คู่มือ ปฏิบัติงานฝ่ายวิชาการ doc

<<---- รายละเอียดข้อมูลจัดการแข่งขันอยู่ที่ เมนูด้านซ้าย ของเว็บไซต์
      โปรดตรวจสอบ วัน เวลา สถานที่ แต่ละรายการในตารางแข่งขัน
      อย่างต่อเนื่อง  อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

วันศุกร์ ที่ 15 พฤศจิกายน 2562 เวลา 15:17 น.

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติตามที่ปรากฏในระบบฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์กลางของประเทศไทย (Thai Journals Online, ThaiJO) และศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai-Journal Citation Index Centre, TCI)

ถ้าหากพูดถึง การวิจัยในชั้นเรียน ใหม่ๆ แล้วนั้น หลายคนอาจกล่าวได้ว่า วิจัยในชั้นเรียน คือ เป็นการวิจัยที่ครูทำเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียนของผู้เรียนบางคน บางกลุ่ม หรือทั้งหมด ซึ่งผลการวิจัยสามารถนำมาใช้ในการปรับปรุงการเรียน การสอน และพฤติกรรมของผู้เรียน โดยมีกระบวนการวางแผน ปฏิบัติตามแผน สังเกตผลที่เกิดขึ้น และการสะท้อนความคิด

การวิจัยในชั้นเรียน หมายถึงการวิจัยที่ทำในบริบทของชั้นเรียน และมุ่งนำผลการวิจัยมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนของตน เป็นการนำกระบวนการวิจัยไปใช้ในการพัฒนาครูให้ไปสู่ความเป็นเลิศ และมีอิสระทางวิชาการ

       จากที่กล่าวมานี้สรุปได้ว่า การวิจัยในชั้นเรียนเป็นการวิจัยที่ครูทำเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียนของผู้เรียนบางคน บางกลุ่ม หรือทั้งหมด ซึ่งผลการวิจัยสามารถนำมาใช้ในการปรับปรุงการเรียน การสอน และพฤติกรรมของผู้เรียน โดยมีกระบวนการวางแผน ปฏิบัติตามแผน สังเกตผลที่เกิดขึ้น และการสะท้อนความคิด

วันนี้ เว็บไซต์ครูไทยฟรีดอทคอม มีของฟรีมาแจกอีกแล้ว เป็นไฟล์แก้ไขได้ วิจัยในชั้นเรียน ใหม่ๆ ระดับชั้นอนุบาล – ป.6 ถ้าหากวิจัยในชั้นเรียนทุกชั้น ที่ครบทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ก็คงต้องรออีกสักระยะ แอดมินหวังว่าจะพยายามหามาให้ครบ และสามารถนำไปใช้ต่อ ยอดหรือพัฒนารูปแบบได้อีกแน่นอน

คู่มือ ปฏิบัติงานฝ่ายวิชาการ doc
วิจัยในชั้นเรียน ใหม่ๆ

คู่มือ ปฏิบัติงานฝ่ายวิชาการ doc
วิจัยในชั้นเรียน ใหม่ๆ

<<<< ดาวน์โหลดวิจัยในชั้นเรียน>>>>

สามารถดาวน์โหลดตัวอย่างงานวิจัยในชั้นเรียนทั้งหมดกว่า 250 เรื่องได้ที่ลิงก์ด้านล่างนี้ครับ

ดาวน์โหลดเพิ่มเติมอีก 250 เรื่อง

งานวิจัย, บทความวิจัย, วิจัยในชั้นเรียน, วิจัยในชั้นเรียน2020, วิจัยในชั้นเรียนอนุบาล, วิทยาศาสตร์, แจกสื่อ

ผู้จัดทำและเรียบแรง เว็บไซต์ครูไทยฟรีดอทคอม
เชิญติดตาม ข่าวสารความเคลื่อนไหววงการศึกษา ข่าวสารการศึกษา แจกสื่อการเรียนการสอน แผนการสอน หลักสูตร ตัวชี้วัด ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน วิจัย วิทยฐานะ การสอบบรรจุรับราชการ สอบบรรจุครู ข้อสอบ ใบงาน กิจกรรมการเรียนการสอน ส่งเสริมการเรียนรู้ สื่อมัลติมีเดียครูยุค IT บทความ เทคนิคการสอน ไฟล์งานต่างๆ

บทความที่น่าสนใจเพิ่มเติม

รายงาน การดำเนินโครงการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนริมวัง 1 อำเภอพาน สำนักงานเขตพื้นที่การศึก...

การพัฒนา รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษาเชิงกลยุทธ์ แบบมีส่วนร่วมเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรีย...

แผนย่อยที่ 1 การส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมคุณธรรม/การทำความดีที่เหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย เป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เป้าหมายที่ 1 ประชากรมีกิจกรรมการปฏิบัติตนที่สะท้อนการมีคุณธรรมจริยธรรมเพิ่มขึ้น จำนวนประชากรอายุ 13 ปีขึ้นไป มีกิจกรรมการปฏิบัติตนที่สะท้อนการมีคุณธรรมจริยธรรมเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปีจากข้อมูลปีฐาน ปี พ.ศ. 2565 เป็นค่าตั้งต้น เป้าหมายที่ 2 จำนวนเครือข่ายทางสังคมที่มีขีดความสามารถในการส่งเสริมคุณธรรมในสังคมไทยเพิ่มขึ้น จำนวนเครือข่ายทางสังคมมีขีดความสามารถในการส่งเสริมคุณธรรมในสังคมไทยเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ภายในปี                  พ.ศ. 2570 จากข้อมูลปีฐาน ปี                 พ.ศ. 2565 เป็นค่าตั้งต้น แนวทางการพัฒนา (6 แนวทาง 10 โครงการ) แนวทางการพัฒนา โครงการ ผู้รับผิดชอบ แนวทางที่ 1 สร้างพื้นที่และสนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมหรือการทำความดี (1) โครงการสร้างเสริมสภาพแวดล้มที่เอื้อต่อการส่งเสริมคุณธรรมบนฐานชีวิตวิถีใหม่
(2) โครงการพัฒนาชุมชน องค์กร อำเภอ จังหวัดคุณธรรม
(3) โครงการพิพิธภัณฑ์ในมิติด้านคุณธรรม วธ./สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ (พศ.) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานทุกภาคส่วน แนวทางที่ 2 ยกย่องเชิดชูเกียรติบุคคล ชุมชน องค์กร อำเภอ จังหวัด คุณธรรม โครงการค้นหา/คัดเลือก/ยกย่องเชิดชูบุคคลหรือองค์กรด้านการส่งเสริมคุณธรรม หน่วยงานทุกภาคส่วน แนวทางที่ 3 ส่งเสริมให้สถาบันศาสนาเป็นศูนย์กลางชุมชนและขับเคลื่อนคุณธรรมด้วยพลังบวร (บ้าน-วัด/ศาสนสถาน-โรงเรียน/ราชการ) 1 ชุมชน 1 สถาบันศาสนา โครงการส่งเสริมสถาบันศาสนาเป็นศูนย์กลางชุมชนและขับเคลื่อนคุณธรรมด้วยพลังบวร กระทรวงมหาดไทย (มท.) /วธ./พศ. แนวทางที่ 4 พัฒนาขีดความสามารถของชุมชน องค์กร อำเภอ จังหวัดคุณธรรม สู่การสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจด้วยผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม โครงการพัฒนาขีดความสามารถของชุมชน องค์กร อำเภอ จังหวัดคุณธรรม สู่การสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจด้วยผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม สำนักนายกรัฐมนตรี/มท./วธ./กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา (กก.) แนวทางที่ 5 ส่งเสริมการนำคุณธรรมเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม การป้องกันและแก้ไขปัญหาอันเกิดจากภัยธรรมชาติ และวิกฤติโรคอุบัติใหม่ (1) โครงการส่งเสริมการนำคุณธรรมเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
(2) โครงการส่งเสริมการนำคุณธรรมเพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาอันเกิดจากภัยธรรมชาติ และวิกฤติโรคอุบัติใหม่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แนวทางที่ 6 สนับสนุนส่งเสริมกลไกของชุมชนให้มีระบบพี่เลี้ยงเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้ครอบครัวและชุมชน โครงการพัฒนาระบบพี่เลี้ยงชุมชน มท./กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.)/วธ. กิจกรรมที่ต้องดำเนินการ เช่น (1) กำหนดให้ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาสนับสนุนการจัดสรรงบประมาณงบบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเพื่อขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรม (2) การนำโครงการของแผนย่อยที่ 1 ภายใต้แผนปฏิบัติการด้านการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ระยะที่ 2 เข้าระบบติดตามและประเมินผลแห่งชาติ (eMENSCR) ของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) หลังการประกาศแผน แผนย่อยที่ 2 การพัฒนาระบบและการเสริมสร้างขีดความสามารถของกลไกเพื่อการขับเคลื่อนและส่งเสริมคุณธรรม เป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย เป้าหมายที่ 1 จำนวนเครือข่าย/องค์กรที่ร่วมกันทำกิจกรรมสาธารณะเพิ่มขึ้น จำนวนเครือข่าย/องค์กรจากทุกภาคส่วนที่ร่วมกันทำกิจกรรมสาธารณะเพิ่มขึ้น เช่น การมีส่วนร่วมของเครือข่ายภาคประชาชนในการติดตามและตรวจสอบโครงการของรัฐ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปีจากข้อมูลปีฐานปี พ.ศ. 2565 เป้าหมายที่ 2 จำนวนองค์กรเครือข่ายทางสังคมที่มีการพัฒนาระบบเครดิตทางสังคม (Social Credit) เพื่อรองรับการส่งเสริมคุณธรรม จำนวนองค์กรเครือข่ายทางสังคมที่มีการพัฒนาระบบเครดิตทางสังคม (Social Credit) ที่เหมาะสมกับบริบทของสังคมไทยเพื่อรองรับการส่งเสริมคุณธรรมเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ภายในปี                  พ.ศ. 2570 จากข้อมูลปีฐาน พ.ศ. 2566 เป้าหมายที่ 3 จำนวนหน่วยงานภาครัฐมีค่า ITA ผ่านเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้น จำนวนหน่วยงานภาครัฐมีค่า ITA ผ่านเกณฑ์มาตรฐานเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 ภายในปี                   พ.ศ. 2570 จากข้อมูลปีฐาน พ.ศ. 2565 แนวทางการพัฒนา (4 แนวทาง และ  6 โครงการ) แนวทางการพัฒนา โครงการ ผู้รับผิดชอบ แนวทางที่ 1 ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมในทุกช่วยวัยโดยนำนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบททางสังคมไทย โครงการพัฒนาระบบเครดิตทางสังคมให้เป็นเครื่องมือเพื่อการส่งเสริมคุณธรรมในสังคมไทย พม. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แนวทางที่ 2 สร้างกลไกเครือข่ายคุณธรรมและระบบการสนับสนุนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง (1) โครงการพัฒนาระบบและการเสริมสร้างขีดความสามารถของกลไกเพื่อการขับเคลื่อนและส่งเสริมคุณธรรมบนฐานชีวิตวิถีใหม่
(2) โครงการพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์เพื่อสร้างกลไกขับเคลื่อนจังหวัดคุณธรรมให้บรรลุเป้าหมาย พม./มท./วธ. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แนวทางที่ 3 พัฒนากลไกให้หน่วยงานภาครัฐขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรมตามหลักธรรมทางศาสนา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและวิถีวัฒนธรรมไทย                ที่ดีงาม (1) โครงการขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรมตามหลักธรรมทางศาสนา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และวิถีวัฒนธรรมไทยที่ดีงามอย่างเป็นระบบของหน่วยงานภาครัฐส่วนกลางและส่วนภูมิภาคสู่องค์กรคุณธรรม
(2) โครงการขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรมตามหลักธรรมทางศาลนา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และวิถีวัฒนธรรมไทยที่ดีงามอย่างเป็นระบบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสู่องค์กรคุณธรรม สำนักงาน ก.พ.ร./มท. แนวทางที่ 4 เสริมสร้างความเข้มแข็งของเครือข่ายด้วยกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการส่งเสริมคุณธรรม โครงการสมัชชาคุณธรรม ตลาดนัดคุณธรรม ตลาดนัดความดี วธ./มท. กิจกรมที่ต้องดำเนินการ เช่น (1) พัฒนาระบบเครดิตทางสังคม (Social Credit) ให้เป็นเครื่องมือเพื่อการส่งเสริมคุณธรรมในสังคมไทย อาทิ ธนาคารความดี นวัตกรรมสังคมแบบเปิดโดยภาครัฐ : “คนดีมีที่ยืน ความดีมีพื้นที่ในสังคม” เป็นต้น (2) การเชื่อมโยงเครื่องมือการประเมินระดับความเป็นเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการของหน่วยงานภาครัฐจากผลงานวิจัยสู่ระบบการประเมิน ITA แผนย่อยที่ 3 การส่งเสริมการเรียนรู้ และการพัฒนาศักยภาพคนและองค์กรเครือข่ายเพื่อขับเคลื่อนการส่งเสริมคุณธรรม เป้าหมาย ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย 1. ทุนชีวิตเด็กและเยาวชนไทยเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ภายในปี                   พ.ศ. 2570 จากข้อมูลปีฐาน ปี                 พ.ศ. 2565 2. จำนวนคนที่ได้รับการพัฒนาทักษะชีวิตจากการส่งเสริมคุณธรรมขององค์กรเครือข่ายเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปีจากข้อมูลปีฐาน ปี พ.ศ. 2566 แนวทางการพัฒนา (3 แนวทาง และ 5 โครงการ) แนวทางการพัฒนา โครงการ ผู้รับผิดชอบ แนวทางที่ 1 กำหนดให้สถานศึกษาทุกระดับของหน่วยงานทุกภาคส่วนสะท้อนกระบวนการจัดการศึกษาที่บรรลุเป้าหมายเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีพฤติกรรมและทักษะชีวิตที่สะท้อนคุณธรรมจริยธรรม กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.)/มท./กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรม (อว.)/วธ. แนวทางที่ 2 ส่งเสริมให้เกิดระบบการจัดการความรู้ที่เป็นกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตภายในชุมชนหรือหน่วยงาน (1) โครงการเรียนรู้/ปลูกฝัง/ส่งเสริม คุณธรรมบนฐานชีวิตวิถีใหม่
(2) โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทั้งในภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนให้มีขีดความสามารถในการส่งเสริมขับเคลื่อนการพัฒนาคุณธรรมที่เหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย หน่วยงานทุกภาคส่วน แนวทางที่ 3 ส่งเสริมงานวิชาการ งานวิจัยพัฒนา และเผยแพร่ระบบการจัดการความรู้ด้านการส่งเสริมคุณธรรม (1) โครงการส่งเสริมงานวิชาการ งานวิจัย พัฒนา สำรวจ รวบรวม และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการส่งเสริมคุณธรรมในสถานการณ์ต่าง ๆ
(2) โครงการพัฒนาสื่อส่งเสริมคุณธรรมที่เหมาะสมกับคนทุกช่วงวัย ศธ./อว./วธ./กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดศ.)/สำนักงานกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กิจกรรมที่ต้องดำเนินการ เช่น การกำหนดให้สถานศึกษาของหน่วยงานทุกภาคส่วน (โดยเฉพาะภาครัฐ) สะท้อนกระบวนการและผลการจัดการศึกษาที่บรรลุเป้าหมายเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม