แบบ ตอบ รับ ผลงานทางวิชาการ ผู้ บริหาร

ผลงาน

แบบเผยแพร่ผลงานและแบบตอบรับ

                ข้าพเจ้า……………………………………………..ตำแหน่ง…………………………………………    โรงเรียน……………………………………………………. ตำบล………………………………อำเภอ…………………………..จังหวัด…………………………..   ได้รับเอกสารการเผยแพร่ผลงานวิชาการ เรื่อง การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน  การแก้โจทย์ปํญหาเรื่องรูปสี่เหลี่ยม ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖   ของ   นายบัลลังก์   เวชพูล   ตำแหน่งครู  วิทยฐานะครูชำนาญการ โรงเรียนบ้านกุดชุมพัฒนา(ศรีวิสารรังสรรค์) ตำบลกุดชุม อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

ข้าพเจ้าได้ศึกษา และได้นำ เอกสารประกอบการเรียน ไปใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แล้วมีข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะดังนี้

ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ

  1. ลักษณะรูปเล่ม ขนาด ความเหมาะสม น่าสนใจ

O  ดีมาก                                O ดี                              O    พอใช้       O  ควรปรับปรุง

  1. เนื้อหาในเอกสารประกอบการเรียน สอดคล้องกับหลักสูตรเรื่องรูปสี่เหลี่ยม

O  ดีมาก                  O ดี                            O    พอใช้         O ควรปรับปรุง

  1. มีประโยชน์ต่อผู้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในวิชาคณิตศาสตร์

O  ดีมาก                                O ดี                            O    พอใช้          O ควรปรับปรุง

  1. มีประโยชน์ต่อนักเรียนในการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันต่อไปในอนาคต

O  ดีมาก                                O ดี                            O    พอใช้         O ควรปรับปรุง

ข้อเสนอแนะอื่น…………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………….………………………………..

………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชื่อ

(……………………………………….)

ที่   /                                                                             โรงเรียนบ้านกุดชุมพัฒนา(ศรีวิสารรังสรรค์)

ต.กุดชุม   อ.กุดชุม  จ.ยโสธร  35140

12        กันยายน      2555

เรื่อง  ขอความอนุเคราะห์เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

เรียน  ผู้อำนวยการ

สิ่งที่ส่งมาด้วย        1.   แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์เรื่องรูปสี่เหลี่ยม                          จำนวน    เล่ม

2.  แผนจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องรูปสี่เหลี่ยม                 จำนวน  1  เล่ม

3.  หนังสือตอบรับ                                                                                        จำนวน  1  ฉบับ

ด้วย  นายบัลลังก์   เวชพูล      ตำแหน่ง ครู   วิทยฐานะครูชำนาญการ   โรงเรียนบ้านกุดชุมพัฒนา(ศรีวิสารรังสรรค์)  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2    ได้จัดทำผลงานทางวิชาการเพื่อขอแต่งตั้งให้มีวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ  เรื่องการพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน  การแก้โจทย์ปํญหาเรื่องรูปสี่เหลี่ยม  ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖   บัดนี้การดำเนินงานดังกล่าวได้สำเร็จลุล่วงแล้ว

ในการนี้  ทางโรงเรียนบ้านกุดชุมพัฒนา(ศรีวิสารรังสรรค์)  ใคร่ขอความอนุเคราะห์จากท่านในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการดังกล่าว   และได้โปรดตอบรับผลงานทางวิชาการ ตามหนังสือตอบรับที่แนบมาพร้อมนี้   และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า  ผลงงานทางวิชาการดังกล่าว  จะก่อประโยชน์ต่อการพัฒนาและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน  กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ในสถานศึกษาของท่านเป็นอย่างดี

จึงเรียนมาเพื่อขอความอนุเคราะห์ และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้

ขอแสดงความนับถือ

(นายราชันต์  บุญหล้า)

ผู้อำนวยการสถานศึกษา  โรงเรียนบ้านกุดชุมพัฒนา(ศรีวิสารรังสรรค์)

โทร. 0-4578-9140

ที่…………… /……..                                                   โรงเรียน……………………………………….

…………………………………………………..

……………………………………………….

กันยายน    2555

เรื่อง  ตอบรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

เรียน  ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกุดชุมพัฒนา(ศรีวิสารรังสรรค์)

อ้างถึง หนังสือ ที่ กพ.    ลงวันที่  12 กันยายน  2555

สิ่งที่ส่งมาด้วย  แบบตอบรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ                                                     จำนวน  1     ฉบับ

ตามหนังสือที่อ้างถึง นายบัลลังก์   เวชพูล  ตำแหน่ง ครู  วิทยฐานะครูชำนาญการ  โรงเรียนบ้านกุดชุมพัฒนา(ศรีวิสารรังสรรค์)  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2   ได้จัดทำผลงานทางวิชาการ เพื่อขอแต่งตั้งให้มีวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ  ในเรื่อง การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน  การแก้โจทย์ปํญหาเรื่องรูปสี่เหลี่ยม  ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนบ้านกุดชุมพัฒนา(ศรีวิสารรังสรรค์)  และได้เผยแพร่ผลงานทางวิชาการข้างต้น มายังโรงเรียน……………………………………………… ตามรายละเอียดที่แจ้งแล้วนั้น

บัดนี้ โรงเรียน………………………………………….ได้รับเอกสารดังกล่าวไว้เรียบร้อยแล้ว ในการนี้จะได้นำผลงานดังกล่าวไปเผยแพร่  และประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมเพื่อเกิดประโยชน์สำหรับผู้เรียนต่อไป