื้อแอร์เคลื่อนที่ ที่ให้กินไฟเท่าแอร์บ้าน ก็จะต้องชื้อ แอร์ที่มี บีทียู น้อยกว่า แอร์บ้านถึง 3 เท่า

ขอบพระคุณ ข้อมูลจาก สำนักงานมาตรฐานสินค้า


ค่าไฟแอร์ 9000 btu ต่อชั่วโมง

แต่อีกนั่นแหละ บีทียู น้อย แล้วจะเย็นได้อย่างไร

วิธีแก้ใข คือ เลือกชื้อแอร์เคลื่อนที่ ที่มีค่า EER สูงๆ ซึ่งมีไม่กี่ยี่ห้อในประเทศไทย เช่น วิมานแอร์ เป็นต้น

ข้อดี ของ วิมานแอร์มุ้ง

  1. มีใบรับรอง มอก. ด้านความปลอดภัย และผลทดสอบจาก สถาบันไฟฟ้า

  2. เสียงเบากว่าแอร์เคลื่อนที่ทั่วไปถึง 3 เท่า

  3. ค่า EER เฉลี่ย 2.5 เท่า

  4. กินไฟเท่าพัดลม เพราะ ใช้คอมเพรสเซอร์ขนาดเล็กแต่ ใช้น้ำยาแรงดันสูง เช่น R290 ทำให้ ทำงานเบา

  5. แผงคอลย์กระจายน้ำยา ด้วยท่อทองแดง ทำให้ ได้ค่าประสิทธิ์ภาพ EER สูงขึ้น

  6. คอมเพรสเซอร์แอร์ตัด เพราะมีมุ้งแอร์เก็บความเย็น แอร์ตัดเมื่อเย็นถึงอุณหภูมิ ที่ตั้งไว้ ทำให้ ประหยัดลงอีกเท่าตัว


          สรุปการกินไฟ ของวิมานแอร์มุ้ง แต่ละ ขนาด โดยใช้แอปของการไฟฟ้าแห่งประเทศไทย ( การคำนวนนี้ เป็นตัวอย่าง ผู้อ่าน ไม่สามารถ นำไปหารกลับได้ เนื่องจาก การคำนวน ค่าไฟ ของการไฟฟ้า ไม่มีราคาต่อมิเตอร์ ที่ตายตัว เพราะ การไฟฟ้า คิดค่าไฟ ตามขั้นต่ำ ของจำนวนมิเตอร์ เช่น 50 หน่วย จะคิดอีกราคา 100 หน่วยจะคิดอีกราคาที่สูงกว่า )

ผลการทดสอบ อัตราการกินไฟ ( ทดสอบด้วยวิมานแอร์มุ้ง )

✅วิมานแอร์มุ้ง 2200 บีทียู กินไฟ ชั่วโมงละ 1.3 บาท

✅วิมานแอร์มุ้ง 3000 บีทียู กินไฟ ชั่วโมงละ 1.3 บาท

✅วิมานแอร์มุ้ง 9000 บีทียู กินไฟ ชั่วโมงละ 3.5 บาท

✅วิมานแอร์มุ้ง 12000 บีทียู กินไฟ ชั่วโมงละ 5 บาท

คลิ๊ก ดูข้อมูล การกินไฟของวิมานแอร์มุ้ง แต่ละขนาด

ค่าไฟแอร์ 9000 btu ต่อชั่วโมง

ค่าไฟแอร์ 9000 btu ต่อชั่วโมง


ช่องทางติดต่อ วิมานแอร์ โทร : 08-3996-9628

ส่งข้อความ Face Book : วิมานแอร์/wimanair1

Line ID : @wimanair

Web : wimanair.com


หรือคลิ๊ก ช่องทาง แชท ดังด้านล่าง :

ค่าไฟแอร์ 9000 btu ต่อชั่วโมง
 
ค่าไฟแอร์ 9000 btu ต่อชั่วโมง
 
ค่าไฟแอร์ 9000 btu ต่อชั่วโมง
 
ค่าไฟแอร์ 9000 btu ต่อชั่วโมง
 

ค่าไฟแอร์ 9000 btu ต่อชั่วโมง
 
ค่าไฟแอร์ 9000 btu ต่อชั่วโมง
 
ค่าไฟแอร์ 9000 btu ต่อชั่วโมง
 
ค่าไฟแอร์ 9000 btu ต่อชั่วโมง

รายละเอียด และ รีวิว แอร์ 2200 บีทียู

รายละเอียด และ รีวิว แอร์ 3000 บีทียู

รายละเอียด และ รีวิว แอร์ 9000 บีทียู

รายละเอียด และ รีวิว มุ้งแอร์รุ่น BS

รายละเอียด และ รีวิว มุ้งแอร์รุ่น BS

รายละเอียด และ เต็นท์แอร์ออโต้ T89

ดู สินค้า ทั้งหมด

คำถามที่พบบ่อย


วีดีโอ รีวิว สินค้า

ค่าไฟแอร์ 9000 btu ต่อชั่วโมง


#แอร์เคลื่อนที่

https://www.wimanair.com/

https://www.youtube.com/wimanair

https://www.facebook.com/wimanair1

https://google.map.wimanair

✅ช่องทางติดต่อ วิมานแอร์ โทร : 08-3996-9628

✅ส่งข้อความ Face Book : วิมานแอร์/wimanair1

✅Line ID : @wimanair

✅Web : wimanair.com

เครื่องปรับอากาศ 9000 btu กินไฟกี่วัตต์

9,000 BTU = 2,637 Watt/ชม.

แอร์ไดกิ้น 9000 btu กินไฟกี่วัตต์

9000 BTU มันประมาณ800 วัตต์ พอดีผมเห็นมัน 1,400 Watt เลยน่าจะ 4บาท

แอร์ บ้าน 9000 BTU ใช้ไฟกี่แอมป์

แอร์ 9,000 บีทียู = 3.5 แอมป์ แอร์ 12,000 บีทียู = 5.5 แอมป์

แอร์ กินไฟกี่วัตต์ ต่อ ชม.

ที่ปริมาณการใช้ไฟฟ้า 800 W หน่วยไฟฟ้าที่บันทึก 1 หน่วย/ยูนิต = จำนวนการใช้ไฟฟ้า 1000 W ในเวลา 1 ชั่วโมง แอร์ ขนาดทำความเย็น 900 BTU ใช้ไฟฟ้า 800 W เปิดใช้งาน 8 ชั่วโมง ต่อวัน มีช่วงเวลาที่ Compressor ทำงานเฉลี่ย 6 ชั่วโมง Compressor ทำงาน 1 ชั่วโมง ใช้ไฟฟ้า 0.8 หน่วย