กิจกรรม ที่ 2.3 ฝึก ทักษะการตั้งสมมติฐาน

Successfully reported this slideshow.

Your SlideShare is downloading. ×

เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์

Upcoming SlideShare

กิจกรรม ที่ 2.3 ฝึก ทักษะการตั้งสมมติฐาน

ทักษะ

Loading in …3

×

กิจกรรม ที่ 2.3 ฝึก ทักษะการตั้งสมมติฐาน

More Related Content

กิจกรรม ที่ 2.3 ฝึก ทักษะการตั้งสมมติฐาน
กิจกรรม ที่ 2.3 ฝึก ทักษะการตั้งสมมติฐาน

  1. 1. 1   แบบฝกเเสริมทักษะ ะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิิทยาศาสตรเลมนี้ เปนหนังสือ วิ ร มประสบก ใ ห กั บ ก เรี ย นไ ฝ ก เสริ มประสบก ทั ก ษ ะกระบวน เสริ ม การณ บนั ได ม การณ นการคิ ด นอกเหนือจากก ยนรูใน การเรี นบทเรียน หรือใชซอมหรือเสริม กยภาพนัักเรียน ใหมีีความรู ม มศั ม ความ าใจ ควา านาญใน กประสบการณตามวิธีการท ทยาศา ใหกับนักเรียน มเข ามชํ นการฝ ต ทางวิ าสตร ระดับ ้นมัธยมศึกษาตอนตน (ม.1-ม.3) มุงเนนใหนักเรียนมีทกษะการกํา บชั ศึ ห ทั าหนดปญหา ทักษะ ห การตั้งสมมติฐาน ทักษะการกําหนดแล ตั น ละควบคุมตัวแปร ทักษ ษะการรวบร อมูล วิเคราะห รวมข ขอมูล และสรุปผล ตามวิธีการทางวิท ธี ทยาศาสตรหรือธรรมชา วิชาวิทยาศาสตร ดังขั้นตอน ห าติ ตอไป ้ ปนี บบทดสอบกอนเรียนกอ าแบบฝกเสริมทักษ 1. ทําแบ ก อนทํ ฝ ษะกระบวนการคิด 2. อานร รายละเอียดคาสั่ง/คําชี้แ คํ แจงของแบบ กเสริมทัก บฝ กษะกระบวน ดกอนลงมือ นการคิ น ปฏิบติทุกครัง บัั ้ 3. ปฏิบติตามคําสั่ง/คําชี้แจงใน จกรรมฝกเสริมทักษะ ่กําหนดใหทุกขอ บัั นกิ ก ะที 4. เมื่อทํากิจกรรมฝกเสริมทักษ ฝ ษะกระบวนก ดเสร็จ ว นักเรีย วมกันเฉ การคิ จแล ยนร ฉลยและ อภิปรายเกี่ยวกับ าตอบ บคํ 5. นักเรียนตองมีวนยในการเรีย และซือสัตยตอตนเอ โดยไมดูเฉลยกอน จึงจะ รี นั ิ ยน ่ส อง เรียน ไดอยางมีป ทธิภา เปนคนเกง คนดี และ ยนรูอยาง ความสุข นรู ประสิ าพ ก ะเรี งมี 6. ทําแบ บบทดสอบห งเรียน เพื่อดูการพัฒนาการของต หลั พื ตนเองระหวางกอนเรียน และ ว หลังเเรียน ขอใหนก ยนพยายา าแบบฝ มทักษะกระบวนก ดเลมนี้ อยางเต็ม กเรี ั ามทํ ฝกเสริ ษ การคิ ความสาม เพื่อจะ พัฒนาทกษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาส มารถ ะได ทั สตร อยางตอเเนื่อง
  2. 2. 2   ใช ใ กระบวนกา ารทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรใ ิ ในการสืบเสา าะหาความรู การ ก แกปญหา รูวาปรากฏก ทางธรรมชาติที่เกิดขึนสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถ บาย  การณ น ้ ถอธิ และ ตรวจจสอบได ภาย ขอมูลและ ่องมือทีมีอยูในชวงเวล นๆ เขาใจ า วิทยาศาส ยใต  ะเครื ่ม ี ลานั้ จว สตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอมมีค ยี สิ ความเกี่ยวของสัมพันธกัน 1. การกําหนดปญหา 2. การตั้ังสมมติฐาน 3. การกําหนดและคว มตัวแปร วบคุ 4. การรวบรวมขอมูล 5. การวิเคราะหขอมูล  6. การส ปผล สรุ 1. อธิบายวิธีการทางวิทยาศาสตรแตล ้นตอนไดถูกตอง วิ ละขั ด 2. นําวิธีกา ารทางวิทยาศ ศาสตรไปประยุกตใชในก ารวจ ตร การสํ รวจสอบ ทดล ลองในการเรียนรูตาม รี ธรรมชา วิชาไดถูกตอง าติ 3. วิเคราะ หและประเมินความสอด องของป ก ษพยา นกับขอสรุ ป ทั้งที่สนับสนุนหรือ มิ ดคล ประจั ส ขัดแยงกับสมมติฐาน และความผิด ของขอมูลจากการสํารวจตรวจสอ น ดปกติ อบ 4. อธิบายผ อแสดงผลของการสํา ผลหรื ารวจตรวจสอ อบ 5. าถามที่นําไปสูการสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวของ และนําความรูที่ไดไปใชใน สรางคํา ใ สถานกา ใหม ารณ 6. บันทึกแและอธิบายผล งเกต ก ารวจ ตร ลการสั การสํ รวจสอบ คนค าเพิ่มเติมจ คว จากแหลงควา ตาง ๆ ามรู ใหไดขอ ลที่เชื่อถือได และยอมรบการเปลี่ยนแปลงความรูที่คนพบเมื่อ ขอมูลและ อมู รั น อมี ะประจักษ พยานให เพิ่มขึ้นหรือโตแยงจากเเดิม หม รื
  3. 3. 3   คําชี้แจง ใหนักเรีย อกขอที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว แลวกากบาท ยนเลื แ ทลงในกระด าตอบ ดาษคํ 1. ขอใดเเปนลําดับขั้นนตอนการศึกษาความรูตามวิธีการท ทยาศา ไดถูกตอง ศึ ทางวิ าสตร ก. ก การสังเก กตและกําหน ญหา การทดลองและตั้งสมมติฐาน นดป ติ การตรวจ จสอบสมมติฐาน และส ปผล ติ สรุ ข. ข การสังเก กตและกําหน ญหา การตั้งสมมติฐาน การตร นดป ติ รวจสอบสมมติฐาน และการ รทดลอง และสรุปผล ค. ค การตั้งสมมติฐาน กา ารรวบรวมขอมูล การท ข ทดลอง และส ปผล สรุ ง. ง การตั้งส ฐาน การสังเกตแล ญหา กา สมมติ ละป ารตรวจสอบ บสมมติฐาน และการ รทดลอง และสรุปผล 2. ขอใด นขอมูลที่ไดจากการสังเกตปราก ดเป กฏกรทางธร รรมชาติ ก. ก ใบไมตอ องการแกสค บอนไดอ  คาร ออกไซดในก งเคราะ ดวยแสง การสั ะห ข. ข ถาใชพลาสติกหุมใบ พืชไมสามารถสราง บไว ส งอาหารเองไ ได ค. ค ถาพืชขาดออกซิเจน พืชไมสามารถมีชีวิตอยูได ง ใบไมมีสเี ขียว สวนลาตนมีสีน้ําตาลออน ง. สี ลํ 3. เมื่อใ น้ําแข็งลงในแกว แลว ้งทิ้งไวสกครูจะพบวารอบนอกข วมีหยดน้ํา ใส วตั ก ั ของแก ย เกาะ เต็ม ขอใ นผลจากการสังเกต และบันทึก ะอยู ใดเป ต กผล ก. ก มีหยดน้า าขนาดเล็กแ ํ และขนาดให เกาะอยูจํา หญ านวนมากที่ผิวแกว ที ข. ข ไอน้ําในอากาศกลั่นตัวเปนหยด ําเกาะอยูร ดน้ รอบๆแกว  ค. ค หยดน้ําที่เกิดเปนกระบวนการเดียวกับการเกดน้ําคาง ดี กิ ง. ง แกวน้ํารั่ัวเปนเหตุใหน้ําซึมออกมาที่ผิวนอก ห ก
  4. 4. 4   4. ขอใดเปนการกําหนดปญหาที่ถูกตองที่สุด ก. เมื่อพืชไมไดรับแสง พืชจะตาย ข. ใบไมมีสีเขียว สวนลําตนมีสีน้ําตาลออน ค. แสงมีผลตอการเจริญเติบโตของพืชหรือไม ง. ถาพืชขาดออกซิเจน พืชไมสามารถมีชีวิตอยูได 5. จากสถานการณที่กําหนดให ขอใดเปนตัวแปรตน “ปริมาณตัวละลายมีผลตอความเขมขนของสารละลาย” ก. ปริมาณตัวละลาย ข. ความเขมขนของสารละลาย ค. สารละลาย ง. ปริมาณตัวทําละลายในสารละลายเขมขน 6. จากขอ 5 ตัวแปรตาม คือขอใด ก. ปริมาณตัวละลาย ข. ความเขมขนของสารละลาย ค. สารละลาย ง. ปริมาณตัวทําละลายในสารละลายเขมขน จากตารางบันทึกผลการทดสอบกรด-เบส ดังตอไปนี้ ใชตอบคําถามขอ 7 สาร การเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัส การเปลี่ยนสี ละลาย สีแดง สีน้ําเงิน เจนเชียลไวโอเลต A เปลี่ยน - - B - เปลี่ยน เปลี่ยนเปนสีเขียว C เปลี่ยน - - D - เปลี่ยน -
  5. 5. 5   7. ในการทดสอบกรด-เบสจากตารางขอใดสรุปไดถกตอง ู ก. สาร C กับสาร D เปนสารพวกเดียวกัน ข. สาร D เปนสารที่แตกตางจากสารอื่นมากที่สุด ค. สาร B เปนสารที่แตกตางจากสารอื่นมากที่สุด ง. สาร A และ D มีคุณสมบัติเปนสารเดียวกัน จากขอมูลตอไปนี้ ใชตอบคําถามขอ 71-72 สาร ละลายน้ํา (g) ละลายในแอลกอฮอล(g) A 8 4 B 10 - C - - D - 5 8. จากขอมูลขางตนสรุปไดวาอยางไร ก. สาร A มีความสามารถในการละลายไดนอย ข. สาร B มีความสามารถในการละลายไดมาก ค. สาร C สามารถละลายไดมาก ง. สารแตละชนิดมีความสามารถในการละลายได ไมเทากันขึ้นอยูกับตัวทําละลายแตละชนิด 9. ถาสารชนิดหนึ่งเปนน้ําตาลทรายนักเรียนคิดวานาจะเปนสารใด ก. สาร A ข. สาร B ค.สาร C ง. สาร D
  6. 6. 6   จากการทดลองตอไปนี้ใหตอบคําถามในกระดาษคําตอบ ภาพการทดลองการตรวจสอบขนาดอนุภาคของสาร 3 ชนิด คือ น้ําโคลน นมสด และน้ําแดง ดวยกระดาษกรอง และถุงกระดาษเซลโลเฟน 10. จากภาพการทดสอบสารตัวแปรตน คือ ขอใด ก. บีกเกอร ข. กระดาษกรอง และถุงกระดาษเซลโลเฟน ค. สารทั้ง 3 ชนิด คือ น้ําโคลน นมสด และน้ําแดง ง. สารที่ไดจากการกรองผานกระดาษกรอง และกระดาษเซลโลเฟน
  7. 7. 7   สาระสําคัญของทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร การสังเกตจุดเริ่มตนของการคิด สงสัย มองเห็นปญหา กําหนดปญหา หรือระบุปญหาได  ตั้งสมมติฐานหรือคาดคะเนคําตอบของปญหา ออกแบบเพือสํารวจตรวจสอบสมมติฐาน กําหนดและคาบคุมตัวแปร ่ ทดลอง เก็บขอมูล รวบรวมขอมูล g วิเคราะหขอมูล และสรุปผล
  8. 8. 8   สาระสําคัญของการสังเกตจุดเริ่มตนของการคิด และการกําหนดปญหา การสังเกต หมายถึง การใชประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่ง หรือประสาทสัมผัสทั้ง 5 (ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย) เขาไปสํารวจ ตรวจสอบวัตถุ หรือปรากฏการณตางๆ ในธรรมชาติ โดยไม ลงความคิดเห็นของผูสังเกตไปดวย ตูปลา A ตูปลา B จากการสังเกตตูปลาทั้งสองตู ขอมูลที่ไดจากการสังเกต มีดังนี้ 1. ตูปลา A ระบบนิเวศประกอบดวย พืชหลากหลายชนิดกวาตูปลา B 2. ตูปลา A มีปลาอยู 2 ชนิด สวนตูปลา B ไมมีปลาอยูเลย
  9. 9. 9   การกําหนดปญหา เปนการตั้งคําถาม หรือเกิดขอสงสัย กับสิ่งที่สังเกต วาทําไม หรือเพราะอะไร กับสิ่งที่ไดสังเกต สํารวจ ตรวจสอบหรือสงสัย ประโยคที่กําหนด ปญหาเปนประโยคคําถาม เพื่อเปนแนวทางในการแกปญหา และคนหาคําตอบได เชน ถาทิ้งตูปลาไว 1 เดือนโดยไมใหอาหารปลา ลักษณะน้ํา และปลาในตูปลาทั้งสอง จะเกิดการเปลี่ยนแปลง หรือไม โดยบันทึกผลจากการสังเกตสีของน้ํา จํานวนปลา จํานวนพืช และลักษณะของพืชที่อยูในตูปลาทั้งสองทุกๆ วัน การสังเกต ตองไมใส ความคิดเห็นสวนตัว การกําหนดปญหา ตองตั้งเปนประโยค เขาไปพิจารณาสิ่งที่ คําถามนะจะบอกให สังเกตนะจะบอกให
  10. 10. 10   กิจกรรมที่ 1.1 ฝกทัก ที กษะการสังเกต และกํ ง กาหนดปญห หา คําชี้แจง ใหนักเรียนนําคําที่กําหนดใหตอไปนี้ไปเติมคาในชองวาง ถูกตอง ง ไ คํ งให ชนิดใด หรือ นิ อไม เพรา ใด ทําไม อยางไ เมื่อไร ที่ไหน คืออะ ใคร อยางไร าะเหตุ ไร ะไร ย จากการสังเกต ภาพนี้ ชายฝงมีปลาตายเต็ม สั นี มไปหมดเลย ย ป ปญหาที่กําหนด ห 1. ปลาทีต นปลา............................................................ ตายเป ่ 2. .......................................................................ปลาจึงตาย 3. ปลาที่ต นปลาช ดเดียวกัน..................................... ตายเป ชนิ น 4. แหลงน้าแหลงอื่นที่ใกลกัน มีการตายของแ ยวกัน ํ แบบเดี .......................................................................................... 5. สาเหตุก การตายของ งปลา..................................................
  11. 11. 11   กิจกรรมที่ 1.2 ฝกทัก ที กษะการสังเกต และกําหนดปญห ง กํ หา คําชี้แ แจง ใสเครื่องหมา ก ( ) ในชองตารางที่ตรงกับทักษะนั้น ส ายถู ใ ขอมูลที่ได ด ทักษะการสังเกต ต ทักษะก าหนดปญหา การกํ 1. 1 น้ําแข็งขั้วโลกกําลังละลา าย 2. 2 หมีจะเอาชีวิิตรอดไดอยางไร 3. 3 ทําไมหมีจึง บนกอนน้ําแข็ง งไปอยู 4. 4 หมีจะเย็นไ ไหมเมื่ออยูบน ําแข็ง นน้ 5. 5 ทําไมน้ําแข็งขั้วโลกถึงละ ข็ ะลาย 6. 6 เห็นน้ําแข็ง นแผนเล็กแ งเป แยกออกจากกน กั 7. 7 ภาพเปนบร รรยากาศตอน นกลางวันทอง า งฟ มีเมฆบางบาง วน งส 8. 8 ทําไมแผนนาแข็งจึงไมเปนแผนเดียวกัน น้ํ 9. 9 หมีจะเดินไ ไปทางไหน 10. 1 หมีจะใชชวิตอยูอยางไร ชีี ร
  12. 12. 12   กิจกรรมที่ 1.3 ฝกทัก ที กษะการสังเกต และกําหนดปญห ง กํ หา คําชี้แจง ใหร ระบายสีขอค ความที่แสดง งทักษะการกําหนดปญหา งถึ ป การทดลองเปาเทียนผาน ่งกีดขวาง เทียนดับทุกครั้งหรือไ 1. จากก ป นสิ ง ไม 2. จากก กราฟที่นักเรียนเขียนได ขณะที่น้ําแข็งยังหลอม รี ด แ มเหลวไมหม มด เสนกรา นอยาง และอุณห มขณะนัันเปลี่ยนแป าฟเป งไร หภู ิ ้ ปลงหรือไม 3. ถาปลอยลูกบอลจ ล จากระดับที่สูงขึ้นลงสูพื้น ลูกบอลจ พื  จะกระเดงสู ้น สงขึ 4. นักเรียนสรุปควา มพันธร างปริมาตรของอากาศกับอุณห มิ รี ามสั ระหว ม หภู 5. ทานจ าเนินกา จะดํ ารทดลองอยางไรเพื่อทด ย ดสอบวาน้ํามผลตอการ มี เจริญเติบโตของพืช ติ 6. นักเรียนใชเกณฑอะไรในการ าแนกพืชออกเปนพว รี ฑ รจํ วกๆ 7. ถาจะ ะหามวลของ อไปนี้ นักเรียนควรจะใชเครื่ืองชั่งสปริง งสารต นี 8. ในน้า 5 ลูกบาศกเซนติเมตร น้ําตาลสาม ํ ก มารถละลายไ มากที่สด 5 ชอน ได ุ 9. หินกอนนีหนัก 5 กิโลกรัม  ้ 10. กลอ ้มีปริ องใบนี รมาตรเทาใด ด 3
  13. 13. 13   สาระสําคัญของทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะการตั้งสมมติฐาน ( Formulating hypothesis) หมายถึง ความสามารถในการ ใหคําอธิบายซึ่งเปนคําตอบลวงหนากอนที่จะดําเนินการทดลอง เพื่อตรวจสอบความถูกตอง เปนจริงในเรื่องนั้นๆ ตอไป สมมติฐานเปนขอความที่แสดงการคาดคะเน ซึ่งอาจเปน คําอธิบายของสิ่งที่ไมสามารถตรวจสอบโดยการสังเกตได หรืออาจเปนขอความที่แสดง ความสัมพันธท่คาดคะเนวาจะเกิดขึ้นระหวางตัวแปรตนกับตัวแปรตาม ขอความของ ี สมมติฐานนี้สรางขึ้นโดยอาศัยการสังเกตความรู ประสบการณเดิมเปนพื้นฐาน การคาดคะเน คําตอบที่คิดลวงหนานี้ยงไมทราบ หรือยังไมเปนหลักการ กฎ หรือทฤษฎีมากอน ขอความ ั ของสมมุติฐานตองสามารถทําการตรวจสอบโดยการทดลองและแกไขเมื่อมีความรูใหมได เชน เมื่อขนาดของยางรถยนตใหญขึ้น ความเร็วของรถยนตจะลดลง ถาแสงมีผลตอการเจริญเติบโตของพืช ดังนั้น พืชที่ไดรับแสงจะเจริญเติบโตดีกวาพืช ที่ไมไดรับแสง ถาแกสคารบอนไดออกไซดมีผลตอการสรางอาหารของพืช ดังนั้นพืชที่ไดรับแกส คารบอนไดออกไซดจะสรางอาหารและมีแปงเกิดขึ้นที่ใบ
  14. 14. 14   กิจก กรรมที่ 2.1 ฝกทักษะก ้งสมม ฐาน การตั มติ คําชี้แ ลงสีใหสวยงามทับ อความทีแสดงถึงทักษ แจง บข ่แ ษะการตั้งสม ฐาน มมติ 1. 1 เมื่อทิ้งน้ําแชใบหูกวา ้งไวหลา น จํานวน างทิ ายวั นพารามีเซีย ยมจะมีมากขึ้น 2. 2 จุลินทรียเจริญเติบโต อยลง เมื่ือปริมาณอา ย ตน าหารมีนอยล ลง 3. 3 ปริมาณอ อาหารที่ใหมีผลตอการเจริญเติบโตข ลินทรียหรือไม มี ของจุ รี 4. 4 อัตราการ รตกของวัตถชาลง เมื่อนําหนักของ ตถุมีนอยล ถุ น้ งวั ลง 5. 5 อัตราของตกของวัต จะตกเร็วขึ้น เมือเพิ่มน้ําหนักของ ตถุใหมาก ้น ตถุ ่ งวั กขึ 6. 6 อุณหภูมของอากาศใ านกับน าน แตกตางกันหรือไม ิ ในบ นอกบ รื 7. 7 จํานวนห าตาง และ หน ะประตูภายใ าน มีผลตออุณหภูมในบานหรือ ในบ ล มิิ อไม 8. 8 อัตราที่ตัวผึ้งฟกออก ตั กจากไขมาก ้นเมื่ออุณหภูมของรังผึ้งสูงขึ้น กขึ ห ิ 9. 9 อุณหภูมมีผลตอการ ิ รงอกของเมลดพืชหรือไม ล็ ไ 10. 1 อัตราการ รหายใจของ ตวจะเพิม ้น เมื่อขน างกายสัตวเพิ่มขึ้น งสั มขึ ่ นาดร สั
  15. 15. 15   กิจก กรรมที่ 2.2 ฝกทักษะก ้งสมม ฐาน 2 การตั มติ คําชี้แจง ง โยงเสนทักษะที่สอดคลอง นระหวาง กษะการกําหนดปญห บทักษะการตั้งสมม ฐาน งกั งทั กํ หากั มติ ทักษะการ าหนดปญ รกํ ญหา ทักษะการต้งสมมติฐาน ตั 1. 1 สัตวตัวใด วหนึ่งมีอัตรา ดตั A.. ถากําลังขอ ่องยนตสูง องเครื ต การหายใจเทากันหรือไม ก ท ม มีผ ออัตราเเร็วของรถย ผลต ยนต ที่วิ่งสูง วิ 2. 2 ลูกบอลลูน นลอยสูงขึน นได ้ B.. ถาพืชยิ่งไดรับน้ํามาก ด ขึ้นอยูกับปจ ยอะไรบาง จจั เทาไหร พืชยิ่ง ญเติบโต ท งเจริ ขอ งเทานั้น องสู 3. 3 กําลังของเครื่องยนต มีผล C.. สัตวที่มน้ํา กสูง อัตรา ี าหนั ต ต ตออัตราเร็วของรถยนตที่วิ่ง ต กา ารหายใจจะสงขึ้นดวย สู หรื ห อไม 4. 4 ถาพืชยิ่งไ รับน้ํามาก ได ก D.. ถาพื้นที่ผิว วของภาชนะ ะ เทาไหร พืชยิ่งเจริญเติบ บโต กวางอัตราการ ว รระเหยของ ํา งน้ ของสู ข งเทานันจริงหรือไ ้ ไม ก็ยิ่งมากขึ้นดว ยิ วย 5. 5 พื้นที่ผิวข ของภาชนะมีผลตอ มี E.. อุณหภูมิเป จจัยทีมีผล ปนป ่ม ี การระเหยของน้ําหรือไม ก ม ตอ อการลอยขอ กบอลลูน องลู
  16. 16. 16   กิจก กรรมที่ 2.3 ฝกทักษะก ้งสมม ฐาน 3 การตั มติ คําชี้แจง ใหตั้งสมม ฐานจากส ง มติ สถานการณที่กําหนดให ที ห 1. อุณหภูมของ ําที่ตม มีผ อการสุกของไขหรือ ิ งน้ ผลต ก อไม สมม ฐานคือ มติ 2. ห าจะสูงขึนหรือไม เมือไดรับน้ํามากขึ้น หญ ้ มื่ ม สมม ฐานคือ มติ 3. เม่อเพิ่มปริม มื มาณเกลือในนํา อุณหภูมิของน้ําจะสูงขึ้นหรือต่ําลง น้ มิ สู สมม ฐานคือ มติ 4. นําหนักของวตถุ มีผลตอ น้ วั อแรงเสียดท ทานหรือไม สมม ฐานคือ มติ 5. ลักษณะผิวข ตถุ มีผลตอแรงเสียดทานหรือไ ของวั ย ไม สมม ฐานคือ มติ
  17. 17. 17   สาระสําคัญทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร (Identifying and controlling variables) หมายถึง การชี้บงตัวแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแปรที่ตองควบคุมในสมมุติฐานหนึ่ง การควบคุมตัวแปรนั้นเปนการควบคุมสิ่งอื่นๆ นอกเหนือจากตัวแปรตนที่จะทําใหผล การทดลองคลาดเคลื่อนถาหากวาไมควบคุมใหเหมือนกัน เชน ความสูงของตนถั่วขึ้นอยูกับปริมาณน้ําที่ตนถั่วไดรับ ตัวแปรตน คือ ปริมาณน้ําที่ตนถั่วไดรับ ตัวแปรตาม คือ ความสูงของตนถั่ว ตัวแปรควบคุม คือ ตนถั่ว เชน หญาจะสูงขึ้น ถาปริมาณแรธาตุในดินเพิ่มขึน ้ ตัวแปรตน คือ ปริมาณแรธาตุในดิน ตัวแปรตาม คือ ความสูงของหญา ตัวแปรควบคุม คือ หญา
  18. 18. 18   กิจกรรมที่ 3. 1 ฝกทัก กษะการกําหนดและค มตัวแ ห ควบคุ แปร คําชี้แจง ใหขีดเสน คําที่เปนตวแปรจากส ง นใต ตั สถานการณที่กําหนดใหดังตอไปนี้ ณ ห แสงมีผลตอการเเจริญเติบโต มี ตของตนผักบุง หรือไม บ ถาจํา านวนครั้งขอ องการกระโดดเพิ่มขึ้น ดังนั้นอัตรา ด าการเตนของ พจรเพิ่มขึน งชี ้ งอกของเมล็ดขาโพดในเวลาตางกัน ขึ้นอยูกบอุณหภูมของ ําที่แชเมล็็ด การง ั ิ งน้ ปริมาณมลภาวะะของอากาศท่เกิดขึ้นจาก ที กรถยนต วัด จากปริม ่แตกตาง ดได มาณที ต ของต ่วที่บรรจุอยูภายในแ สโซลีน ตะกั แก อุณห มของผลตอพฤติกรร หภู ิ ต รมของไรน้า ํ
  19. 19. 19   กิจกรรมที่ 3.2 ฝกทัก กษะการกําหนดและควบคุมตัวแ ห แปร คําชี้แจง จากสถานกา ที่กําหนดให จ ารณ ใสเครื่องหมา ( ) ขอ ่เห็นวาระ ตัวแปรถูก าย อที ะบุ ใสเครื่องหมา ( ) ขอทีเ่ ห็นวาระบุตัวแปรผิด าย บุ เมื่อนําน้ํา าโคลนไปกร วยกระ รองด ะดาษกรอง น้ําที่กรองไดจะมีลักษณ นอยางไ น ด ณะเป ไร ตัวแปร น รต ตัวแปรตา าม ตัวแปรควบคุม กระดาษกรอง น้ําที่กรองไได น้า ําโคลน ถาเปลี่ยน นกระดาษกร เปนกระ รอง ะดาษเซลโล ลเฟนน้ําที่กร ไดจะมีลักษณะ รองได เหมือ นหรือตางกันอยางไ อนกั ต ไร ตัวแปร น รต ตัวแปรตา าม ตัวแปรควบคุม กระดาษเซลโลเฟน น้ําที่กรองไได น้า ําโคลน
  20. 20. 20   กิจกรรมที่ 3.3 ฝกทัก กษะการกําหนดและควบคุมตัวแ ห แปร คําชี้แ แจง จากสถานกา ที่กําหนด จ ารณ ใหระบุวาตัวแปรใดที่เปน วแปรตน ตัวแปรตาม และตัวแป นตั ปรควบคุม สถานการณ ส หยดเทียน นบนแผนอะ มิเนียม ะลู ใหความรอนแผนอะ มิเนียม ะลู ดังภาพ หยดเทียน นไขแตละหหยด จะเกิดกา ่ยนแป างไร ารเปลี ปลงอย ตัวแปรตน ต คือ……… …………… ……………… …………… ……………. ตัวแปรต ตาม คือ................................................................................... ตัวแปรค ม ควบคุ คือ................................................................................... สถานการณ สีของผิววัตถุมีผลตอการรับพลงงานความ อนหรือไม ต ลั มร ม ตัวแปรตน ต คือ……… …………… ……………… …………… ……………. ตัวแปรต ตาม คือ................................................................................... ตัวแปรค ม ควบคุ คือ...................................................................................
  21. 21. 21   สาระสําคัญของทักษะการจัดกระทําขอมูล ทักษะการจัดกระทําและสื่อความหมายขอมูล (Organizing data and communication) หมายถึง ความสามารถในการนําขอมูลที่ไดจากการสังเกต การวัด การทดลอง และจากแหลงอื่นมาจัดกระทําใหมโดยวิธีการตางๆ เชน การจัดเรียงลําดับ การแยกประเภท หรือคํานวณหาคาใหม เพื่อใหผูอื่นเขาใจมากขึ้น อาจนําเสนอในรูป ของตาราง แผนภูมิ แผนภาพ กราฟ สมการ เปนตน แสงมีผลตอการเจริญเติบโตของพืชหรือไม สามารถจัดกระทําขอมูลในรูปตารางไดดังนี้ แสง(ตัวแปรตน) การเจริญเติบโตของพืช(ตัวแปรตาม) ระยะเวลาที่แชเมล็ดถั่วในน้ํามีผลตอน้ําหนักเมล็ดถั่วที่เพิ่มขึ้น สามารถจัดกระทําขอมูลในรูปตารางไดดังนี้ ระยะเวลาที่แชเมล็ดถัว (นาที) น้ําหนักที่เพิ่มขึ้น(กรัม) (ตัวแปรตน) (ตัวแปรตาม)
  22. 22. 22   กิจกรรมที่ 4 ฝกทักษ 4.1 ษะการออก กแบบการจััดกระทําขอมูล คําชี้แจง จากภาพการทดลอง ใหนักเรียนออ ห อกแบบชื่อต ตารางบันทึกกผลการทดล ลอง ใชเมล็ดถั่วตมน้ํา วัดอุณ มของนํากอนและห งตม (ถั่ว จนหมด) ต ณหภู ิ น้ หลั วไหม ชื่อตาราง ................................................................................................................. ง อุณหภูมของ ํากอนตม ิ งน้ อุณหภูมของน้ําหลังตม ภู ิ ลั (องศาเซล ยส) ลเซี (อง งศาเซลเซียส ส)
  23. 23. 23   กิจ จกรรมที่ 4.2 ฝกทัก จกิ ที กษะการออ อกแบบการจัดกระทําขอมูล ข คําชี้แจง จากภาพก การทดลองแ อมูลทีให ในตาราง มนที่ 1 และคอลัมนที่ 2 และข ่ใ งคอลั น ใหนักเรียน นออกแบบชือตารางบันทึกผลการท ชื่ น ทดลอง และใสชื่อคอลัมนที่ 1 และ 2 วาอยางไร ย ใหความรอนกับน้ําใน กเกอรวัดอุณหภูมขอ ําบริเวณใ กนบีกเก  นบี ิ องน้ ใกล กอร และบริเวณ ผิวน้ําดานลางทุกๆ 5 นาที ณใกล ด ชื่อตาราง ...................................................................................................... อุณหภูมของน้ํา(องศาเซ ยส) อ ิ ซลเซี ระยะเวลาใน ม(นา ) ร นการต าที บริเวณ กนบีก ณใกล  กเกอร บริ รเวณใกลผวน้ํา ิน 5 10 15 20
  24. 24. 24   กิจกรรมที่ 4.3 ฝกทักษ ษะการออก กแบบการจัดกระทําขอมูล จั คําชี้แจ จากสถา จง านการณที่กํา าหนดให ใหจัดกระทําขอมูลในรูปกราฟเสน ห ข ไดมีการบนทึกผลกา บั ารทดลองเกี่ยวกับเวลาที่นําแข็งซึ่งมีมวลตางกัน กี ที นหลอมเหลว ผลการบัันทึก แสดงใหเห็นดังตารางขางลางนี้ ง ตารา เวลาหลอมเหลวของนําแข็งที่มีม างๆ กัน าง น้ มวลต มวลของน้ําแข็ง(กรัม) เวลาที่ใชในการหลอ ช อมเหลว(นา ) าที 355 2 455 3 522 5 611 9 700 11 จงเขียนกราฟโ ขอมูลจ โดยใช  จากตารางขางตน ง 70 7 65 6 60 6 55 50 45 4 40 4 35 30 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
  25. 25. 25   กิจกรรมที่ 4.4 ฝกทักษ ษะการออก กแบบการจัดกระทําขอมูล จั คําชี้แจง จากสเกลแ แกนนอนและแกนตั้งทีกําหนดให ่ก ํ จงใส จ จุดแสดดงเลขคูอันดับจากขอมูลในตารางท ายมือ ล ทางซ ระยะท ทางจากตาถึงแผนแสดง วอักษร ถึ งตั เวลาที่ใชในการหลออมเหลว (m) ( (นาที) 1 18 2 22 3 35 4 30 5 26 จงเขีย ยนกราฟโดยใ ขอมูลจากต ใช ตารางขางตน 38 3 34 3 30 3 26 2 22 2 18 1 0 1 2 3 4 5
  26. 26. 26   กิจกรรมที่ 4.5 ฝกทักษ ษะการออก กแบบการจัดกระทําขอมูล จั คําชี้แจง จ จากภาพการ รทดลอง ใหออกแบบตา นทึกผ ห ารางบั ผล เต ยมแผนโ ตรี โลหะชนิดหน่ง 2 แผน ที่มีขนาดเทา น นึ ากั แผ ่ แ นหนึงทาสีขาว สวนอีกแผนหนึงทาสีดํา น ่ และติ ร แ ดเทอรมอมิเตอร โดยกระเปาะ โ ะของเทอรม เตอร มอมิ อยู อ บริเวณกล นโลห ้งสอง ลางแผ หะทั
  27. 27. 27   สาระสําคัญของทักษะการตีความหมายขอมูล วิเคราะหขอมูล และลงขอสรุป ทักษะการลงความเห็นจากขอมูล ( Inferring) หมายถึง ความสามารถในการอธิบายขอมูลที่มีอยูอยางมีเหตุผล โดยอาศัยความรูหรือ ประสบการณเดิมมาชวย ขอมูลที่มีอยูอาจไดมาจากการสังเกต การวัด การทดลอง คําอธิบาย นั้นได มาจาก ความรูหรือประสบการณเดิมของ ผูสังเกตที่พยายามโยงบางสวนที่เปนความรู หรือประสบการณเดิม ใหมาสัมพันธกับขอมูลที่ตนเองมีอยู ทักษะการตีความหมายขอมูลและลงขอสรุป Interpreting data and conclusion) หมายถึง ความสามารถในการบอกความหมาย ของขอมูลที่ไดจัดกระทํา และอยูในรูปแบบที่ใชในการสื่อความหมายแลว ซึ่งอาจอยูในรูป ตาราง กราฟ แผนภูมิหรือรูปภาพตางๆ รวมทั้งความสามารถในการบอกความหมายขอมูลใน เชิงสถิติดวย และสามารถลงขอสรุปโดยการเอาความหมายของขอมูลที่ไดทั้งหมด สรุปให เห็นความสัมพันธของขอมูลที่เกี่ยวของกับตัวแปรที่ตองการศึกษาภายในขอบเขตของการ ทดลองนั้นๆ
  28. 28. 28   กิจกรร ่ 5.1 ฝก กษะการ ความหม อมูล รมที กทั รตี มายข วิเคราะหขอมูล และลงขอสรุป ห คําชี้แจง จากภา าพการทดลอ อไปนี้ ใ ระบุขอมูลใหถูกตอง ตามชองวา ่กําหนดใ องต ให  างที ให A B เมื่อเผาลวดนิโครมเปนเวลาหนึง กอนน้ําหนักจะ..................................................... ป ่ ลวดทองแดง A สัมผัสกับแผนทองแดง B ทําใหหลอดไฟ............................................ และล ง ห
  29. 29. 29   กิจกรรมที่ 5.2 ฝก กษะการ ความหม อมูล กทั รตี มายข วิเคราะหขอมูล และลงขอสรุป ห คําชีแจง จากภา และตาร ้ าพ รางการทดลอ องการตมน้ํา บถั่วลิสงตอไปนี้ ากั ใหเติมคาในชองวางใหถูกตอง คํ ง การทดลอง อุณหภูมิ ( (องศาเซลเซียส) ซี กอน ม นต 27 หลัง ม งต 70 อุณหภูมของน้ําในห ิ หลอดทดลอง ่วัดกอนและหลังจากการตมมีคาเทากับ.................... งที และอุณห มหลังตม มีคาเทากับ ................................................................................... หภู ิ แสดงวาใ ใน................................................มี...............................................สะสม  มอยู
  30. 30. 30   กิจกรรมที่ 5.3 ฝกทักษะการตีความหมายขอมูล วิเคราะหขอมูล และลงขอสรุป  คําชี้แจง จากภาพและผลการทดลองขางลางนี้ ใหวิเคราะหขอมูลใหถูกตอง  ตารางแสดงอุณหภูมของน้ําในบีกเกอรแตละใบ ิ บีกเกอร อุณหภูมของน้ํา (องศาเซลเศียส) ิ ใบที่ 1 น้ําที่อุณหภูมหอง ิ 25 ใบที่ 2 น้ํารอน 70 ใบที่ 3 น้ําที่ผสมกัน 47 ระหวางบีกเกอรใบที่ 1 และ 2 วิเคราะหขอมูลและสรุปผลการทดลอง …………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………