ข อสอบ o-net ม.3 ป การศ กษา 2560 ช ด200

เผยแพร่: 16 มี.ค. 2558 15:28 ปรับปรุง: 16 มี.ค. 2558 15:57 โดย: MGR Online

“ณรงค์” มอบ สพฐ. ไปวิเคราะห์คะแนน O-Net ป.6 ม.3 อย่างละเอียด พร้อมเจาะลึกสาเหตุที่คะแนนลดเกิดในพื้นที่ใด เพื่อหาต้นตอและแก้ปัญหาได้ตรงจุด ระบุในปีการศึกษา 58 จะเริ่มดำเนินการกวดขันสนับสนุนให้เด็กทำคะแนน O-Net ให้สูงขึ้น

วันนี้ (16 ส.ค.) พล.ร.อ.ณรงค์ พิพัฒนาศัย รมว.ศึกษาธิการ กล่าวถึงผลคะแนนแบบทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-Net) ของระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2558 ซึ่งพบว่าค่าเฉลี่ยคะแนนในแต่ละวิชา ส่วนใหญ่ไม่ถึงร้อยละ 50.00 โดยเฉพาะวิชาหลัก ได้แก่ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ว่า เรื่องดังกล่าวคงต้องให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ดำเนินการวิเคราะห์ผลคะแนน O-Net อย่างละเอียดในทุกรายวิชาของทั้ง ป.6 และ ม.3 ว่า มีวิชาใดบ้างที่คะแนนลดลง และการลดลงนั้นเกิดจากสาเหตุใด นอกจากนี้ ต้องพิจารณาเจาะลึกลงไปด้วยว่า คะแนนที่ลดลงนั้นส่วนใหญ่เกิดจากโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ใด ภูมิภาคใดซึ่งหากเราสามารถหาต้นตอได้ ก็จะทำให้เราแก้ปัญหาได้ถูกจุดมากขึ้น

“เมื่อผลคะแนน O-Net ของเด็กออกมาระบุว่าต่ำลง เราก็ต้องเข้าไปเข้มงวดกวดขันมากขึ้น และเพิ่มมาตรการต่างๆ ที่จะช่วยทำให้คะแนนของเด็กเพิ่มสูงขึ้น แต่เวลานี้เป็นช่วงปิดภาคเรียนคงทำอะไรลำบาก แม้จะมีหน่วยงานต่างๆ จัดกิจกรรม หรือค่ายความรู้ต่างๆ แต่ก็ครอบคลุมไม่ทั่วถึงเด็กทุกคน เพราะฉะนั้น อาจต้องรอให้เปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 ก่อนถึงจะเริ่มดำเนินการเข้มงวดและจริงจังได้ ทั้งในเรื่องของการเรียนการสอนด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียม รวมทั้งการพัฒนาการเรียนการสอนของครู และนักเรียน” รมว.ศึกษาธิการ กล่าว

พล.ร.อ.ณรงค์ กล่าวถึงกรณีที่หลายคนมองว่าการที่คะแนน O-Net ลดลงน่าจะเกิดจาก การเรียนการสอนกับการออกข้อสอบไม่เหมือนกันเพราะการสอนมักเน้นท่องจำ แต่ข้อสอบเป็นการคิดวิเคราะห์นั้น ว่า ในประเด็นนี้คงต้องรอดูผลการวิเคราะห์จาก สพฐ. ก่อน หากพบว่าเป็นไปตามนี้จริง ก็ต้องปรับการสอนของครู

ตามที่ สทศ.ได้ดำเนินการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2564 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สอบวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2565 นั้น

ในการนี้ สทศ. ได้นำข้อสอบและเฉลยคำตอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เผยแพร่ทางเว็บไซต์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อให้ต้นสังกัดและโรงเรียนได้นำไปใช้ในวางแผนและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน รวมถึงยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ดียิ่งขึ้น

หากท่านใดมีข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับข้อสอบและเฉลยคำตอบ O-NET ปีการศึกษา 2564 สามารถส่งข้อมูลมาที่ สทศ. ตามช่องทาง ดังนี้ 1. ยื่นเอกสารด้วยตนเองที่ สทศ. (อาคารพญาไทพลาซ่า ชั้น 36 ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ) 2. สายตรงผู้บริหาร (www.niets.or.th เมนู สายตรงผู้บริหาร)

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

  • วิชาภาษาไทย
  • วิชาภาษาอังกฤษ
  • วิชาคณิตศาสตร์
  • วิชาวิทยาศาสตร์

ที่มา สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)

ตามที่ สทศ.ได้ดำเนินการจัดการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2560 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สอบวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2561 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สอบวันที่ 3-4 กุมภาพันธ์ 2561 นั้น

ในการนี้ สทศ. ได้นำข้อสอบและเฉลยคำตอบ O-NET ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เผยแพร่ทางเว็บไซต์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อให้ต้นสังกัดและโรงเรียนได้นำไปใช้ในวางแผนและพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน รวมถึงยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ดียิ่งขึ้น

หากท่านใดมีข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับข้อสอบและเฉลยคำตอบ O-NET ปีการศึกษา 2560 สามารถส่งข้อมูลมาที่ สทศ. ตามช่องทาง ดังนี้

  • 1. ม.3 ประจําปการศึกษา 2560 สอบวันที่ 3 กุมภาพันธ 2561 เวลา 08.30 – 10.00 น.
  • 2. หน้า |1 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 ตอนที่ 1 แบบปรนัย 4 ตัวเลือก เลือก 1 คําตอบที่ถูกตองที่สุด จํานวน 18 ขอ (ขอ 1 – 18) ขอละ 4 คะแนน รวม 72 คะแนน 1. 3 256 64 มีคาเทากับเทาใด 1. 8 2. 10 3. 12 4. 14 2. 2 2 2 2 7 1 2 3 5 2 3 5      มีคาเทากับขอใด 1. 1 150 2. 1 75 3. 0.001 4. 0.01 3. จากสถานีขนสง มีรถโดยสารไปตลาดสด ออกทุก 25 นาที และ รถโดยสารไปโรงพยาบาล ออกทุก 40 นาที ถารถโดยสารทั้งสองเสนทาง ออกเที่ยวแรกพรอมกันเวลา 6.00 น. เวลาที่รถทั้งสองเสนทางออกจากสถานีขนสงพรอมกันในครั้งถัดไปคือเวลาใด 1. 8.00 น. 2. 8.40 น. 3. 9.20 น. 4. 10.00 น. 4. นายใจดี ทํางานไดเงินเดือน 22,000 บาท เขาแบงเงินเดือนเปนสามสวน โดยใหอัตราสวนของคาใชจายสวนตัว ตอ เงินใหยาย ตอ เงินออม เปน 5 : 2 : 1 ในแตละเดือน จํานวนเงินที่นายใจดีใหยายเทากับขอใด 1. 2,750 บาท 2. 4,400 บาท 3. 5,000 บาท 4. 5,500 บาท
  • 3. หน้า |2 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 5. ถังทรงกระบอกมีรัศมียาว 7 นิ้ว มีน้ําอยูในถัง โดยระดับน้ําในถังสูง 3 นิ้ว ถาเติมน้ําลงในถังจนระดับน้ําในถังสูง 15 นิ้ว แลวคาประมาณของปริมาตรของน้ําที่เติมลงในถังเทากับ ขอใด (กําหนดให 22 7   ) 1. 528 ลูกบาศกนิ้ว 2. 588 ลูกบาศกนิ้ว 3. 1,848 ลูกบาศกนิ้ว 4. 2,310 ลูกบาศกนิ้ว 6. รูปสี่เหลี่ยมผืนผามีพื้นที่ 72 ตารางเซนติเมตร มีดานยาว ยาวเปน 2 เทาของดานกวาง ถานํารูปสี่เหลี่ยมผืนผานี้ 4 รูป มาเรียงติดกัน ดังรูป แลวเสนรอบรูป(เสนทึบ) ยาวเทากับขอใด 1. 72 เซนติเมตร 2. 84 เซนติเมตร 3. 96 เซนติเมตร 4. 108 เซนติเมตร 7. ตารางแสดงจํานวนักเรียนในหองที่มีเหรียญหาบาทจํานวนตางๆกัน จํานวนเหรียญหาบาท (เหรียญ) 0 1 2 3 4 จํานวนนักเรียน (คน) 10 11 y 3 2 ถาเหรียญหาบาทของนักเรียนทั้งหองรวมกันเปนเงิน 200 บาท แลวจํานวนนักเรียนที่มีเหรียญหาบาท 2 เหรียญ เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 4 คน 2. 6 คน 3. 12 คน 4. 14 คน
  • 4. หน้า |3 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 8. เด็กชายกันต ตองการซื้อของชิ้นหนึ่ง จึงนําเงินทั้งหมดที่มีอยูในกระปุกออมสินออกมานับ พบวา เงินที่มีอยู เปนเหรียญหนึ่งบาททั้งหมด และจํานวนเงินที่มีอยูนี้ยังไมพอที่จะซื้อของชินนี้ เขาจึงไปถอนเงินจากธนาคาร อีก 300 บาท ถาเดิม กันตมีเงินในธนาคารเปน 7 เทาของจํานวนเงินในกระปุกออมสิน และหลังจากถอน เงินแลว เงินที่กันตจะนําไปซื้อของมากกวาเงินที่เหลือในธนาคาร จํานวนเงินในกระปุกออมสินที่มากที่สุด ที่เปนไปไดเทากับขอใด 1. 74 บาท 2. 76 บาท 3. 99 บาท 4. 101 บาท 9. กําหนดแบบรูป , , , , , ... , a มีคาเทากับขอใด 1. –511 2. –255 3. –127 4. –63 10. กําหนดให P เปนจุดกึ่งกลางของ AB และ CD โดยที่ AB CD ดังรูป ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง 1. ACP BDP   2. ˆ ˆ1 2 3. AC = BD 4. AC BD A B C D P 1 2 3 4 2 1 4 3 6 7 8 15 3110 16 a
  • 5. หน้า |4 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 11. กําหนดให a และ b เปนคาคงตัว ถา y = ax + b มีกราฟเปนเสนตรงที่ผานจุด (3, 10) และ ขนานกับเสนตรง y = 2x แลว a + b เทากับขอใด 1. 6 2. 10 3. 12 4. 13 12. กําหนดให ABC มีจุด A(–3, 7) จุด B(0, 2) และจุด V(3, 4) เปนจุดยอดมุม ถาสะทอน ABC โดยมีแกน Y เปนแกนสะทอน จากนั้นเลื่อนขนานภาพที่ไดจากการสะทอนไป ทางขวา 5 หนวย แลวไดเปน A B C   พิกัดของจุด A คือขอใด 1. (8, 7) 2. (7, 8) 3. (2, –7) 4. (–2, 7) X Y A( 3,7) B(0,2) C(3,4)
  • 6. หน้า |5 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 13. กําหนดรูปเรขาคณิตสามมิติ 2 รูป ดังนี้ รูป A รูป B (ทิศทางของลูกศรแสดงทิศทางการมองดานขาง) พิจารณาภาพดานหนา ภาพดานขาง และภาพดานบนของรูป A และ B ขอใดถูกตอง 1. ภาพดานหนาของรูป A และ B เหมือนกัน 2. ภาพดานขางของรูป A และ B เหมือนกัน 3. ภาพดานบนของรูป A และ B เหมือนกัน 4. ไมมีภาพดานใดของรูป A และ B ที่เหมือนกัน 14. ถาภาพดานหนาและภาพดานขางของรูปเรขาคณิตสามมิติที่ประกอบขึ้นจากลูกบาศกเปนดังรูป ภาพดานหนา ภาพดานขาง แลวจํานวนลูกบาศกที่มากที่สุดที่เปนไปไดของรูปเรขาคณิตสามมิตินี้เทากับขอใด 1. 10 ลูก 2. 13 ลูก 3. 15 ลูก 4. 16 ลูก
  • 7. หน้า |6 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 15. แบงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีดานยาว 2 หนวย ออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดเทากัน 4 รูป และมีวงกลมแนบใน ดังรูป ความยาวของสวนของเสนตรง AB เทากับขอใด 1. 2 1 หนวย 2. 2 2 หนวย 3. 2 4 หนวย 4. 1 2 หนวย 16. ในการโยนเหรียญ 1 เหรียญ 3 ครั้ง ความนาจะเปนที่เหรียญจะออกกอยไมเกิน 2 ครั้ง เทากับขอใด 1. 7 8 2. 3 4 3. 1 2 4. 3 8 17. ในการใหคะแนนผลงานภาพวาดชิ้นหนึ่ง ซึ่งมีคะแนนเต็ม 10 คะแนน และมีกรรมการจํานวน 10 คน ผลปรากฏวา คะแนนรวมของกรรมการทั้ง 10 คน เทากับ 71 คะแนน ถาตัดคะแนนกรรมการที่ให คะแนนนอยที่สุดออก พบวาคะแนนเฉลี่ยของกรรมการ 9 คน ที่เหลือ เทากับ 7.5 คะแนน คะแนนที่ถูกตัดออกไปคือคะแนนในขอใด 1. 2 คะแนน 2. 2.5 คะแนน 3. 3 คะแนน 4. 3.5 คะแนน A B 1 1 1 1  
  • 8. หน้า |7 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 18. คะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน 2 หอง เปนดังนี้ คะแนนของนักเรียนในหอง A : 17 19 a 12 13 15 13 คะแนนของนักเรียนในหอง B : 11 16 b 13 20 18 14 ถาคะแนนของนักเรียนทั้งสองหองมีฐานนิยมเทากัน และมัธยฐานเทากัน แลว a + b เทากับขอใด 1. 24 2. 25 3. 26 4. 27 ตอนที่ 2 แบบระบายตัวเลขที่เปนคําตอบ จํานวน 7 ขอ (ขอ 19-25) ขอละ 4 คะแนน รวม 28 คะแนน 19. ในงานวันเด็กของหมูบานแหงหนึ่ง มีผูรวมงานทั้งหมด 72 คน โดย 1 9 ของผูมารวมงานทั้งหมดเปนผูใหญ สวนที่เหลือเปนเด็ก ถา 3 8 ของเด็กที่มารวมงานเปนเด็กผูชาย แลวมีเด็กผูหญิงมารวมงานกี่คน 20. กําหนดให n เปนจํานวนเต็ม ถา 15 n 47 24 36 72   แลว n มีคาเทาใด
  • 9. หน้า |8 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 21. แผนภูมิรูปวงกลมแสดงสวนประกอบของน้ําผลไมรวมที่บรรจุกลองยี่หอหนึ่ง ถาน้ําผลไมรวมยี่หอนี้แตละกลองมีปริมาตร 300 มิลลิลิตร แลวน้ําผลไมรวมยี่หอนี้หนึ่งกลอง จะมีน้ําสมกี่มิลลิลิตร 22. กําหนดให AB QR และ AC PR oˆBAC 90 AB , AC และ PR ยาว 3 , 6 และ 8 เซนติเมตร ตามลําดับ ดังรูป รูปสามเหลี่ยม PQR มีพื้นที่กี่ตารางเซนติเมตร น้ํามะนาว 15% น้ําสม 40% น้ําแครอท 25% น้ําฝรั่ง 20% A B P C Q R 6 ซม. 3 ซม. 8 ซม.
  • 10. หน้า |9 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 23. ปริซึมมีฐานเปนรูปสามเหลี่ยมขนมเปยกปูน ที่มีเสนทแยงมุมทั้งสองยาว 6 เซนติเมตร และ 8 เซนติเมตร ถาปริซึมสูง 10 เซนติเมตร แลวจะมีพื้นที่ผิวทั้งหมดเทากับกี่ตารางเซนติเมตร 24. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 5 แผน แตละแผนมีหมายเลข 1 , 2 , 3 , 4 , 5 แผนละ 1 หมายเลข ถาสุมหยิบสลาก 2 แผน พรอมกันจากกลองใบนี้ แลวความนาจะเปนที่จะไดผลคูณของจํานวนบนสลาก ทั้งสองแผนเปนจํานวนคี่เทากับเทาใด 25. แมใหเงินลูกจํานวนหนึ่ง ซึ่งนําไปซื้อไขไกได 4 ฟอง และไขเปดได 6 ฟอง พอดี หรือ ซื้อไขไกได 8 ฟอง และไขเปดได 3 ฟอง พอดี ถาแมเปลี่ยนใจใหลูกซื้อเฉพาะไขไกอยางเดียว แลวจํานวนเงินที่แมใหจะซื้อไข ไกไดกี่ฟอง --------
  • 11. หน้า |10 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 เฉลย ------------- ตอนที่ 1 1. 3 2. 4 3. 3 4. 4 5. 3 6. 3 7. 2 8. 3 9. 2 10. 2 11. 1 12. 1 13. 2 14. 2 15. 1 16. 1 17. 4 18. 4 ตอนที่ 2 19. 40 20. 23 21. 120 22. 16 23. 248 24. 0.3 25. 12 ------------- ตอนที่ 1 ขอ 1. ตอบ 3. แนวคิด 3 3 256 64 16 16 4 4 4      16 4  = 12  ------------- ขอ 2. ตอบ 4. แนวคิด 2 2 2 2 2 2 2 2 7 1 7 2 1 5 2 52 3 5 2 3 5 2 3 5 2 3 5                           2 2 2 2 2 2 14 5 2 3 5 2 3 5       9  2 2 2 3 2 5 2 2 1 2 5   1 100  = 0.01 
  • 12. หน้า |11 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 ขอ 3. ตอบ 3. แนวคิด ชวงเวลาที่นอยที่สุดที่รถทั้งสองจะออกพรอมๆกัน จะเทากับ ค.ร.น. ของ 25 นาที และ 40 นาที หาไดดังนี้ 5 25 40 5 8 ค.ร.น. ของ 25 และ 40 เทากับ 5 5 8 200   นาที = 3 ชั่วโมง 20 นาที ดังนั้นหลังจากที่ออกพรอมเที่ยวแรกเวลา 6.00 น. อีก 3 ชั่วโมง 20 นาที จะออกพรอมกันอีกครั้ง ซึ่งตรงกับเวลา 9.20 น.  ------------- ขอ 4. ตอบ 4. แนวคิด นายใจดีแบงเงินเปนสามสวน โดยมีอัตราสวนของคาใชจายสวนตัว ตอ เงินใหยาย ตอ เงินออม เปน 5 : 2 : 1 แสดงวาใหยายเทากับ 2 8 ของเงินเดือนทั้งหมด ซึ่งเทากับ 2 22,000 8  = 5,500 บาท  ------------- ขอ 5. ตอบ 3. แนวคิด ถังทรงกระบอกมีรัศมียาว 7 นิ้ว มีน้ําอยูในถังโดยระดับน้ําในถังสูง 3 นิ้ว แลวเติมน้ําลงในถังจนระดับน้ําในถังสูง 15 นิ้ว แสดงวาน้ําที่เติมลงไปทําใหระดับน้ําสูงขึ้น 15 – 3 = 12 นิ้ว โดยสูตรปริมาตรทรงกระบอก เทากับ 2 r h 3 15 12
  • 13. หน้า |12 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 จะได ปริมาตรน้ําที่เติมลงในถัง = ปริมาตรของน้ําในถังรัศมียาว 7 นิ้ว และมีระดับน้ําสูง 12 นิ้ว = 2 7 12  22 7  49 7 12 = 1,848 ลูกบาศกนิ้ว  ------------- ขอ 6. ตอบ 3. แนวคิด กําหนดรูปสี่เหลี่ยมผืนผามีพื้นที่ 72 ตารางเซนติเมตร มีดานยาว ยาวเปน 2 เทาของดานกวาง ถาใหดานกวางมีความยาว x เซนติเมตร จะไดดานยาวมีความยาว 2x เซนติเมตร จากพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผามีพื้นที่ 72 ตารางเซนติเมตร จะไดสมการ คือ (2x)(x) 72 2 2x 72 นํา 2 หารตลอด : 2 x 36 x 6 แสดงวาดานกวางมีความยาว 6 เซนติเมตร และดานยาวมีความยาว 2 6 12  เซนติเมตร นํารูปสี่เหลี่ยมขนาดกวาง 6 เซนติเมตร และยาว 12 เซนติเมตร มาตอกันดังรูป จะไดความยาวรอบรูป = 6 + 6 + 12 + 6 + 6 + 12 + 6 + 6 + 12 + 6 + 6 + 12 = 96 เซนติเมตร  12 12 12 12 6 6 6 6 6 6 6 6
  • 14. หน้า |13 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 ขอ 7. ตอบ 2. แนวคิด จากตารางแสดงจํานวนักเรียนในหองที่มีเหรียญหาบาทจํานวนตางๆกัน จํานวนเหรียญหาบาท (เหรียญ) คาของเงินเหรียญหาบาท (บาท) จํานวนนักเรียน (คน) จํานวนเงิน (บาท) 0 0  5 = 0 10 10  0 = 0 1 1  5 = 5 11 11  5 = 55 2 2  5 = 10 y y  10 = 10y 3 3  5 = 15 3 3  15 = 45 4 4  5 = 20 2 2  20 = 40 โจทยกําหนดเหรียญหาบาทของนักเรียนทั้งหองรวมกันเปนเงิน 200 บาท จะไดสมการคือ 0 + 55 + 10y + 45 + 40 = 200 10y + 140 = 200 10y = 60 y = 6 จํานวนนักเรียนที่มีเหรียญหาบาท 2 เหรียญ เทากับ 6 คน  ------------- ขอ 8. ตอบ 3. แนวคิด สมมติใหกันตมีเงินในกระปุกออมสินจํานวน x บาท จากที่โจทยกําหนดกันตมีเงินในธนาคารเปน 7 เทาของจํานวนเงินในกระปุกออมสิน แสดงวากันตมีเงินในธนาคารจํานวน 7x บาท กันตถอนเงินออกมาจากธนาคาร 300 บาท แสดงวาเงินที่นําไปซื้อของ x + 300 บาท และเหลือเงินในธนาคาร 7x – 300 บาท จากที่โจทยกําหนดหลังจากถอนเงินแลวเงินที่กันตจะนําไปซื้อของมากกวาเงินที่เหลือในธนาคาร
  • 15. หน้า |14 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 จะไดอสมการคือ x + 300 > 7x – 300 300 + 300 > 7x – x 600 > 6x 600 6 > x 100 > x แสดงวาเงินในกระปุกออมสินมีคานอยกวา 100 บาท และเนื่องจากเงินในกระปุกออมสินเปนเหรียญบาททั้งหมด ดังนั้นเงินในกระปุกออมสินมีมากที่สุดที่เปนไปไดเทากับ 99 บาท  ------------- ขอ 9. ตอบ 2. แนวคิด จํานวนในสี่เหลี่ยมขางหนา จํานวนในสี่เหลี่ยมขางหลัง 2 = 1  2 –1 = 1 1 2 4 = 2  2 –3 = 2 1 2 6 = 3  2 –7 = 3 1 2 8 = 4  2 –15 = 4 1 2 10 = 5  2 –31= 5 1 2 16 = 8  2 a = 8 1 2 255   ดังนั้น a = –255   2 1 4 3 6 7 8 15 3110 16 a
  • 16. หน้า |15 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 ขอ 10. ตอบ 2. แนวคิด กําหนดให P เปนจุดกึ่งกลางของ AB และ CD โดยที่ AB CD ดังรูป จากรูปจะพบวา AP = BP [P เปนจุดกึ่งกลางของ AB ] ˆ ˆAPC BPD [มุมตรงขาม] CP = DP [P เปนจุดกึ่งกลางของ CD ] ดังนั้น ACP BDP   [ดาน–มุม–ดาน] แสดงวาตัวเลือก 1. ถูกตอง จากที่เราไดวา ACP BDP   จะไดอีกวา AC = BD แสดงวาตัวเลือก 3. ถูกตอง ˆ ˆ1 4 [ทําใหเกิดมุมแยงเทากัน] แสดงวาตัวเลือก 4. ถูกตอง และ ˆ ˆ2 3 โดยที่โจทยกําหนด AB CD แสดงวา AP CP ทําให ˆ ˆ1 3 แตเราไดแลววา ˆ ˆ2 3 แสดงวา ˆ ˆ1 2 แสดงวาตัวเลือก 2. ไมถูกตอง  A B C D P 1 2 3 4
  • 17. หน้า |16 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 ขอ 11. ตอบ 1. แนวคิด โจทยกําหนด y = ax + b มีกราฟขนานกับเสนตรง y = 2x แสดงวาความชันของเสนตรงทั้งสองเทากัน นั่นคือ a = 2 โจทยกําหนด y = ax + b มีกราฟเปนเสนตรงที่ผานจุด (3, 10) แสดงวาแทน x = 3 และ y = 10 จะทําใหสมการเปนจริง นั่นคือ 10 = 3a + b แทน a = 2 จะได 10 = 32 + b 10 = 6 + b b = 4 ดังนั้น a + b = 2 + 4 = 6  ------------- ขอ 12. ตอบ 1. แนวคิด กําหนดให ABC มีจุด A(–3, 7) จุด B(0, 2) และจุด V(3, 4) เปนจุดยอดมุม สะทอน ABC โดยมีแกน Y เปนแกนสะทอน จะไดภาพภาพจากการสะทอนดังรูป สามเหลี่ยมที่มีจุดยอดอยูที่จุด (3, 7), (–3, 4) และ (0, 2) ดังรูป จากนั้นเลื่อนขนานภาพที่ไดจากการสะทอนไปทางขวา 5 หนวย จะไดเปนรูป A B C   ดังรูป ดังนั้นจากรูป A B C   พัดกัดของจุด A คือ (8, 7)  X Y A( 3,7) B(0,2) C(3,4) (3,7) ( 3,4) A (8,7) B (5,2) C
  • 18. หน้า |17 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 ขอ 13. ตอบ 2. แนวคิด ภาพดานหนา รูป A รูป B ภาพจากมองดานหนาของรูป A ภาพจากมองดานหนาของรูป B ภาพมองดานขาง รูป A รูป B ภาพจากมองดานหนาของรูป A ภาพจากมองดานหนาของรูป B ภาพมองดานบน รูป A รูป B ภาพจากมองดานหนาของรูป A ภาพจากมองดานหนาของรูป B จะพบวาดานมองดานขางของรูป A และ B เหมือนกัน 
  • 19. หน้า |18 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 ขอ 14. ตอบ 2. แนวคิด ภาพจากดานหนา ภาพจากดานขาง รูปสามมิติจากภาพดานหนา รูปสามมิติจากภาพมองดานขาง ดังนั้นจะไดรูปสามมิติที่มีจํานวนลูกบาศกที่มากที่สุดที่เปนไปได จากภาพจากดานหนา และภาพจากดานขางดังนี้ จะไดรูปสามมิติมีจํานวนลูกบาศกมากที่สุด 13 ลูก  ------------- ขอ 15. ตอบ 1. แนวคิด แบงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีดานยาว 2 หนวย ออกเปนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดเทากัน 4 รูป และมีวงกลมแนบใน ดังรูป A B 1 1 1 1     C D E
  • 20. หน้า |19 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 กําหนดให C และ D เปนจุดศูนยกลางของวงกลม สรางรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก CDE ดังรูปขางตน จะได CA = DB = 0.5 หนวย และ CE = DE = 1 ให AB = x หนวย โดยทฤษฎีบทปทาโกรัส จะไดวา 2 2 2 CD CE DE  2 2 2 (0.5 x 0.5) 1 1    2 (x 1) 2  x 1 2   x 2 1   แตเนื่องจาก x > 0 แสดงวา x 2 1  นั่นคือ AB 2 1  หนวย  ------------- ขอ 16. ตอบ 1. แนวคิด ในการโยนเหรียญ 1 เหรียญ 3 ครั้ง จะมีผลลัพธทั้งหมดที่เกิดขึ้นได 8 วิธีดังนั้น HHH , HHT , HTH , HTT, THH , THT , TTH , TTT, เหตุการณที่เหรียญจะออกกอยไมเกิน 2 ครั้ง จะมีผลลัพธทั้งหมดที่เกิดขึ้นได 7 วิธี ไดแก HHH , HHT , HTH , HTT, THH , THT , TTH ดังนั้นความนาจะเปนที่เหรียญจะออกกอยไมเกิน 2 ครั้ง เทากับ 7 8 
  • 21. หน้า |20 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 ขอ 17. ตอบ 4. แนวคิด สมมติใหคะแนนที่นอยที่สุดที่ตัดออกไปคือ x คะแนน จากโจทยกําหนดคะแนนรวมของกรรมการทั้ง 10 คน เทากับ 71 คะแนน แสดงวาผลรวมของคะแนนของกรรมการ 9 คนที่เหลือ เทากับ 71 – x คะแนน โจทยกําหนดคะแนนเฉลี่ยของกรรมการ 9 คน ที่เหลือ เทากับ 7.5 คะแนน จะไดสมการคือ 71 x 7.5 9   นํา 9 คูณตลอด : 71 x 7.5 9   71 x 67.5  x 71 67.5  x 3.5 แสดงวาคะแนนที่ถูกตัดออกไปเทากับ 3.5 คะแนน  ------------- ขอ 18. ตอบ 4. แนวคิด คะแนนสอบวิชาภาษาไทยของนักเรียน 2 หอง เปนดังนี้ คะแนนของนักเรียนในหอง A : 17 19 a 12 13 15 13 คะแนนของนักเรียนในหอง B : 11 16 b 13 20 18 14 จะพบวาฐานนิยมของคะแนนนักเรียนในหอง A เทากับ 13 โจทยกําหนดคะแนนของนักเรียนทั้งสองหองมีฐานนิยมเทากัน แสดงวาฐานนิยมของคะแนนนักเรียนในหอง B เทากับ 13 ทําใหคะแนนของนักเรียนหองตองมี 13 ซ้ํากันมากที่สุด ดังนั้น b ตองมีคาเทากับ 13 พิจารณาคะแนนของนักเรียนหอง B โดยเรียงจากนอยไปหามาก จะไดดังนี้ 11 , 13 , 13 , 14 , 16 , 18 , 20 จะพบวามัธยฐานของคะแนนนักเรียนหอง B เทากับ 14
  • 22. หน้า |21 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 โจทยกําหนดคะแนนของนักเรียนทั้งสองหองมีมัธยฐานเทากัน ดังนั้นมัธยฐานของคะแนนนักเรียนหอง A เทากับ 14 และคะแนนนักเรียนหอง A มีจํานวน 7 คะแนน แสดงวา 14 เปนคะแนนหนึ่งในบรรดาคะแนน 7 คนซึ่งอยูตําแหนงตรงกลางเมื่อเรียงจากนอยไปมาก พิจารณาคะแนนของนักเรียนหอง A โดยเรียงจากนอยไปหามาก จะไดดังนี้ 12 , 13 , 13 , 14 , 15 , 17 , 19 แสดงวา a มีคาเทากับ 14 ดังนั้น a + b = 13 + 14 = 27  ------------- ตอนที่ 2 ขอ 19. ตอบ 40 แนวคิด ในงานวันเด็กของหมูบานแหงหนึ่ง มีผูรวมงานทั้งหมด 72 คน โจทยกําหนด 1 9 ของผูมารวมงานทั้งหมดเปนผูใหญ สวนที่เหลือเปนเด็ก แสดงวามีเด็กมารวมงาน 8 9 ของผูมารวมงานทั้งหมด ซึ่งเทากับ 8 72 64 9   คน โจทยกําหนด 3 8 ของเด็กที่มารวมงานเปนเด็กผูชาย แสดงวา 5 8 ของเด็กที่มารวมงานเปนเด็กผูหญิง ซึ่งเทากับ 5 64 40 8   คน 
  • 23. หน้า |22 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 ขอ 20. ตอบ 23 แนวคิด จากอสมการ 15 n 47 24 36 72   นํา 72 คูณตลอด : 15 n 47 72 72 72 24 36 72      15 3 n 2 47    45 2n 47  นํา 2 หารตลอด : 45 2n 47 2 2 2   22.5 n 23.5  โดยที่ n เปนจํานวนเต็ม แสดงวา n = 23  ------------- ขอ 21. ตอบ 120 แนวคิด แผนภูมิรูปวงกลมแสดงสวนประกอบของน้ําผลไมรวมที่บรรจุกลองยี่หอหนึ่ง โดยที่น้ําผลไมรวมยี่หอนี้แตละกลองมีปริมาตร 300 มิลลิลิตร จะได น้ําผลไมรวมยี่หอนี้หนึ่งกลอง จะมีน้ําสม 40% ซึ่งเทากับ 40 300 120 100   มิลลิลิตร  น้ํามะนาว 15% น้ําสม 40% น้ําแครอท 25% น้ําฝรั่ง 20%
  • 24. หน้า |23 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 ขอ 22. ตอบ 16 แนวคิด เนื่องจาก AB QR จะได ˆ ˆABC RQP [มุมแยงของเสนขนาน] เนื่องจาก AC PR จะได ˆ ˆACB RPQ [มุมแยงของเสนขนาน] เมื่อพิจารณา ABC และ RQP เราไดวา ˆ ˆABC RQP และ ˆ ˆACB RPQ แสดงวามุมที่เหลือของสามเหลี่ยมทั้งสองตองเทากัน นั่นคือ ˆ ˆBAC QRP โจทยกําหนด oˆBAC 90 จะได oˆQRP 90 และจะไดอีกวา RQP  ABC โดยสมบัติของสามเหลี่ยมคลาย จะมีอัตราสวนของดานที่สมนัยกันเทากัน จะได RQ RP AB AC  แทน AB = 3, AC = 6 , RP = 8 : RQ 8 3 6  8 RQ 3 6   RQ 4 ดังนั้นพื้นที่รูปสามเหลี่ยม PQR เทากับ 1 PR RQ 2   = 1 8 4 16 2    ตารางเซนติเมตร  A B P C Q R 6 ซม. 3 ซม. 8 ซม.
  • 25. หน้า |24 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 ขอ 23. ตอบ 248 ตารางเซนติเมตร แนวคิด ปริซึมมีฐานเปนรูปสามเหลี่ยมขนมเปยกปูนที่มีเสนทแยงมุมทั้งสองยาว 6 เซนติเมตร และ 8 เซนติเมตร โดยปริซึมสูง 10 เซนติเมตร พิจารณาฐานของปริซึม ดังรูป กําหนดให x แทนความยาวดานของฐานที่เปนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน โดยสมบัติของสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน เสนทแยงมุมตัดกับเปนมุมฉาก และแบงครึ่งซึ่งกันและกัน จะไดดังรูป จากรูป โดยทฤษฎีบทปทาโกรัส จะได 2 2 2 x 3 4  2 x 9 16  2 x 25 x 5 ดังนั้นฐานเปนรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูนยาวดานละ 5 เซนติเมตร จากสูตรพื้นที่สี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน เทากับ 1 2  ผลคูณของเสนทแยงมุม และสูตรพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผา เทากับ กวาง  ยาว โจทยกําหนดปริซึมสูง 10 เซนติเมตร จะได พื้นที่ผิวทั้งหมดของปริซึม = พื้นที่หนาตัดทั้งสอง + พื้นที่ผิวขางทั้งสี่ดาน = 1 2 6 8 2        + 4 (5 10)  = 48 + 200 = 248 ตารางเซนติเมตร  4 3 x 105 10 56 8
  • 26. หน้า |25 ปีการศึกษา 2560 สอบวันที 3 กุมภาพันธ์ 2561 ขอ 24. ตอบ 0.3 แนวคิด กําหนดกลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 5 แผน แตละแผนมีหมายเลข 1 , 2 , 3 , 4 , 5 แผนละ 1 หมายเลข สุมหยิบสลาก 2 แผน พรอมกันจากกลองใบนี้ จะไดผลลัพธทั้งหมด 10 วิธี ไดแก {1, 2} , {1, 3} , {1, 4} , {1, 5} , {2, 3} , {2, 4} , {2, 5} , {3, 4} , {3, 5} , {4, 5} ผลลัพธที่ผลคูณของจํานวนบนสลากทั้งสองแผนเปนจํานวนคี่ มี 3 วิธี ไดแก {1, 3} , {1, 5} , {3, 5} ดังนั้นความนาจะเปนที่จะไดผลคูณของจํานวนบนสลากทั้งสองแผนเปนจํานวนคี่เทากับ 3 0.3 10   ------------- ขอ 25. ตอบ แนวคิด กําหนดให ไขไกราคาฟองละ x บาท ไขเปดราคาฟองละ y บาท จากเงินที่แมใหซื้อไขไกได 4 ฟอง และไขเปดได 6 ฟอง พอดี แสดงวาเงินที่แมใหเทากับ 4x + 6y บาท จากเงินที่แมใหซื้อไขไกได 8 ฟอง และไขเปดได 3 ฟอง พอดี แสดงวาเงินที่แมใหเทากับ 8x + 3y บาท ดังนั้น 4x + 6y = 8x + 3y 6y – 3y = 8x – 4x 3y = 4x แสดงวา ไขเปด 3 ฟอง มีราคาเทากับ ไขไก 4 ฟอง จากที่โจทยกําหนดวาเงินที่แมใหซื้อไขไกได 8 ฟอง และไขเปดได 3 ฟอง พอดี แตเราไดแลววาราคาไขเปด 3 ฟอง เทากับไขไก 4 ฟอง ดังนั้นเงินที่แมใหซื้อไขไกอยางเดียวจะได 8 + 4 = 12 ฟอง  -------------

ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ออกเรื่องอะไรบ้าง

O-NET ป.6 และ ม.3 สอบ 4 วิชา ได้แก่ (1) ภาษาไทย (รูปแบบปรนัยและอัตนัย) (2) ภาษาอังกฤษ (3) คณิตศาสตร์ (4) วิทยาศาสตร์

สอบโอเน็ต ม.3 จําเป็นไหม

1. กระทรวงศึกษาธิการมีประกาศ เรื่อง นโยบายการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O- NET) ลงวันที่ 25 ธันวาคม 2563. ให้ผู้เรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3.

ข้อสอบโอเน็ต ม.3 ปีมีกี่ข้อ

คะแนนเต็ม 100 คะแนน รูปแบบข้อสอบ ปรนัย 4 ตัวเลือก 1 คำตอบ (45 ข้อ)

สอบ O

O-NET ต้องสอบวิชาอะไรบ้าง รายวิชาในการสอบ O-NET นั้น จะแตกต่างกันไปในแต่ละระดับชั้น ดังนี้ O-NET ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จะมีสอบทั้งหมด 4 รายวิชา คือ วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ O-NET ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จะมีสอบทั้งหมด 4 รายวิชา คือ วิชาภาษาไทย ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์