81 1 ม.7 ต.ท าทอง อ.เม อง จ.พ ษณ โลก

ภู ภูมิมิปั ปัญญาท้ ท้องถิ่ถิ่

ถิ่

ถิ่

2566

คลังสมองของตำบล

กศน.จั จังหวัวัดพิ พิษณุ ณุโลก

ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นถิ่

คลังสมองของตำบล ประจำปีพ.ศ. 2566

ข้อมูลโดย ครูกศน.ตำบล

ครูอาสาสมัคร กศน.

ครูศูนย์การเรียนชุมชน

รวบรวมโดย กลุ่มส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย

สำนักงาน กศน.จังหวัดพิษณุโลก

plk.nfe.go.th

[email protected]

055 322 677

320 หมู่ 5 ต.หัวรอ อ.เมือง

จ.พิษณุโลก 65000

93ตำบล

คำนำ

ภูมิปัญญาท้องถิ่น คถิ่ลังสมองของตำบล นับเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ในชุมชน

เป็นองค์ความรู้ที่มีอยู่ในตัวบุคคล สถานที่ ชุมชน ถ่ายทอดสืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น

มีความสำคัญยิ่งยิ่ต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน

สำนักงาน กศน.จังหวัดพิษณุโลก โดยกลุ่มส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย

และความร่วมมือจาก ครู กศน.ตำบล ครูอาสาสมัคร กศน. ครูศูนย์การเรียนชุมชน

ผู้บริหารสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงาน กศน.จังหวัดพิษณุโลก ทำการรวบรวมข้อมูล

จัดทำคลังข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น คถิ่ลังสมองของตำบล จำนวน 93 ตำบล ตำบลละ

1 ภูมิปัญญา เพื่อนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษา

นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย ให้แก่ประชาชน เป็นการสืบสานอนุรักษ์ไว้ซึ่งซึ่

ภูมิปัญญาท้องถิ่นถิ่ ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณี อันเป็น

รากฐานความรู้ของชาวบ้าน ที่สร้างขึ้นจากประสบการขึ้ณ์ และความรอบรู้ รวมทั้ง

ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษไว้ไม่ให้สูญหายไปจากชุมชน

กลุ่มส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย

สำนักงาน กศน.จังหวัดพิษณุโลก

ตำบลในเมือง

ตำบลอรัญญิก

ตำบลบ้านคลอง

ตำบลปากโทก

ตำบลไผ่ขอดอน

ตำบลบ้านกร่าง

ตำบลวัดพริก

ตำบลจอมทอง

ตำบลวังน้ำคู้

ตำบลดอนทอง

สารบัญ

อำอำเภอเมืมืองพิ พิษณุ ณุโลก

ตำบลวัดจันทร์

ตำบลสมอแข

ตำบลงิ้วงาม

ตำบลมะขามสูง

ตำบลบ้านป่า

ตำบลบึงพระ

ตำบลหัวรอ

ตำบลท่าทอง

ตำบลพลายชุมพล

ตำบลท่าโพธิ์

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

ตำบลบางกระทุ่ม

ตำบลนครป่าหมาก

ตำบลวัดตายม

ตำบลเนินกุ่ม

ตำบลโคกสลุด

ตำบลไผ่ล้อม

ตำบลท่าตาล

ตำบลบ้านไร่

ตำบลสนามคลี

สารบัญ

อำเภอบางกระทุ่ม

ตำบลเนินมะปราง

ตำบลบ้านมุง

ตำบลชมพู

ตำบลไทรย้อย

ตำบลวังโพรง

ตำบลวังยาง

ตำบลบ้านน้อยซุ้ม

ซุ้

ขี้เห

ขี้ ล็ก

อำเภอเนินมะปราง

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35

36

ตำบลชาติตระการ

ตำบลป่าแดง

ตำบลท่าสะแก

ตำบลบ่อภาค

ตำบลบ้านดง

ตำบลสวนเมี่ยง

มี่

สารบัญ

อำเภอชาติตระการ

ตำบลวัดโบสถ์

ตำบคันโช้ง

ช้

ตำบลท้อแท้

ตำบลท่างาม

ตำบลบ้านยาง

ตำบลหินลาด

อำเภอวัดโบสถ์

37

38

39

40

41

42

43

44

45

46

47

48

ตำบลนครไทย

ตำบลบ่อโพธิ์

ตำบลนครชุม

ตำบลน้ำกุ่ม

ตำบลยางโกลน

ตำบลหนองกระท้าว

ตำบลนาบัว

ตำบลเนินเพิ่มพิ่

ตำบลบ้านพร้าว

ตำบลห้วยเฮี้ย

ตำบลบ้านแยง

สารบัญ

อำเภอนครไทย

49

50

51

52

53

54

55

56

57

58

59

ตำบลบางระกำ

ตำบลพันเสา

ตำบลชุมแสงสงคราม

ตำบลท่านางงาม

ตำบลนิคมพัฒนา

ตำบลบ่อทอง

ตำบลหนองกุลา

ตำบลบึงกอก

ตำบลวังอิทก

ตำบลปลักแรด

ตำบลคุยคุม่วง

สารบัญ

อำเภอบางระกำ

60

61

62

63

64

65

66

67

68

69

70

ตำบลวังทอง

ตำบลชัยนามชั

ตำบลวังพิกุล

ตำบลพันชาลี

ตำบลแก่งโสภา

ตำบลบ้านกลาง

ตำบลท่าหมื่นราม

ตำบลแม่ระกา

ตำบลหนองพระ

ตำบลดินทอง

ตำบลวังนกแอ่น

สารบัญ

อำเภอวังทอง

71

72

73

74

75

76

77

78

79

80

81

ตำบลพรหมพิราม

ตำบลหอกลอง

ตำบลดงประคำ

ตำบลตลุกเทียม

ตำบลทับยายเชียงชี

ตำบลท่าช้าง

ช้

ตำบลมะต้อง

ตำบลมะตูม

ตำบลวงฆ้อง

ตำบลวังวน

ตำบลศรีภิ รีรมย์

ตำบลหนองแขม

สารบัญ

อำเภอพรหมพิราม

82

83

84

85

86

87

88

89

90

91

92

93

อำอำเภอเมืมืองพิ พิษณุ ณุโลก

สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

การน าขยะมารีไซเคิล

ร้อยเอก สนอง กลิ่นทอง

ชื่อครู วิไลลักษณ์ ประทุมทอง

กศน.ต าบลในเมือง

อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 094-1352780

ร้ อยเอกสนอง กลิ่นทอง เป็ นคน

ชอบความสะอาดชอบปลูกต้นไม้และ

รักษาสิ่งแวดล้อม วันที่ 30 มีนาคม

2539 ได้รับเลือกให้ เป็ นประธาน

ชุมชนสระสองห้ อง เทศบาลนคร

พิษณุโลก และรวบรวมชาวบ้านให้

ช่ วยกันรักษาสิ่งแวดล้อมในชุมชน

ไม่เผาขยะและใบไม้กิ่งไม้ ได้เข้ารับ

การอบรมการคัดแยกขยะขายได้ การ

เพิ่มมูลค่าขยะเมื่อปี 2549จากบริษัท

วงษ์พานิชเป็ นร้านรับซื้อและรับสอน

วิธีการคัดแยกขยะที่ถูกวิธีและได้

ราคาที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยและ

เข้าอบรมเพิ่มเติมหลักสูตรของกศน.

และเข้าร่วมกิจกรรมของกศน.ด้วย

เ ป็ น บุค ค ล ที่ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม ร้ ใ น ดู้า น

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีจุดเด่น คือเป็ นบุคคลในการถ่ายทอด

ความร้ในด้านการนาขยะมาูรีไซเคิล คือ

-การท าไม้กวาดจากเส้นพลาสติก

-การน าล้อจักรยานยนต์ไปท าเก้าอี้

-การน าเศษตาข่ายในล่อนน าไปท าเครื่องมือดักก้งฝอยุ

- ขวดน ้าพลาสติกขนาด 1ลิตร น าไปดัดแปลงทาเป็ นขวดดัก

แมลงวัน

ร้ อยเอกสนอง กลิ่นทอง เป็ นวิทยากรถ่ ายทอดความรู้ด้ าน

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และเป็ นศูนย์แหล่งเรียนร้ ภู ูมิ

ปัญญาท้องถิ่นให้กับประชาชนและนักเรียน บ้านหนังสือชุมชนส่งเสริม

การอ่าน

2 / 23ถนนเทพารักษ์ ต.ในเมือง

อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

095-6259158

095-6259158

ชุมชนสระสองห้อง

และสิ่งแวดล้อม

1

สาขา เกษตรกรรม

นย์การเรียนร้

ูเศรษฐกิจพอเพียง

นายชัชวาลย์ เกษส

วรรณ

ชื่อครูนางสาวนิสา พันทรัพย์

กศน.ตําบลอรัญญิก

อ.เมืองพิษณุโลก จ .พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 086-9366066

หลังจาก ผอ.ด า เกษียณอา ยุ

ราชการแล้ว ในปี พ.ศ. 2558 ได้ท า

การเกษตรผสมผสาน โดยยึดหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของ

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หัวรัชกาลู

ที่ 9 ศึกษาหาความร้ เพิ่มเติมจากู

แหล่งเรียนร้ต่างู ๆ ทั้งจากยูทูป และ

ศึกษาดูงาน แลกเปลี่ยนเรียนร้จากผู้รู้ ู

สรุปเป็ นองค์ความร้ ของตนเอง ลงู

มือ ป ฏิ บั ติ อ ย่ า ง จ ริ ง จั ง จ น เ ห็ น

ผลส าเร็จ จึงจะน าไปถ่ายทอดให้แก่

ผ้ อื่ น จ น ศู ูน ย์ เ รี ย น ร้ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ู

พอเพียงบ้านชัชวาลย์ เป็ นที่ร้จักและู

ได้รับรางวัล พร้ อมทั้งมีหน่วยงาน

มาศึกษาดูงาน

1. เป็ นศูนย์เรียนร้เศรษฐกิจพอเพียง ูบ้านชัชวาลย์ หม่ที่ ู 6 ต าบลอรัญญิก

อ าเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัย(กศน.) อ าเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

2. เป็ นหมอดินหม่บ้าน และหมอดินต าบล ของส านักงานพัฒนาที่ดินู

จังหวัดพิษณุโลก

3. ใช้วิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

4. สรุปเป็ นองค์ความร้ ของตนเอง ู ลงมือปฏิบัติอย่างจริงจัง จนเห็น

ผลส าเร็จ จึงจะน าไปถ่ายทอดให้แก่ผ้อื่นโดยมีูจิตสาธารณะ

5. มีองค์ความร้เรื่องเศรษฐกิจพอเพียงที่หลากหลาย ู

1. เป็ นวิทยากรหลักของ กศน.ต าบลอรัญญิก

2. เป็ นศูนย์เรียนร้ เศรษฐ ูกิจพอเพียงบ้านชัชวาลย์ หมู่ที่ 6 ต าบลอรัญญิก

อ าเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัย(กศน.) อ าเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก

3. วิทยากรมีจิตสาธารณะ ชอบช่วยเหลือสังคมโดยไม่หวังผลประโยชน์หรือ

ค่าตอบแทน

75/109 หม่ 6ูต.อรัญญิก

อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

087-2069411

087-2069411

-

2

สาขา ศิลปกรรม

การเย็บกระเป๋ าจากผ้า

นางกัลยาณี อน

มาศเมธา

ชื่อครูนางสาววิลาวัณย์ ปานเหม็น

กศน.ต าบลบ้านคลอง

อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์089-1932858

ปัจจุบันประสบปัญหาด้านเศรษฐกิจราคา

สินค้ าโดยทั่วไปได้ ปรับตัวสูง ประชาชน

โดยทั่วไปจึงต้องแบกภาระค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น

ดังนั้นการประกอบอาชีพในปัจจุบันจึงไม่ได้

ม่งเน้นเุพียงรายได้หลักเพียงอย่างเดียว การ

สนับสนุนให้ประชาชนโดยทั่วไปมีอาชีพเสริม

เพื่อเพิ่มพูนรายได้ตลอดจนการพึ่งพาตนเอง

โดยใช้ หลักการและปรั ชญา “เศรษฐกิจ

พอเพียง” ปัจจุบันโลกเราก าลังเผชิญปัญหา

สภาวะโลกร้อน จึงมีการรณรงค์ให้ช่วยกันลด

“ภาวะโลกร้ อน” กันมากขึ้น ดังนั้น การใช้

“การเย็บกระเป๋ าจากผ้า ” จึงเป็ นการช่วยลด

ภาวะโลกร้อนได้ทางหนึ่ง งานตัดเย็บผ้าเป็ น

งานฝี มือและเป็ นงานอาชีพที่เป็ นที่ยอมรับใน

ชุมชน เพื่อส่ งเสริมทักษะการท างานและ

ส่งเสริมอาชีพของคนในชุมชน

กระเป๋ าผ้ าตัดเย็บอย่ างดี จึงท าให้ ทนทานใช้ งานได้ นานกว่ า

ถุงพลาสติกหลายเท่า กระเป๋ า 1 ใบสามารถใช้ซ ้าได้เป็ น 100 ครั้ง เมื่อ

เทียบกับถุงกระดาษหรือถุงพลาสติกที่ใช้ซ ้าเพียง 10 ครั้งก็เริ่มจะหมด

สภาพการใช้งานแล้ว

กศน.ต าบลบ้านคลอง จึงได้จัดโครงการพัฒนาอาชีพหลักสูตรระยะสั้น

การเย็บกระเป๋ าจากผ้า ให้แก่ประชาชนและผ้ที่สนใจโดยมู่งเน้นส่ งเสริมุ

สนับสนุนการจัดการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรระยะสั้นและการฝึ กอาชีพที่

เหมาะสมและความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นเพื่อพัฒนารายได้ของ

ประชาชนโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มพูนความร้ ทักษะ สร้างความช านาญ ู

และประสบการณ์ด้านการประกอบอาชีพรวมถึงเพื่อสร้างรายได้และสร้าง

ประสบการณ์ ด้านทักษะการฝึ กอาชีพ ซึ่งในครั้ งนี้เป็ นการจัดฝึ กอบรม

หลักสูตรระยะสั้นโดยการฝึ กอบรมนี้ได้วิทยากรที่มีความร้ ความสามารถเต็มู

ใจที่จะถ่ายทอดประสบการณ์และเทคนิคต่างๆ ให้แก่ผ้เข้ารับการฝึ กอบรูม

เพื่อเป็ นการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่ายแก่ตนเอง ครอบครัว ชุมชน ตามแนว

เศรษฐกิจพอเพียง

290 หมูที่ 4 ต.บ้านคลอง อ.เมือง

จ.พิษณุโลก65000

089-1525528

-

กศน.ต าบลบ้านคลอง

3

สาขา ศิลปกรรม

ผ้าด้นมือ

นางส

รินทร์ เพ็งสฤษด

ชื่อครูนางอารีรัตน์ เรืองไพศาล

กศน.ต าบลปากโทก

อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์080-5102569

จ า ก ก า ร ด า เ นิ น ก า ร จั ด ท า เ ว ที

ประชาคมสมาชิกเห็นความส าคัญของ

การรวมกล่มกลุ่มได้ระดมความคิดและุ

ร่ วมกันหาแนวทางการแก้ไขปัญหาใน

การหารายได้โดยมี นางสาวดาหวัน

กลิ่นเกษม, นางเบญจางค์ สุขจ านงค์,

นางสุรินทร์ เพ็งสฤษดิ์, นางสาวช านาญ

ตันรินทร์, เครือข่าย และ ครู กศน.ต าบล

ปากโทก จึงมีการรวมกล่มกันท างานุ

หัตถกรรมจากผ้า เพื่อเป็ นการสร้างอาชีพ

สร้ างรายได้ให้กับตนเอง ครอบครัว มี

การสอนการการผลิตภัณฑ์จากผ้าด้นมือ

ให้แก่บุคคลทั่วไปที่สนใจและจ าหน่าย

เป็ นรายได้เสริม

1. ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัย

2. สร้างรายได้และอาชีพให้แก่สมาชิกในชุมชน สร้างงาน สร้างอาชีพ

1. ภาคีเครือข่ ายร่ วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

2. เป็ นวิทยากรให้ความร้โครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

80/1 หม่ 3 ูต.ปากโทก

อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

086-9344858

-

-

4

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

กล้วยปร

งรส

นางวา น่วมบาง

ชื่อครูนางสาวกัญจนา เย็นเยือก

กศน.ต าบลไผ่ขอดอน

อ. เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์082-3994141

กล้วยปรุงรสเกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2544 โดย

มี นายถวิล น่วมบาง และนางวา นวมบาง

ร่วมกับหน่วยงานราชการในพื้นที่ กล่มสตรีุ

ในต าบลไผ่ขอดอนวัตถุประสงค์ จัดตั้งขึ้น

เพื่อรองรับจากพืชผลทางการเกษตรที่มีอย่ในู

ท้องถิ่นไม่มีสถานที่จ าหน่าย นางวา น่วม

บาง ได้เลือกกิจกรรมการแปรรูปกล้วย เช่ น

กล้วยสอดไส้ สับประรด, กล้วยสอดไส้

มะพร้าวอ่อน,กล้วยสอดไส้มะขาม,กล้วยสุก

ทอดกรอบเป็ นกิจกรรมหลัก และได้พัฒนา

กิจ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ น ไ ด้ รั บ ร อ ง

มาตรฐาน อ.ย.และม.ผช. ทุกผลิตภัณฑ์ทุก

วันนี้ท าให้กล่มสตรีมีรายได้เสริมให้กับครบุ

ครัวเป็ นการเพิ่มมูลค่าเพิ่มให้กับพืชผลทาง

การเกษตรท าให้เกษตรกรในต าบลและต าบล

ใกล้เคียงมีรายได้เสริมอีกทางหนึ่ง

1. การแปรรูปวัตถุดิบในท้องถิ่น

2. การส่งเสริมรายได้ให้กับกล่มสตรีและประชาชนทั่วไปุ

3. เป็ นสถานที่ศึกษาดูงานด้านการแปรรูปกล้วยให้กับนักศึกษา ประชาชน

ทั่วไป

1.แหล่งเรียนร้ให้กับนักศึกษาูกศน.ต าบลไผ่ขอดอน

2.วิทยากรศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน หลักสูตรระยะสั้น (ไม่เกิน 30 ชั่วโมง) กล่มสนใจุ

3. ภาคีเครือข่ายโครงการศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

6 หม่ทีู่ 3 ต.ไผ่ขอดอน อ.เมือง

จ.พิษณุโลก 65000

094-736-4427

-

-

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

5

สาขา อ

ตสาหกรรมและหัตกรรม

การทอผ้าขาวม้าลายบ้านกร่าง

นางประสาน คงคอน

ชื่อครูนางณัฐรัตน์ ตาแว่น

กศน.ต าบลบ้านกร่าง

อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์093-3592941

การทอผ้าทอกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ เพราะ

สมัยก่อนเป็ นการทอผ้าขาวม้า และทอผ้าฝ้ าย

ใส่ กันเอง การใช้ ชุดผ้าขาวม้า ในวิถีชีวิตคน

ท้องถิ่นไทยเรา เมื่อเล่าย้อนวิถีชีวิตของคน

ไทยนับแต่ อดีตที่มีผ้าขาวม้ าเป็ นผ้าค่ กาย ู

ใช้ได้สารพัดประโยชน์ตั้งแต่หัวจรดเท้า ตั้งแต่

เกิดจนตาย ผ้ชายใช้โพกผม พาดบ่า คล้องคอ ู

คล้ องไหล่ คาดพุง น่ งอาบน ้า ปุ ูนอน ห่ อ

สัมภาระ ฝ่ ายหญิงก็ใช้ บังแดด เช็ดข้าวของ

เครื่องใช้ ปัดยุง ไล่ แมลง ผูกเปล หรือมัด

สะพายแล่งโอบก้นลูกน้อยเข้าเอว ต่อมาได้มี

คนร่นหลังได้สืบทอดการทอต่อกันมา และมีุ

หน่วยงานภาครัฐ เข้ามาช่วยเหลือ ได้จ้างครู

มาสอนเป็ นผ้ามัดหมี่ และผ้าทอลายสายฝน

เพื่ อ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ล ะ สื บ ท อ ด ใ ห้ เ ป็ น

เอกลักษณ์ของต าบลบ้านกร่าง สืบต่อไป

คุณค่าของผ้าขาวม้า จากผ้ผลิต กลู่มวิสาหกิจผ้าทอไทยร่วมใจบ้านุ

กร่างท่าวัว หรือ กล่มทอผ้าบ้านกร่าง ต าบลบ้านกร่าง อ าเภอเมือง จังหวัดุ

พิษณุโลก เป็ นกล่มทอผ้าที่ผลิตผ้าประเภทต่าง ๆ ทั้งผ้าพื้น ผ้ามัดหมี่และ ุ

ผ้าขาวม้า โดยเฉพาะผ้าขาวม้ามีการผลิตมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 โดยมีการ

น าผ้าขาวม้าเก่าที่ใช้ จริงในชุมชนมาเป็ นแบบในการผลิตขึ้นมาใหม่

นอกจากนั้นยังส่ งเข้าคัดสรรเป็ นสินค้า OTOP จนได้รับคัดสรรเป็ น

สินค้า OTOP ระดับ 4 ดาว ประเภทผ้าและเครื่องแต่งกาย

นางประสาน คงคอน รองประธานกล่มวิสาหกิจผ้าทอไทยร่วมใจบ้านุ

กร่างท่าวัว เล่าว่า “เราใช้ ผ้าขาวม้าในชีวิตประจ าวันกันมาตั้งแต่บรรพ

บุรุษ สมาชิกของกล่มจึงแกะลวดลายจากผุ้าขาวม้าดั้งเดิมที่มีอายุนับ 100

ปี ลักษณะเป็ นผ้าขาวม้าตาเล็กโทนสีส้มเหลือง วัสดุที่ใช้คือไหมประดิษฐ์

สามารถน าไปแปรรูปและตัดเย็บเป็ นเครื่องแต่งกายได้

1. เป็ นแหล่งเรียนร้/ภู ูมิปัญญาท้องถิ่น

2.กิจกรรมโครงการศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชนและการพัฒนาต่อยอด

3.ร่วมออกงาน จัดแสดงสิ้นค้า และเป็ นของฝากตามต้องการ

4. น าผ้าทอผ้าขาวม้าลายบ้านกร่างมาเพิ่มมูลค่าเป็ นสินค้าแบบอื่น ๆ

92/5 หม่ที่ 4 ต.บ้านกร่างูอ.เมือง

จ.พิษณุโลก 65000

088-8122092

088-8122092

ประสาน คงคอน

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

6

สาขา ศิลปกรรม

การสานเส้นพลาสติก

นางน ้าค้าง ดีส

นางน ้าค้ าง ดีสุด ได้ รับความรู้

ด้ า น ก า ร จั ก ส า น ไ ม้ ไ ผ่ ก า ร ส า น

ชะลอมจากบิดา ต่อมามีหน่วยงานมา

ให้ความร้เกี่ยวกับการสานตะกร้าจากู

เส้ นพลาสติก หลังจากนั้ นได้ น า

ความร้ มาพัฒนาให้ดีขึ้น และได้รับู

เชิญให้มาเป็ นวิทยากรในการเปิ ดกล่มุ

ด้านอาชีพของ กศน.ต าบลวัดพริก

และหน่วยงานอื่นๆ ได้เชิญไปเป็ น

วิทยากรให้ความร้ อย่างต่อเนื่อง จะู

เห็นได้ว่าผลิตภัณฑ์จากการสานเส้ น

พลาสติก เป็ นศิลปะการจักสานที่มี

ลวดลายสวยงาม ตามสีสันของเส้ น

พลาสติก

1. ผลิตภัณฑ์เส้ นพลาสติก สามารถท าตามแบบที่ลูกค้าต้องการได้ มีความ

ละเอียด ประณีต และเรียบร้อย

2. เป็ นผลิตภัณฑ์มีความคงทนแข็งแรง น ้าหนักเบา ดูแลรักษาง่าย ไม่เก็บฝ่ นุ

3. ราคาไม่แพง มีการพัฒนารูปแบบทันสมัยอย่างต่อเนื่อง เช่ น ตะกร้ าจ่าย

ตลาด, ตะกร้าใส่บาตรท าบุญ, แก้วใส่ขวดน ้า และใส่ของใช้ต่าง ๆ

4. มีตลาดรองรับในการจ าหน่ายผลิตภัณฑ์

นางน ้าค้าง ดีสุด ให้ความร่ วมมือกับ กศน.ต าบลวัดพริก โดยเป็ น

วิทยากรด้านการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ และเป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่นของ

ต าบลวัดพริก

300/28 ม. 5 ต.วัดพริก อ.เมือง

จ.พิษณุโลก 65230

088-1550881

088-1550881

น ้าค้าง ทิพย์บุญทอง

ชื่อครู นางร่งทิพย์ โพธิดกุ

กศน.ต าบลวัดพริก

อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 081-5332364

7

สาขา อ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

นายปัธมา เพ็ชรนิล

ชื่อครูนางอัจฉราอรุณ ศิริศรีพิศาล

กศน.ต าบลจอมทอง

อ. เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 064-5398514

การท าสบ่สมู ุนไพรจากสารสกัด

ธรรมชาติ มีสมุนไพรว่านหางจระเข้

มะขาม น ้าผึ้ง และมะนาว เป็ นการน า

สมุน ไ พร ใ ก ล้ ตัว น าม า ใ ช้ ใ ห้ เกิด

ประโยชน์ ทั้งนี้เพื่อเป็ นการเพิ่ม

รายได้ ที่มีราคาถูกที่คนทุกวัยต้อง

บริโภคและหาซื้อได้ง่าย การแปรรูป

สบ่เหลวสมู ุนไพรจากธรรมชาติเป็ น

การประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เป็ น

การแปรรูปผลิตภัณฑ์แบบสมัยใหม่

น า ม าผน วก กัน มีก ลิ่น ห อม จา ก

ส มุน ไ พ ร แ ล ะ มี สี สั น ที่ ไ ด้ จ า ก

ธรรมชาติ

ผลิตภัณฑ์แปรรูปสบ่สมู ุนไพรจากธรรมชาติ มีส่วนผสมจากว่านหางจระเข้

มะขาม น ้าผึ้ง และมะนาว มีกลิ่นหอมจากธรรมชาติ ไม่มีส่วนผสมของสารเคมี

มีคุณสมบัติที่ท าให้ผิวสะอาด ไม่แห้งตึง มีค่า PH ที่เหมาะสม

1. เป็ นแหล่งเรียนร้ภู ูมิปัญญาท้องถิ่น

2. เริ่มจากการเรียนร้กิจกรรมโครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน และพัฒนาต่อยอด

3. สร้างผลิตภัณฑ์จนเป็ นที่นิยมและร้จักของผู้บริโภูค

4. เรียนร้การท าเพจของสินค้า เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจ าหน่ายให้กว้างขึ้นู

5.ร่วมออกงาน จ าหน่ายผลิตภัณฑ์ ที่ราคาถูกและปลอดภัยต่อผ้บริโภคู

52 หม่ที่ 3 ต.จอมทอง อ.เมือง ู

จ.พิษณุโลก 65000

083-9555781

-

สบ่เหลว เพ็ชรนิล ฟาร์มู

การท าสบู่เหลวสมุ

นไพร

จากธรรมชาติ

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

8

สาขา อ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

กล่มน ้าพริกแกงเผ็ด

นางรัชดาภรณ์ หลวงศิริ

ชื่อครูณัฐนันท์ บุญธรรม

กศน.ต าบลวังน ้าคู้

อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์089-4614028

น ้าพริกแกง เป็ นอาหารค่ครัวของู

ค น ไ ท ย ม า ช้ า น า น เ ป็ น ค ว า ม

ภาคภูมิใจของคนไทยที่บรรพชนร่นุ

เก่าก่อนได้สร้างสรรค์อาหารจากการ

ผส ม ผส า นพืช พ ร ร ณ ต่ า ง ๆ ที่มี

หลากหลายในท้องถิ่นให้ได้อาหาร

แสนอร่อยอย่างกลมกลืน จึงได้ก่อตั้ง

กล่มแม่บ้านน ้าพริกแกง ซึ่งเกิดจากุ

กล่มสตรีแม่บ้าน เมื่อปี พ.ศ.2551 มีุ

แนวคิดว่ากล่มสตรีน่าจะผลิตน ้าพริกุ

แกง หลังจากประกอบอาชีพหลักหา

รายได้เสริมให้กับครอบครัวในการ

เริ่มต้นของกล่มที่จะผลิตน ้าพริกแกงุ

น ้าพริกแกงเกิดจากการผสมจากพืชผักสวนครัวหลายชนิด จึงท าให้

เกิดหลายสูตรหลายรส เช่ น น้ าพริกแกงเผ็ด พริกแกงส้ ม พริกแกง

เขียวหวาน ซึ่งการผลิตนั้นใช้ วัตถุดิบในหม่บ้าน เช่น พริก ูมะกรูด ข่า

ตะไคร้ และไม่ส่งผลกระทบต่อผ้บริโภคด้านสู ุขภาพ เพราะน ้าพริกแกง

ไม่มีสารกันบูด การผลิตจาหน่ายให้กับชุมชนในหม่บ้านต าูบลใกล้เคียง

และการจัดงานต่าง ๆ ซึ่งขณะนี้ก าลังขยายเครือข่ายให้กว้างขึ้น เพื่อการ

น าน ้าพริกแกงของกล่มแุม่บ้าน หม่ที่ 8 บ้านหนองหญ้า ต า ูบลวังน้าค้ ู

อ าเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก เป็ นที่เลื่องลือและยั่งยืนสืบไป

1. เป็ นวิทยากรให้ความร้โครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

2. ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษาตามอัธยาศัย

3. เป็ นแหล่งเรียนรู้ของ กศน.ต าบลวังน ้าคู้

81/1 หม่ 8 ต าูบลวังน ้าคู้

อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65230

081-0444886

น ้าพริกแกงเผ็ด

กศน.ต าบลวังน ้าคู้

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

9

สาขา ศิลปกรรม

จักสานงานไม้ไผ่

นางสาววิมะลัย ออมละมั่ง

ชื่อครูภัทรชัย เครือกนก

กศน.ต าบลดอนทอง

อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์083-9502601

ภูมิปัญญาอันเกิดจากการเรียนรู้

ชีวิตเกี่ยวโยงกับธรรมชาติ ท้องที่และ

คนในชุมชน จากการพึ่งพาตนเอง

โดยใช้ วัตถุดิบที่มีในท้ องถิ่น และ

วัตถุดิบที่หาได้ง่าย น ามาประดิษฐ์

เป็ นเครื่องจักสานส าหรับใช้ สอยใน

ชีวิตประจ าวัน กลายมาเป็ นสินค้าที่

สร้างชื่อให้กับต าบลดอนทอง อ าเภอ

เมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก โดย

กศน.ต าบลดอนทอง ได้ร่ วมให้การ

สนับสนุนในเรื่องของการส่ งเสริม

ก า ร ผ ลิต ใ น รูป แ บ บ ต่ า ง ๆ ซึ่ ง มี

ผลิตภัณฑ์แฮนด์เมดการจักสานไม้ไผ่

มีสิ นค้ าหลากหลายรูปแบบฝี มือ

ประณีต

1. มีรูปแบบที่สวยงาม

2.รูปทรงเหมาะแก่การใช้งาน

3. มีความแข็งแรง ทนทาน

4. ใช้วัตถุดิบที่ดีมีคณภาพที่มีอยุ่ในท้องถิ่นู

1. เป็ นวิทยากรหลักสูตรจักสานงานไม้ไผ่

2. เป็ นแหล่งเรียนร้ในด้านการจักสานงานไม้ไผู่

6 หม่ 5 ต.ดอนทองู

อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก 65000

096-0782285

0962782285

-

10

สาขา อ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

การท าเซรามิก

นายสิทธิเดช พ

ลทวี

ชื่อครูสุนิสา ดอนชมไพร

กศน.ต าบลวัดจันทร์

อ. เมือง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 096-1536219

เมื่อ 10 กว่าปี ก่อนนายสิทธิเดช พูลทวี

ท างานอย่ กรู ุงเทพฯ ในต าแหน่ งศิลป์

อุตสาหกรรมในโรงงานแห่งหนึ่ง ต่อมา

คุณแม่ป่ วย ตนจึงต้องกลับมาบ้านเกิดเพื่อ

ดูแลครอบครัว และธุรกิจของครอบครัว

คือ บ้านสองแควเซรามิกจึงได้สืบสานกัน

มาในเรื่องของอาชีพเครื่องปั้นดินเผา และ

ศิ ลปะชั้ นสูง ช่ างสิ บหม่ จึงอยากจะู

ถ่ายทอดความร้ และภู ูมิปัญญาให้กับคน

ร่นหลังได้รุ้จักกันไว้ ให้กับเด็กู ๆ โดยเริ่ม

จากปลูกฝังในรายวิชาศิลปะ จากนั้นเด็กๆ

สนใจก็เริ่มเข้ามาเรียนร้ที่บ้านู

1. เป็ นศิลปะชั้นสูง มีความสวยงามปราณีต

2. สามารถสร้างรายได้ และใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์

3. เป็ นสินค้าที่มีมูลค่าสูงเหมาะแก่การน ามาประกอบอาชีพ

1. เป็ นแหล่งเรียนร้ภู ูมิปัญญาท้องถิ่น

2. เริ่มจากการเรียนร้กิจกรรมโครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน และพัฒนาต่อยอด

3. สร้างผลิตภัณฑ์จนเป็ นที่นิยมและร้จักของผู้บริโภคู

4. เรียนร้การท าเพจของสินค้า เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจ าหน่ายให้กว้างขึ้นู

5.ร่วมออกงาน จ าหน่ายผลิตภัณฑ์ ที่ราคาถูกและปลอดภัยต่อผ้บริโภคู

56/50 ม.2 บ้านวัดจันทร์ ต.วัดจันทร์

อ.เมือง จ.พิษณุโลก

094-3698926

บ้านเจ้าจัน จันทร์เจ้า

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

11

สาขา ศิลปกรรม

ศิลปะการแทงยวก

นายสนั่น เอี่ยมสาย

ชื่อครูนางสาวธิดารัตน์ ก้อนกลีบ

ครูกศน.ต าบลสมอแข

อ.เมือง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 099-7583650

การสลักหยวกหรือการแทงหยวก

เป็ นงานฝี มือช่ างประเภทหนึ่ง ที่จัด

อย่ในงานช่างสิบหมู่ประเภทช่างสลัก ู

ของอ่ อน การแทงหยวกเป็ นวิชา

ความร้ ที่ถ่ ายทอดกันมาตั้งแต่อดีต ู

โดยใช้วัสดุที่หาได้ง่ายก็คือต้นกล้วย

น ามาสร้างเป็ นงานฝี มือซึ่งมักใช้กัน

ในงานตกแต่งประดับประดาเมรุเผา

ศพ ง า นบ ว ช งา น ก ฐิ นแ ล ะ ง า น

ตกแต่งอื่น ๆ โดยสืบทอดกันมาหลาย

ร้อยปี แล้ว

กล่มผุ้สู ูงอายุของชาวบ้าน ต.สมอแข ได้รวมตัวกัน น าโดยนายสนั่น

เอี่ยมสาย อายุ 70 ปี ปราชญ์ชาวบ้าน ต.สมอแข ที่มีความสามารถในการ

ท าฝี มือมากมาย ไม่ว่าจะเป็ นการแทงหยวกกล้วย การสลักหยวกหรือการ

แทงหยวกเป็ นงานฝี มือช่ างประเภทหนึ่ง ที่จัดอย่ในงานช่ างสิบหมูู่

ประเภทช่างสลักของอ่อน การแทงหยวกเป็ นวิชาความร้ที่ถ่ายทอดกันมาู

ตั้งแต่อดีตโดยใช้วัสดุที่หาได้ง่ายก็คือต้นกล้วย น ามาสร้างเป็ นงานฝี มือ

ซึ่งมักใช้กันในงานตกแต่งประดับประดาเมรุเผาศพ งานบวช งานกฐิน

และงานตกแต่งอื่น ๆ โดยสืบทอดกันมาหลายร้อยปี แล้ว

นายสนั่น เอี่ยมสาย เป็ นปราชญ์ชาวบ้านด้านหัตถกรรม ได้ร่วมมือ

กับ กศน.ต าบลสมอแข โดยได้เรียนเชิญเป็ นวิทยากรให้ความร้ให้กับ ู

ปร ะ ช า ช น ต า บ ล ส ม อ แ ข แ ล ะ เป็ น วิทยา ก ร ใ ห้ คว า ม ร้ เกี่ยว กับู

ศิลปหัตถกรรมและภูมิปัญญาของต าบลสมอแข

134 หม่ที่ 3 ต าบลสมอแข อู .เมือง

จ.พิษณุโลก

0897055955

-

ชมรม ไท-ยวน จ.พิษณุโลก

12

สาขา เกษตรกรรม

การเลี้ยงปลาทับทิม

นางสาวอรทิญา แก้วศรีเคน

ชื่อครูนางชมพูนุช อานันต์บุญทรัพย์

กศน.ต าบลงิ้วงาม

อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์088-1744946

นางสาวอรทิญา แก้วศรีเคน ได้

ประกอบอาชีพการเลี้ยงปลาทับทิมใน

กระชั งกับ สามีโด ยเริ่ มจา กกา ร

ก่อสร้ างกระชังปลา 3 กระชัง และ

ขยายมาเรื่อย ๆ จนปัจจุบันนี้มี 17

กระชัง ในการนี้ ได้จับปลาสดขาย

และน าปลาทับทิมมาแปรรูปจ าหน่าย

ในรูปแบบของปลาร้ า ปลาส้ มและ

ปลาเส้น นอกจากนี้ นางสาวอรทิญา

แก้ วศรีเคน ยังเป็ นบุคคลตัวอย่ าง

เรื่องการพัฒนาตนเอง เพราะเดิมที

จบการศึกษาชั้น ป.6 และได้มาศึกษา

ต่อระดับชั้น ม.ต้น กับ กศน. จนจบ

และขณะนี้ ก าลังศึกษาต่อระดับชั้น

ม.ปลาย

เป็ นบุคคลที่มีความสามารถในการถ่ายทอดความร้ในด้านูการเลี้ยงปลา

ทับทิมในกระชัง มีจุดเด่น คือเป็ นบุคคลที่มีความร้ความสามารถูการท า

ปลาร้าจากทับทิม

-การแปรรูปปลาทับทิม

-การท าปลาเส้นจากปลาทับทิม

-การท าปลาส้มจากปลาทับทิม

-การขายปลาทับทิมสด

1. นางสาวอรทิญา แก้วศรีเคน เป็ นบุคคลที่ช่วยเหลืองาน กศน.อย่างดียิ่ง

2. เป็ นวิทยากรสอนการแปรรูปปลาทับทิมในชุมชน

3. เป็ นวิทยากรถ่ายทอดความร้ เรื่องการเลี้ยงปลาทับทิมในกระชังู

4. ศูนย์แหล่งเรียนร้ภู ูมิปัญญาท้องถิ่นให้กับประชาชนและนักเรียน

8/2 ต.งิ้วงาม

อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

083-9569532

083-9569532

อรทิญา แก้วศรีเคน

13

สาขา ศิลปกรรม

ดนตรีพื้นบ้านมังคละ

นายเชาวฤทธิ์ แจ้งแก้ว

ชื่อครู นางกรณพัตร นาทิพย์

กศน.ต าบล มะขามสูง

อ.เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 086-9349136

ดนตรีมังคละเป็ นดนตรีที่บ้ าน

ทองหลางใช้เล่นในงานรื่นเริงต่าง ๆ

ชาวบ้ านได้ฟ้ อนร า และมีนางร าที่

แต่ งชุดสวยงาม มาร าเข้ าจังหวะ

ปัจจุบันได้เป็ นที่ร้ จักแพร่ หลาย จนู

ได้ตั้งเป็ นค าขวัญประจ าหม่บ้านู

ดนตรีมังคละเป็ นดนตรีพื้นบ้านที่มีมานานปรากฏเป็ นหลักฐานในศิลา

จารึกหลักที่ 1 และศิลาจาลึกวัดช้ างล้อม เป็ นเอกลักษณ์ของจังหวัด

พิษณุโลกในการเล่นดนตรีมังคละจะมีนางร ามาให้ความเพลิดเพลิน

ปัจจุบัน วงมังคละได้ รับการขึ้นทะเบียนเป็ นมรดกภูมิปัญญาทาง

วัฒนธรรมของชาติ สาขาศิลปะการแสดง เพื่อส่งเสริมและสิบทอดให้เป็ น

การละเล่นพื้นบ้าน

ร่วมกิจกรรมกับกศน.ในรูปแบบต่าง ๆ

14/1 หม่ 2 ต.มะขามสู ูงอ.เมือง

จ.พิษณุโลก 65000

089-8393630

089–8393630

-

14

สาขา ศิลปกรรม

การประดิษฐ์ดอกไม้จันทน์

นางสาวย

พา หมอนทอง

ชื่อครู นางสาวมีนา อย่เพชรู

กศน.ต าบลบ้านป่ า

อ. เมือง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์065-4230311

ความต้องการอยากมีรายได้ อยาก

มีอ า ชี พ ใ น ก า ร ด า ร ง ชี วิต จึง ไ ด้

รวมกล่มกันในบรรดาผุ้สู ูงอายุลอง

ฝึ กประดิษฐ์ ดอกไม้จันทน์ ลองผิด

ล อ ง ถูก จ น ส า ม า ร ถ ป ร ะ ดิ ษ ฐ์

ดอกไม้จันทน์ได้ส าเร็จและสวยงาม

มีตลาดรองรับ มีรายได้ มีอาชีพที่

มั่นคง

งานประดิษฐ์ ที่สามารถสร้างรายได้ได้ ลงทุนน้อย ใช้เวลาว่างให้เกิด

ประโยชน์ ใช้แรงงานไม่หนัก

เป็ นแหล่งเรียนร้ภู ูมิปัญญาท้องถิ่น

6 หม่ที่ 6 ต.บ้านป่ า อ.เมืองู

จ.พิษณุโลก 65000

062–0529713

-

-

15

สาขา การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

แหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ

นายนํ�าเงิน เถื่อนเครือวัลย์

ชื่อครูนางสาวศิรีวรรณ จูประเสริฐ

กศน.ต าบลบึงพระ

อ.เมือง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์098-7495905

เนื่องจาก นายน ้าเงิน เถื่อนเครือวัลย์มี

ความประสงค์ ให้บ้ านที่ตนอาศัยเป็ นที่

ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ เพื่อให้ลูกหลาน

ได้มารวมตัวกันท ากิจกรรม โดยเริ่มปลูก

ต้นไทรอินโดฯ ปี2552และตัดแต่งเป็ นรูป

ต่างๆ อย่างสวยงาม จึงเป็ นที่สนใจแก่ผ้พบู

เห็นและมีการเผยแพร่ลงโซเชียล จึงมีคน

เข้ามาเยี่ยมชมเป็ นจ านวนมาก กลายเป็ น

แหล่งท่องเที่ยวให้กับชุมชนและเป็ นแหล่ง

เรียนร้ ในการปลู ูกและการตัดแต่งกิ่งของ

ต้นไทรอินโดฯ

1. เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

2. มีการแนะน าข้อมูลให้ส าหรับผ้ที่สนใจในการปลู ูกต้นไทรอินโดฯ และ

แนะน าวิธีการตัดแต่งกิ่ง การใช้อุปกรณ์ในการตัด แหล่งในการซื้ออุปกรณ์

ตัดกิ่ง

1. เป็ นแหล่งเรียนร้ ภู ูมิปัญญา

2 ส่งเสริมกิจกรรมการรักการอ่าน

3. เป็ นที่อ่านหนังสือชุมชน

4. ส่งเสริมกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

52/21 หม่ที่ 2 ต าบลบึงพระ อ เมือง ู

จ.พิษณุโลก 65000

086-202-4874

0863202-4874

ทองเริ่ม เถื่อนเครือวัลย์

และสิ่งแวดล้อม

16

สาขา เกษตรกรรม

การปล

กผักปลอดสารพิษ

นางชิตชส

ข แก้วกลิ่น

ชื่อครู นางรดาณัฐ อินกา

กศน.ต าบลหัวรอ

อ. เมือง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 081 -7858241

เนื่องจากไม่มีรายได้ แต่เป็ นคน

ชอบปลูกผัก และได้ เป็ นสมาชิ ก

สสส.ของบ้านสระโคล่ ได้ไปอบรม

ความร้ อีกทั้งเดิมทีเป็ นคนถนัดงานู

ด้านเกษตร และได้ทดลองปลูกจน

ได้ผลผลิตดีเป็ นที่ร้จักของคนทั่วไปู

โดยเฉพาะกะหล ่าปลี ท าให้มีรายได้

จากการปลูกผัก และได้มีการต่อยอด

โดยการรวมกล่ มเรียนรุ้ การเลี้ยงู

ไส้ เดือน ได้ รับการสนับสนุน จาก

กศน.ต าบลหัวรอ ได้จัดหาวิทยากร

มาสอน จึงท าให้ เกิดการต่ อยอด

อาชีพมีรายได้เพิ่มขึ้นอีกทางหนึ่ง

ใช้พื้นที่ว่างข้างบ้านปลูกผักปลอดสารพิษโดยใช้ป๋ ยจากมุ ูลไส้ เดือนที่

เลี้ยงเอง ท าให้มีรายได้ จากการขายตัวไส้ เดือน ขายมูลไส้เดือน และผัก

ปลอดสารพิษที่ปลูกเอง จากการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

เป็ นแหล่งเรียนร้ภู ูมิปัญญาท้องถิ่น

127/5 หม่ที่ 7 ต.หัวรอู

อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

080– 4054121

-

ชิตชสุข แก้วกลิ่น

17

สาขา ศิลปกรรม

การตัดกระดาษรังผึ้งพวงเต่ารั้ง

ณอรอินท์ บัวค า

ชื่อครู นางสาวรสจรินทร์ มีดี

กศน.ต าบลท่าทอง

อ. เมือง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 082-4052173

น า ย เ ปี่ ย ม ส่ง ชื่ น อ า ยุ 7 7 ปี อ ยู่

บ้านเลขที่ 221 หม่ 6 ต.ท่าทอูง อ.เมือง

จ.พิษณุโลก ผ้ที่มีความรู้ ควาูมสามารถใน

การตัดกระดาษรังผึ้งซึ่งใช้ในงานประเพณี

บวชนาค ประเพณีแต่งงาน และประเพณี

มงคลต่าง ๆ โดยใช้ ตกแต่งในบริเวณที่จัด

พิธีนั้น ๆ และได้ ถ่ ายทอดความร้ ให้ กับู

นักเรียน นักศึกษา ในต าบล และหน่วยงาน

ต่างๆ ให้ได้รับความร้ จนได้รับการยกย่องู

ในต าบลและหน่วยงานต่าง ๆ การยกย่อง

ให้เป็ นครูภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งปัจจุบัน

นางอรอินท์ บัวค า เป็ นวิทยากรถ่ายทอด

ความร้ สื บสานและพัฒนาต่ อยอดองค์ู

ความร้จากผู้เป็ นบิดาู

1. ภูมิปัญญาที่ถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ

2. เป็ นการสืบสานภูมิปัญญาให้คนร่นใหมุ่

3. สามารถถ่ายทอดภูมิปัญญาให้คนร่นหลังได้สืบทอดต่อไปุ

4. สามารถท าใช้ งานประเพณีบวชนาค ประเพณีแต่งงานแลประเพณี

มงคลต่างๆ โดยใช้ตกแต่งในบริเวณที่จัดพิธี

1.เป็ นแหล่งเรียนร้ภู ูมิปัญญาท้องถิ่น

2. ภาคีเครือข่ายร่วมจัดสนับสนุนการศึกษานอกระบบ และการศึกษา

ตามอัธยาศัย

221 หม่ที่ 6 ต.ท่าทอง อ.เมือง ู

จ.พิษณุโลก 65000

091-3921292

091-3921292

-

18

สาขา อ

ตสาหกรรมและหัตกรรม

น ้ามันมะพร้าวสกัดเย็น

นางการะเกต

หมอกมีนนาง

ชื่อ ครู นายอุบล อินจันทร์

กศน. ต าบลพลายชุมพล

อ.เมือง จ.พิษณุโลก

โทร 081-0445674

น ้ามันมะพร้าวสมัยโบราณสกัดจาก

ลูกมะพร้ าว น าไปตั้งไฟเคี่ยวจนกะทิ

แห้ง จะได้น ้ามันมะพร้าว มาไว้ใช้ ถือ

การสะกัดน ้ามันมะพร้ าวสมัยก่อน มี

ขั้นตอนใช้ เคี่ยวด้ วยความร้ อน ต้อง

ค่อยเฝ้าไฟเฝ้ าหม้อกะทิ ไม่ให้ไหม้ สมัย

ปัจจุบัน การสะกัดน ้ามันมะพร้าวสกัด

แบบใช้ ความเย็นเป็ นนวัตกรรมแบบ

ใหม่ ที่ใช้ เวลาไม่นานในการผลิต ไม่

ย่งยาก แค่ท าุให้ถูกต้องตามหลักสูตร

จะได้ น ้ามันมะพร้ าวสะกัดเย็นที่ดีมี

คุณภาพ ผลผลิตดี เพียงพอต่อความ

ต้องการต่อความต้องการของผ้บริโภค ู

ใช้ในการรับประทานแก้โรค และบ ารุง

ร่างกาย

1. เป็ นกลุ่มเกษตรกรรม หม่ที่ 5 ที่สร้างชื่อเสียงให้กับต าบลพลายชู ุมพล

ด้วยผลิตภัณฑ์สินค้าที่ผลิตขึ้นเองมีการจัดกล่มถ่ายทอดความรุ้ และมีการู

พัฒนาต่อยอดความร้อยู่เสมอู

2. เป็ นสถานแหล่งเรียนร้ และฝึ กงานประสบการณ์ของนักศึกษาู

ระดับอุดมศึกษา

3. เป็ นสินค้าขึ้นชื่อส่งออกขายในประเทศ และต่างประเทศ

4. เป็ นราคาสินค้า ย่อมเยาว์ กับยุคเศรษฐกิจพอเพียง

1. การให้บริการเป็ นแหล่งเรียนร้ชู ุมชนร่วมกับ กศน.ต าบล

2. เป็ นวิทยากรให้กับ กศน.ต าบล

3.เป็ นกล่มุที่สนับสนุนให้ความร่วมมือในกิจกรรม กศน.ต าบล

4.เป็ นจิตอาสา ของกศน.ต าบล

117 /3 หม่ที่ 5 ูบ.บางพยอมใต้

ต.พลายชุมพล อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000

086-6813787

-

-

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

19

สาขา อ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

น ้าพริกแกงเผ็ด น ้าพริกแกงส้ม

นางทวี มั่งทัด

ชื่อครู นางสาวกาญจนา นาคบาตร์

กศน.ต าบลท่าโพธิ์

อ. เมือง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 096-0341499

กล่มน ้าพริกแกงเผ็ด น ้าพริกแกงส้ ม ุ

บ้านยาง หม่ 5 จัดูตั้งโดย นางทองใบ

ทิมเครือจีน และนางทวี มั่งมัด เริ่มต้นไป

ศึกษาดูงานกล่มน ้าพริก จึงน ามาจัดตั้งุ

กล่ม และคิดสุ ูตรของตนเอง โดยเดิมมี

สมาชิกกล่ม 24 คน จัดท ามาตั้งแต่รุ่ นพ่อุ

แม่ จนตกทอดมายังรุ่นลูก ร่นหลาน มีการุ

ผลิตน ้าพริ กจ าหน่ ายทั้ งปลีก-ส่ งตาม

ท้องตลาด จนถึงปัจจุบัน

1. เป็ นการสืบทอดภูมิปัญญาการท าน ้าพริก โดยใช้วัตถุดิบจากท้องถิ่น

ภายในครัวเรือน

2. สร้างรายได้ให้กับสมาชิกในกล่ม เป็ นอาชีพหลัก ุและอาชีพเสริมให้กับ

ครอบครัว

3.ถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับคนร่นหลังได้สืบทอดุต่อไป

1. เป็ นวิทยากรอบรมให้ความร้ศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

2. เป็ นภาคีเครือข่ายที่ให้ความร่วมมือสนับสนุนการจัดกิจกรรม

ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็ นอย่างดี

135/1 หม่ที่ 5 ต.ท่าโพธิ์ อ.เมือง ู

จ.พิษณุโลก 65000

082-1775094

-

-

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

20

เริ่ ม จ า กก า ร ที่ ก ศ น .เข้ า ไ ป

สอบ ถามความสน ใจในการเรี ยน กล่ มุ

รูป แ บ บ อ าชี พ ระ ย ะ สั้ น โด ย เกิ ด จ าก

ความชอบทานกรอบของคนในชุมชน จึง

ได้รวมกล่มกันให้ทาง กศน.จัดฝึ กอบรมในุ

รูปแบบกล่มสุนใจ 3 ชั่วโมง หลังจากได้

ฝึ กอบรมเสร็จเรียบร้อย ทางสมาชิก จึง

ได้ท าขายทางออนไลน์ผ่านเฟสบุคส่ วนตัว

ของสมาชิกในกล่ม จนมาถึงปัจจุ ุบัน

1. มีรสชาติสีสันในการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายท าให้ตรงตามความ

ต้องการของผ้บริโภคู

2. ใช้วัตถุดิบที่ดีมีคุณภาพในการผลิต ท าให้ผลิตภัณฑ์มีความอร่อย สดใหม่

สะอาดถูกหลักโภชนาการ

3. ช่องทางการจัดจ าหน่ายที่หลากหลาย ทางออนไลน์และการจัดออกร้าน

ในงานเทศกาลและนิทรรศการต่างๆ

1. เป็ นวิทยากรหลักสูตรการท าหมี่กรอบ

2. เป็ นแหล่งเรียนร้ในด้านการท าูการท าหมี่กรอบ และการบริหารจัดการ

วิสาหกิจชุมชนให้คงอยู่อย่างยั่งยืน

61/2 หม่1 ต.บางกูระท่ม ุ

อ.บางกระท่ม จ.พิษณุโลกุ

Jutarat Kraisongaraen

สาขา คหกรรม (งานแปรร

ปอาหาร)

0823991063

082-3991063

ชื่อครูนางสาวพิทยา พาแก้ว

กศน.ต าบลบางกระท่ม ุอ.บางกระท่ม ุ

จ.พิษณโลก โุทร.094-4266478

นางสาวจ

ุฑารัตน์ ไกสรเจริญ

ผลิตภัณฑ์จากหมี่กรอบ

21

สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

(ด้านการผลิตและการบริโภค) ผลิตภัณฑ์การท าน ้าตาลมะพร้าว

นายธีรภัทร โล่ห์ชาวนา

ชื่อครูนางสินิลรัตน์ เณรพิทักษ์

กศน.ต าบลนครป่ าหมาก

อ.บางกระทุ่ม จ. พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์081-0418552

นายธีรภัทร์ โล่ห์ชาวนา ชื่ อเล่ น

ว่าลุ งพฤกษ เกษตรกรบ้ าน บึงล า ต าบล

นครป่ าหมาก อ าเภอบางกระทุ่ ม จังหวัด

พิษณุโลก เจ้าของผลิตภัณฑ์ การท าน ้าตาล

ม ะพร้ า วลุ งพ ฤ กษ ได้รับ กา รถ่ า ย ทอ ด

ความรู้ด้านการท าน ้าตาลมะพร้ าว มาจาก

บรรพบุรุ ษ จากรุ่น สู่ รุ่ น จน จัดตั้ งกลุ่ ม

วิสาหกิจชุมชนการท าน ้าตาลมะพร้าวขึ้น

แล ะ ได้รับก ารย ก ย่ อ งให้ เป็ น วิทย าก ร

ถ่ายทอดความรู้ หลักสู ตรการท าน ้าตาล

มะพร้ าวให้ กับคนในพื้นที่และนอกพื้นที่

เพื่อสร้างรายได้จากการท าน ้าตาลมะพร้าว

- ภูมิปัญญาที่ถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษจากรุ่นสู่ รุ่น

-การท าน ้าตาลมะพร้าวสด โดยเน้นให้ชุมชนรู้จักการแปรรูปผลผลิต

เพื่อชลอการน าเข้าตลาดและแก้ปัญหาด้านการบริโภคอย่างปลอดภัย

ประหยัดและเป็ นธรรมอันเป็ นกระบวนการให้ชุมชนในท้องถิ่นสามารถ

พึ่งตนเองทางเศรษฐกิจได้

- น ้าตาลมีความหวานหอม

- สรรพคุณอุดมไปด้วยสารอาหารมีแคลอรี่ต ่า ลดคอเรสตอรอลในเลือด

วิทยากรถ่ายทอดความรู้ การท าน ้าตาลมะพร้าวและการแปร

รูปน ้าตาลมะพร้าวให้กับ กศน.อ าเภอบางกระทุ่ม และประชาชนใน

พื้นที่ต าบลนครป่ าหมาก อ าเภอบางกระทุ่ม สามารถน าความรู้ที่ได้รับ

ไปใช้ในชีวิตประจ าวัน เพื่อให้ชุมชนในท้องถิ่นสามารถพึ่งตนเองทาง

เศรษฐกิจได้

2/1 หมู่1 ต.นครป่ าหมาก

อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก

084-5915065

0845915065

ธีรภัทร์ โล่ห์ชาวนา

22

สาขา เกษตรกรรม (ปราชญ์ชาวบ้าน)

การท าน ้าส้มควันไม้

นายธนกร ฉิมพลี

ชื่อครูนายพงศกร ภูมิสวย

กศน.ต าบลวัดตายม

อ.บางกระทุ่ม จ. พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์0654451446

น า ย ธ น ก ร ฉิ ม ลี พื้ น ฐ า น

ครอบครัวเป็ นชาวเก ษตร กร ก่ อนห น้ านี้

นายธนกร ฉิมลี ได้เข้าไปท างานที่กรุงเทพฯ

จนวันหนึ่งได้กลับมาเยี่ยมบ้านได้น าเอาองค์

ความรู้ ที่ตนเองได้เรียนรู้ มาถ่ ายทอดให้ กับ

คน ใน พื้ น ที่ แต่ ผ ล ที่ ได้ ก ลับไ ม่ มี ใคร เชื่ อ

นายสเบย เลยตัดสิ นใจทิ้งงานประจ าแล้ ว

ก ลั บ ม า พั ฒ น า พื้ น ที่ ข อ งตั ว เ อ ง ท า

“สวนเกษตรพอเพียงตามรอยพ่อ” ในพื้นที่

1 ไร่ 3 งาน จนประสบความส าเร็จที่ยอมรับ

ขอ งคน ใน อ าเภอ บา งกระ ทุ่ ม และ ได้เข้ า

ประ ก วดร ะดับจั งห วัด จ น ไ ด้ รับร างวัล

ชนะเลิศ

เป็ นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ทางด้านเกษตร การตอนกิ่ง

การท าน ้าหมักการแก้ไขปัญหาเรื่องดิน สวนการเรียนรู้เกษตรพอเพียงตาม

รอยพ่อบ้านโคกสนั่น

เป็ นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ ด้านเกษตรกรรม

134/3 หมู่8 ต.วัดตายม

อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก

089-8877362

Bery 3120

สเบย คนไทยใจเกษตร, สว น ้าส้ มควันไม้มาปฏิบัติควบคู่กับการท าการเกษตรแบบผสมผสาน

น ้าส้ มควันไม้มีสารประกอบต่างๆ มากมาย เมื่อน าไปใช้ประโยชน์ทาง

การเกษตรจะมีคุณสมบัติ เช่น เป็ นสารปรับปรุงดิน สารป้องกันก าจัดศัตรูพืช

และสารเร่งการเติบโตของพืช ซึ่งในปัจจุบันนี้การท าน ้าส้ มควันไม้นอกจาก

เก็บไว้ใช้เอง ยังสามารถที่จะสร้างรายได้ให้กับครอบครัวได้

23

สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

การท าขนมไทย

นางวรรณา หร่องบุตรศรี

ชื่อครูนางสาวนุจรินทร์ เงื่อนจันทร์ทอง

กศน.ต าบลเนินกุ่ม

อ.บางกระทุ่ม จ. พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์062-8561189

นางวรรณา หร่ องบุต รศรีได้

ส าเ ร็ จ ก า ร ศึ ก ษ า ห ลั ก สู ต ร วิช า ชี พ

แผนก คหกรรมศาสตร์ มาเป็ นเวลากว่า

30 ปี แล ะ ได้ท างา น เป็ น เชฟ เบเก อ รี่

ในโรงแรมระดับห้ าดาวมาเป็ นเวลานาน

ตลอดจนเข้ ารับการอบรมแล ะพัฒ น า

ตนเองใน การศึ กษาหาความรู้ เพิ่ม เติ ม

เกี่ยวกับการท าขนมไทย ประเภทต่ างๆ

และในปัจจุบัน ได้เป็ นวิทยากรสอนท า

ขนมไทย ให้ กับหน่ วยงานราชการ และ

หน่วยงานอื่นๆ อีกมากมาย

- ขนมไทย มีเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรมประจ าชาติไทยคือ มีความ

ละเอียดอ่อนประณีตในการเลือกสรรวัตถุดิบ

-วิธีการท า ที่พิถีพิถัน รสชาติอร่อยหอมหวาน สีสันสวยงาม รูปลักษณ์ชวน

รับประทาน ตลอดจนกรรมวิธีที่ประณีต บรรจง

- เป็ นการน าผลผลิตที่อยู่ในชุมชนมาแปรรูป เพื่อชะลอการน าเข้าตลาด

- เพื่อแก้ปัญหาด้านการบริโภคอย่างปลอดภัย ประหยัด

วิทยากรถ่ายทอดความรู้ การท าขนมไทย ให้กับ กศน.อ าเภอบางกระทุ่ ม

และประชาชนในพื้นที่ต าบลเนินกุ่ม อ าเภอบางกระทุ่ม ผู้ผ่ านหลักสูตรสามารถ

น าความรู้ ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจ าวัน สร้ างรายได้เสริมให้ กับตนเอง คนใน

ครอบครัว และยังน าขนมไทยไปถวายวัด เนื่องในงานท าบุญตามเทศการต่างๆ

127 หมู่7 ต.เนินกุ่ม

อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก

080-7965414

0807965414

24

สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

การท าน ้าพริกแกง

ชื่อครู นางศิรินุช เพ็งสลุด

กศน.ต าบลโคกสลุด

อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 083-1672072

21 หมู่ 2 ต.โคกสลุด

อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก 65110

08-5052-7321

0850527321

นิต ใจรัก

 การคัดเลือกวัตถุดิบที่มีคุณภาพในการผลิต

 สะอาด ถูกหลักอนามัย กลิ่นหอมสมุนไพรชวนรับประทาน

 ความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ (น ้าพริกแกงเผ็ด,น ้าพริกแกงส้ ม,น ้าพริกลาบ)

 รสชาติอร่อยมีมาตรฐานในการผลิตที่คงที่อย่างสม ่าเสมอ

 ได้รับอนุญาตให้ใช้เครื่องหมายมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน

มาตรฐานเลขที่ มผช.129/2546

 ได้รับการจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ตาม พ.ร.บ.วิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548

 ได้รับการคัดสรรเป็ น OTOP 4 ดาวระดับประเทศ พ.ศ.2549

 ได้รับการรางวัลชนะเลิศอันดับ 1 กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรดีเด่น และได้รับการ

รับรองมาตรฐาน GAP พืชอาหาร จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้พ.ศ.2562

ปลายปี 2541 วัดย่านยาวจัดงานปิ ดทองฝั ง

ลูกนิมิต จ านวน 10 วัน จ าเป็ นต้องใช้ น ้าพริก

แกงจ าน วน มาก ในก ารประก อบอา หาร ใน

โรงทาน ข อ งวัด ก ลุ่ ม แม่ บ้ าน จึงส อบถา ม

กรรมวิธีและสู ต รท าน ้าพริกแกงจากแม่ ครัว

ขอ งวัดใน อ า เภ อ วังทอง ซึ่ งในข ณะนั้ นไ ด้

ข้ อ มูล เพียงขั้ น ตอ น วิธี การ โดยใช้ ก ารก ะ

ปริม าณวัต ถุดิบต่ างๆ เมื่ อเส ร็จงานแล้ วยังมี

วัตถุดิบเหลืออยู่ จ านวนมาก จึงได้ผลิตน ้าพริก

แกงจ าหน่ าย น าเงินรายได้สมทบท าบุญ ให้

กับทางวัด น ้าพริกแกงบ้านย่ านยาวเริ่มมีคน

รู้จักแพร่ หลายมากขึ้น และได้ปรับปรุงสู ตร

ให้ มี ม าต รฐ าน ได้ รับรางวัล OTOP 4 ดา ว

ระดับประเทศ และได้รับการรับรองมาตรฐาน

GPA พืชอาหาร จากมหาวิทยาลัยแม่โจ้

 เป็ นวิทยากรหลักสูตรการท าน ้าพริกแกงเผ็ด น ้าพริกแกงส้ ม น ้าพริกลาบ

เป็ นแหล่งเรียนรู้ในการน ้าพริกแกงเผ็ด น ้าพริกแกงส้ ม น ้าพริกลาบ

เป็ นแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

นางนิต ใจรัก

25

สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

ผลิตภัณฑ์จักสานจากเส้นพลาสติก

นางนงค์รักษ์ชัยสุริยงค์

ชื่อครูนางสาวสุรีรัตน์ คล้ายข า

กศน.ต าบลไผ่ล้อม

อ.บางกระทุ่ม จ. พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์084-8176900

นางนงค์รักษ์ ชัยสุริยงค์ ได้รับการ

ถ่ายทอดความรู้ด้านการสานเส้ นพลาสติก

มาจากศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชนต าบลไผ่ล้อม

ท าให้เกิดทักษะและมีความช านาญ จน

สามารถผลิตเป็ นสินค้า และจ าหน่ายสร้าง

รายได้เสริมให้กับครอบครัว อีกทั้งยังน า

ความรู้ไปเผยแพร่ให้แก่ชุมชน โดยการเป็ น

วิทยากรให้กับ กศน.อ าเภอบางกระทุ่ม

- มีรูปแบบและลวดลายสีสันที่หลากหลาย

- สามารถผลิตสินค้าตามความต้องการของลูกค้าได้

- สามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้หลากหลายตามความต้องการของ

ผู้บริโภค

วิทยากรถ่ายทอดความรู้ การสานเส้ นพลาสติก ให้กับ กศน.อ าเภอ

บางกระทุ่ม และประชาชนในพื้นที่ต าบลไผ่ล้อม ต าบลท่าตาลอ าเภอ

บางกระทุ่ม สามารถน าความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจ าวัน เพื่อเพิ่ม

รายได้ให้กับตนเองและคนในชุมชน

9/9 หมู่ 5 ต าบลไผ่ล้อม

อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก

064-4239416

0644239416

Nongraks chaisuruyong

26

สาขา ศิลปวัฒนธรรม

การละเล่นกลองยาวพื้นบ้าน

ชมรมกลองยาวท่าตาล

ชื่อครูนางสาวกาญจนา เสมอใจ

กศน.ต าบลท่าตาล

อ.บางกระทุ่ม จ. พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์093-1365331

ชมรม กลองยาวท่ าตาล น าโดย

นายเชี้ยน แสงเดือน นายกองค์การบริหาร

ส่ วนต าบลท่ าตาล ได้รับการถ่ายทอดจาก

บรรพบุรุษจากรุ่ น สู่ รุ่ นเป็ นการถ่ ายทอ ด

ศิลปวัฒนธรรมไทยเพื่อให้ ลูกหลานได้เห็น

คุณค่ าข อ งศิ ล ปวัฒ น ธ รร ม ไทยที่ ดีงา ม

ผู้สูงอายุในชุมชนได้มีการรวมกลุ่มพบปะมี

มนุษยสั มพันธ์ กับผู้ อื่ นมีสุ ขภาพจิตที่ดีมี

ความสุข มีความเชื่ อมั่นและเห็นคุณค่าใน

ตนเองจึงท าให้เกิดชมรมกลองยาวท่าตาล นี้

ขึ้น

- ภูมิปัญญาที่ถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษจากรุ่นสู่ รุ่น

- เป็ นศิลปวัฒนธรรมไทยที่ดีงาม

- เป็ นการรวมกลุ่มของผู้สูงอายุที่มากความสามารถ

- เป็ นความภาคภูมิใจ ให้คนรุ่นหลังได้ชมศิลปวัฒนธรรมด้านกลองยาว

- เป็ นแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น

-การน าชมรมกลองยาวท่าตาลไปจัดแสดงในงาน Kick Off สูงวัย

ใจสมาร์ท ที่จัดโดย ส านักงาน กศน.จังหวัดพิษณุโลก

ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาจังหวัดพิษณุโลก

อบต.ต าบลท่าตาล

อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก0

081-6040271

0816040271

นายก เชี้ยน แสงเดือน

27

ภูมิปัญญาอันเกิดจากการเรียนรู้ชีวิต

เกี่ยวโยงกับธรรมชาติ ท้ องที่และคนใน

ชุม ชน จา กก าร พึ่งพาต น เอ งโดย ใช้

วัตถุดิบที่มีในท้ องถิ่น และวัตถุดิบที่หา

ได้ง่าย น ามาประดิษฐ์ เป็ นเครื่ องจักสาน

ส าหรับใช้สอยในชีวิตประจ าวัน กลาย

มาเป็ นสินค้าที่สร้างชื่อให้ กับต าบลบ้าน

ไร่ อ าเภอบางกระทุ่ ม จังหวัดพิษณุโลก

โดย กศน.ต าบลบ้ านไร่ ได้ร่ วมให้ การ

สนั บสนุ น ใน เรื่ อ งข อ งก าร ส่ งเส ริ ม

การค้าผ่ านทางช่องทางออนไลน์ ซึ่ งมี

ผลิตภัณฑ์ แฮนด์เมดการจักสานไม้ ไผ่

มีสินค้าหลากหลายรูปแบบฝี มือประณีต

ขายทั้งปลีกและส่ ง

 มีรูปแบบที่สวยงาม

 มีสีสันสดใสน่าใช้

 มีความแข็งแรง ทนทาน

 ใช้วัตถุดิบที่ดีมีคุณภาพที่มีอยู่ในท้องถิ่น

 ช่องทางการจัดจ าหน่ายที่หลากหลาย ทางออนไลน์และการจัดออกร้าน

ในงานเทศกาลและนิทรรศการต่างๆ

 เป็ นวิทยากรหลักสูตรจักสานงานไม้ไผ่

 เป็ นแหล่งเรียนรู้ในด้านการจักสานงานไม้ไผ่

37 หมู่ 6 ต.บ้านไร่

อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก 65110

081-5957795

ชื่อครู นางอัจฉรา เครือกนก

กศน.ต าบลบ้านไร่

อ าเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ : 097-2209634

0815957795

สาขา หัตถกรรม(งานฝี มือช่าง)

ผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่

นางน ้าเงิน ปานแก้ว

28

เริ่ ม จ า ก ก า รท าผ ลิ ต ภั ณฑ์ จ า ก ผ้าใน

ครัวเรื อน และบ้ านใกล้เคียง ท าให้ประชาชน

ในหมู่บ้ านมีรายได้เสริมจากการท านา และ

ต่ อ ม าไ ด้วางจ าห น่ าย ใน ตั วจั งห วัดแล ะ

จังหวัดใกล้ เคียง และต่ อมาได้จดทะเบี ยน

เป็ นก ลุ่ ม วิส าห กิจชุ มชน ชื่ อว่าวิสาห กิ จ

ชุมชนผลิตภัณฑ์ ตัดเย็บจากผ้ าต าบลสนาม

คลี และในปี พ.ศ.2559 ได้ส่ งผลิตภัณฑ์ เข้ า

ปร ะ กวดกา รอ อ กแบบผ ลิต ภั ณ ฑ์ ส ร้ า ง

มูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ จังหวัดพิษณุโลก

ได้ รั บ ร า งวั ล ช น ะ เลิ ศ จ า ก ส า นั ก งา น

วัฒนธรรมจังหวัดพิษณุโลก

ปัจจุบันกลุ่มได้พัฒนารูปแบบการพิมพ์

ลายจากใบไม้ในท้องถิ่น เพื่อท าเป็ นลวดลาย

ในผลิตภัณฑ์ จากผ้ า และผลิตสิ นค้าออกสู่

ตลาดอย่างต่อเนื่อง

1. มีลวดลาย สีสันในการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายท าให้ตรง

ตามความต้องการของผู้บริโภค

2. ใช้วัสดุที่ดีมีคุณภาพในการผลิต ท าให้ผลิตภัณฑ์มีความแข็งแรง

ทนทาน ท าให้มีอายุการใช้งานที่นาน

3. ใช้ลวดลายจากใบในท้องถิ่น มาท าเป็ นลวดลายผ้า

1. เป็ นวิทยากรหลักสูตรผลิตภัณฑ์จากผ้า

2. เป็ นแหล่งเรียนรู้ในด้านการท าผลิตภัณฑ์จากผ้า และการบริหารจัดการ

วิสาหกิจชุมชนให้คงอยู่อย่างยั่งยืน

สาขา ศิลปกรรม (ด้านงานประดิษฐ์)

12 หมู่ที่ 6 ต.สนามคลี

อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก

083 - 9516771

0839516771

ชื่อครูนายอภิชาติ เพ็งสลุด

กศน.ต าบลสนามคลี อ าเภอบางกระทุ่ม

จังหวัดพิษณุโลก โทร. 099 – 3353560

สายสุนีย์ มัธยมพันธ์

นางสาวสายสุนีย์ มัธยมพันธ์

ผลิตภัณฑ์ตัดเย็บจากผ้า

29

เฉพาะรูปภาพ

ผลิตภัณฑ์

ไม่น้อยกว่า 500 kB

สาขา ศิลปกรรม (ด้

านงานประดิษฐ์)

กลุ

่มบายศรีบ้านเนินกะบาก

นางวิไล จันทะวงค์

ชื่อครูนางนารี โตน้อย

กศน.ต าบลเนินมะปราง

อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 093-2464189

กลุ่มบายศรีบ้านเนินกะบาก ก่อตั้งเมื่อ

ปี พ.ศ.2546 เดิมทีสมาชิกมีจ านวน

3 คน ประกอบด้วย นางวิไล จันทะวงค์

นางสุดสาคร จันกกผึ้ง และนางอุทัย

เพ็ชรน้อย ได้ไปร่วมฝึกอบรมการท า

บายศรีที่วัดบ้านนา หมู่ 6 ต าบลเนิน

มะปราง และได้น าความรู้ที่ได้รับมา

ถ่ายทอดให้กับสมาชิก ๆ ปัจจุบันมี

จ านวน 15 คน รับงานท าบายศรีทั่วไป

ราคาบายศรีชุด ให ญ่เริ่ มต้ นที่ราคา

15,000 บาท บายศรีงานบวช งานแต่ง

เริ่มต้นที่ราคา 3,000-5,000 บาท ท าให้

สมาชิกในกลุ่มมีรายได้เสริม และกลุ่ม

บายศรีบ้านเนินกะบากจะรับอาสาท า

พานบายศรีให้กับทางวัดศรีมงคล

1.การท าพานบายศรีจากใบตอง มีรูปร่างเป็นชั้น หรือขันคล้ายกระทง ท า

มาจากใบตอง มี 3 ชั้น 5 ชั้น 7 ชั้น และ 9 ชั้น ซึ่งใช้ในงานพิธีต่าง ๆ เช่น

งานบวชพระ งานมงคลสมรส หรือพิธีกรรมต่าง ๆ ทางศาสนา เป็นต้น

2. พานบายศรีที่ท าจากใบตองมีความประณีต สวยงาม

3. สนับสนุนเกษตรกรผู้ปลูกกล้วยให้มีรายได้

4. ใช้วัสดุธรรมชาติจากท้องถิ่น ลดต้นทุนการผลิต

5. ได้อนุรักษ์และสืบสานประเพณีการท าพานบายศรีในท้องถิ่นให้คงอยู่

6. มีการรวมกลุ่มเพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง และก่อให้เกิดรายได้เสริมจากการ

ท าพานบายศรีจากใบตอง

1. เป็นแหล่งเรียนรู้การท าพานบายศรีให้กับนักศึกษา กศน.อ าเภอเนินมะปราง

2. เป็นวิทยากรศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร การท าพานบายศรี ให้กับ กศน.

อ าเภอเนินมะปราง

3. สนับสนุนสถานที่ในการจัดกิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการท า

พานบายศรี ให้กับ กศน.อ าเภอเนินมะปราง

520 หมู่ 4 ต.เนินมะปราง

อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก65190

0932688340

0932688340

-

30

เฉพาะรูปภาพ

ผลิตภัณฑ์

ไม่น้อยกว่า 500 KB

สาขาอุตสาหกรรมและหัตกรรม

การท าไม้

กวาดทางมะพร

าว

นายบุญเหลือ แสงแก้

ชื่อครูนางสาวบังอร ดีธรรมมะ

กศน.ต าบลบ้านมุง

อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 082-4052173

นายบุญเหลือ แสงแก้ว อายุ 68 ปี

อยู่บ้านเลขที่ 208 หมู่ 1 ต าบลบ้านมุง

อ าเภอเนินมะปรางจังหวัดพิษณุโลก

ได้มีความชื่นชอบงานด้านหัตถกรรม

จึงได้ศึกษาเรียน รู้งาน หั ตถกรรม

ต่างๆ จากครอบครัว และได้มีโอกาส

ไปศึกษาดูงานจากสถานที่ต่างๆ จึงน า

สิ่ ง ที่ส น ใจก ลั บ ม าศึ ก ษ าเรีย น รู้

เพิ่ มเติมด้วยตน เอง คือการท าไม้

กวาดทางมะพร้าว และสามารถสร้าง

อาชีพสร้างรายได้ให้แก่ตนเอง และ

ปัจ จุบั นได้เป็น วิท ยากรถ่ายท อด

คว าม รู้ ให้กั บนั กเรี ยน นั กศึ กษ า

ประชาชนในต าบล และหน่วยงาน

ต่างๆ

วัสดุสามารถหาได้ในท้องถิ่น

เป็นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการของตลาด

สร้างอาชีพและสร้างรายได้ให้แก่คนในชุมชน

เป็นการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น

ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

เป็นวิทยากรจัดการศึกษาต่อเนื่อง

208 ม.1 ต.บ้านมุง

อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก65190

085-0532292

-

-

31

สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือ

นางบ่อเซียง เขียวกระเบือง

ชื่อครูนางสาวิลาวัณย์ กลิ่นจันทร์

กศน.ต าบลชมพู

อ. เนินมะปราง จ. พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์089-4608235

น างบ่ อเซี ยง เขียวกระเบื อง เป็ น

ประธาน และผู้ น ากลุ่มท อผ้ าบ้ าน

หนองหญ้าปล้อง หมู่ 6 ต าบลชมพู

อ าเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก

มี กรรมวิ ธี การท อผ้ าที่ ใช้ เท คนิ ค

การมัดและการย้อม ที่เป็นเอกลักษณ์

เฉ พ าะต น ที่ อาศั ยค ว าม ช าน าญ

ในการมัด ย้อม และการทอ เป็นอย่าง

มาก จ น เป็ น ที่ ยอมรับ ของคน ใน

ชุมชนและสังคม และได้รับโล่เกียรติ

คุณ ด้านการทอผ้ามากมาย อีกทั้ ง

ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ และเป็นวิทยากร

ให้ความรู้ได้

1.การทอผ้าประเภทเครื่องแต่งกาย มีกรรมวิธีการทอผ้าที่ใช้เทคนิคการมัด

และการย้อม ที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน ที่อาศัยความช านาญในการมัดย้อม

และการทอ สามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ได้

2.การสาวไหมประเภทเส้นไหมหลืบสาวมือ มีความเชียวชาญ และช านาญ

ในการสาวไหมในรูปแบบต่างๆ จนเป็นที่ยอมรับของผู้ที่มาอบรม แลศึกษา

ดูงาน

3. ได้รับการคัดสรรเป็นผลิตภัณฑ์ ระดับห้าดาว ประเภทผ้าเครื่องแต่งกาย

ตามโครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งต าบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (OTOP

Product Champion)

4. เป็นศูนย์ OTOP ผลิตภัณฑ์ระดับห้าดาว ประเภท ผ้าเครื่องแต่งกายตาม

โครงการคัดสรรสุดยอดหนึ่งต าบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย (OTOP Product

Champion)

1. เป็นแหล่งเรียนรู้ และเป็นวิทยากรบรรยายให้ความรู้ เรื่อง ภูมิปัญญา

ท้องถิ่น (การทอผ้า) ให้กับนักศึกษา กศน. สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบ

และการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเนินมะปราง

2. สนับสนุนสถานที่และเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ กิจกรรมส่งเสริม

ศูนย์ฝึกอาชีพ ให้กับ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก

3. สนับสนุนผ้าทอ การจัดนิทรรศการ งาน Kick Off “สูงวัย ใจสมาร์ท”

กศน. ปลุกแรงใจให้วัยเก๋า (มิติที่ 2 ด้านสังคม) ตามโครงการจัดและ

ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงสมรรถนะ ทางกาย จิต และ

สมองของผู้สูงวัย ในรูปแบบกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิตใน 4 มิติ

7 หมู่ที่ 6 ต.ชมพูอ.เนินมะปราง

จ.พิษณุโลก 6519

088 – 1561083

-

-

32

สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

ชื่อครูนางสาวอิงณภัสร์ วงษ์จิระกิตติ์

กศน.ต้าบลไทรย้อย

อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์081-5969775

สมาชิกหมู่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านโคก ต.ไทรย้อย

อ.เนินมะปรางจ.พิษณุโลก ได้จดทะเบียน

วิสาหกิจชุมชนอ้าเภอเนินมะปราง สมาชิก

ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรปลูกม่วงน ้าดอกไม้

จากสภาพสังคมท้องถิ่นในปัจจุบัน พบว่า

ราคาตกต่้า เนื่องจากสถานการณ์การแพร่

ระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019

(โควิด-19) ท้าให้พ่อค้าไม่สามารถเข้ามารับ

ซื อมะม่วงได้ จึงมีการประชุมตกลงกันใน

กลุ่ม ท้าให้เกิดการแปรรูปผลผลิตของ

มะม่วงเพื่อเพิ่มมูลค่าของมะม่วงจึงคิดท้า

ขนมปั้นสิบไส้มะม่วงน ้าดอกไม้สีทองเป็น

การส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนมีรายได้

ให้กับครอบครัวและชุมชนได้เป็นอย่างดี

1.เป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านโคก หมู่ 6 ที่ได้จดทะเบียนวิสาหกิจชุมชน

ของอ้าเภอเนินมะปราง เป็นผลิตภัณฑ์สินค้าที่ผลิตขึ นของสมาชิกใน

กลุ่มถ่ายทอดความรู้ และมีการพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์อยู่เสมอ

2.เป็นสถานแหล่งเรียนรู้ และฝึกการพัฒนาฝีมือของคนในชุมชน

3.เป็นสินค้าขึ นชื่อของต้าบลไทรย้อยมีบรรจุภัณฑ์ที่ทันสมัยได้

มาตรฐานมีฝาปิดสุญญากาศสามารถเก็บรักษาได้นาน มีวัน เดือน ปี ที่

ผลิตสินค้า อย่างชัดเจนและยังเป็นของฝากประจ้าต้าบล อ้าเภอ และ

จังหวัดพิษณุโลกอีกด้วย

1.เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับชุมชนร่วมกับ กศน.ต้าบล

2.วิทยากรให้ความรู้เรื่องการตลาดและการประชาสัมพันธ์ ผลิตภัณฑ์

ขนมปั้นสิบไส้มะม่วงน ้าดอกไม้

3.เป็นวิทยากรให้กับ กศน.

4.เป็นกลุ่มให้ความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรม กศน.ต้าบล

บ้านเลขที่ 107/2 หมู่ที่ 6 ต.ไทรย้อย

อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก 65190

เบอร์โทรศัพท์ 086-0885513

086-0885513

Pakamas Eaw

นางสาวผกามาศ พลเมือง

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

ขนมปั�นสิบไส้มะม่วงนํ�าดอกไม้สีทอง

33

ชื่อครู ศิวิษา กันตง

กศน.ต าบลวังโพรง

อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 095-6831209

จากสภาพสังคมท้องถิ่นในปัจจุบันพบว่า

ในแต่ละครัวเรือนของประชาชนอ าเภอเนิน

มะปรางส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร ดังนั้นการ

ส ร้ า ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ม้ ก ว า ด ด อ ก ห ญ้ า

เป็นผลิตภัณฑ์ที่ทุกครัวเรือนได้ใช้และมีทุก

บ้ าน จึ ง เป็ น ท างเลื อกที่ น่ าสน ใจ ให้ กั บ

ครัวเรือน เพื่อเป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้

ประชาชนใช้เวลาว่างหลังจากการเก็บเกี่ยว

ผลผลิตทางเกษ ตร โดยการรวมกลุ่มกัน

ประกอบอาชีพเสริม และประชาชนสามารถ

สร้างรายได้ให้กับครอบครัวและชุมชนได้

1.เป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนใช้เวลาว่างหลังจากการเก็บเกี่ยว

ผลผลิตทางเกษตร โดยการรวมกลุ่มกันประกอบอาชีพเสริม

2.สร้างรายได้และอาชีพให้แก่สมาชิกในชุมชนสร้างงานสร้างอาชีพ

3.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถท าการดัดแปลง หรือสามารถเลือกย้อมสีของ

ดอกหญ้าไม้กวาดที่น ามาถัก เพื่อให้เกิดความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น

1.ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัย

2.วิทยากรให้ความรู้เรื่องการตลาดและการประชาสัมพันธ์ ผลิตภัณฑ์ไม้

กวาดดอกหญ้า

16 หมู่ที่ 7 ต.วังโพรง

อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก

65089190 -857-3508

-

-

สาขา อุตสาหกรรมและหัตถกรรม

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

ผลิตภัณฑ์ไม้

กวาดดอกหญ

นางบุญลือ โสระฐี

34

สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

ผลิตภัณฑ์ไม้กวาดดอกหญ้า

นางทองสุข ตาดทอง

ชื่อครูจุฑารัตน์ พูลเผ่าด ารงค์

กศน.ต าบลวังยาง

อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์: 083-9542399

สมาชิกใน ชุมชน ต าบ ลวังยาง อ าเภ อ

เนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก จากสภาพ

สังคมท้องถิ่นใน ปัจจุบันพ บ ว่าในแต่ละ

บ้านเรือนของประชาชนอ าเภอเนินมะปราง

ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร เพื่อเป็นการส่งเสริม

สนับสนุนให้ประชาชนใช้เวลาว่างหลังจาก

การเก็บเกี่ยวผลผลิตทางเกษตร โดยการ

รวมกลุ่มกันประกอบอาชีพเสริม การท าไม้

กวาดดอกหญ้าเกิดจากการน าเอาความคิด

ผ ส ม ผ ส าน กั บ จิ น ต น าการ บ ว กกั บ ไ ด้

ประยุกต์กับวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาท าเป็น

ไม้กวาดจากดอกหญ้ า เป็นการดัดแปลง

วัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์และ

สร้างรายได้โดยให้เป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน

1. เป็นการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนใช้เวลาว่างหลังจากการเก็บ

เกี่ยวผลผลิตทางเกษตร โดยการรวมกลุ่มกันประกอบอาชีพเสริม

2. สร้างรายได้และอาชีพให้แก่สมาชิกในชุมชน

3. ไม้กวาดดอกหญ้าเป็นผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ผสมผสานกับลวดลาย

เอกลักษณ์ในการมัดท าให้ทนทานและแข็งแรง เพิ่มอายุการใช้งานมากขึ้น

4. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถต่อยอดพัฒนาผลผลิตยึดเป็นอาชีพเสริม

เพิ่มพูนรายได้ให้แก่ครอบครัว

1. ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

2.วิทยากรให้ความรู้เรื่องการตลาดและการประชาสัมพันธ์ ผลิตภัณฑ์

ไม้กวาดดอกหญ้า

3.องค์การบริหารส่วนต าบลวังยาง

48 หมู่5 ต.วังยาง

อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก 65190

094-7408128

-

-

35

สาขา เกษตรกรรม

การท าการเกษตรแบบผสมผสาน

นายรายณลักษณ์ เพชรประดิษฐ์

ชื่อครูนางสาวสุทธิมล พวงแสน

กศน.ต าบลบ้านน้อยซุ้มขี้เหล็ก

อ. เนินมะปราง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์0804715859

คุณรายณลักษณ์เพชรประดิษฐ์มีความ

สนใจในการท าเกษตรแบบผสมผสาน

โดยได้น าแนวความคิดเกี่ยวกับในเรื่อง

ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

สามารถน ามาใช้ในชีวิตประจ าวันได้

จริง ด้วยความพร้อม และรักในการท า

เกษตรแบบผสมผสาน เป็นการลด

ค่าใช้จ่าย เพิ่มรายได้ เป็นการท าเกษตร

ที่ยั่งยืนในพื้นที่ 25 ไร่ โดยจัดสรรพื้นที่

อยู่อาศัย พื้นที่เกษตร พื้นที่สร้างแหล่ง

เรียนรู้ การแปรรูปผลผลิตทาง

การเกษตรให้มีมูลค่าเพิ่ม เช่น คุกกี้แยม

มะม่วง ทาร์ตไข่แยมมะม่วง การเพาะ

เห็ดนางฟ้า ปุ๋ยหมัก

เป็นการ ท าการเกษตรแบผสมผสาน โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง เป็นการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่ มีความหลากหลาย

ทางการเกษตร มีทั้งพืชเศรษฐกิจ เช่น มะม่วง มะยงชิดและมีการปลูกพืช

หมุนเวียน พืชผักสวนครัว มีการแบ่งพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม เป็นแหล่ง

เรียนรู้ในชุมชนได้เป็นออย่างดี มีบรรยากาศร่มรื่น

ความร่วมมือกับ กศน.

-ได้ให้ความอนุเคราะห์สถานที่ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลัก

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

-ได้ให้ความอนุเคราะห์เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ในการท าเกษตร

แบบสมผสาน และการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรที่เพิ่มมูลค่าทาง

การตลาด

-ได้ให้ความอนุเคราะห์ จัดหา วัสดุ อุปกรณ์ในการเรียนรู้ต่างๆ

164 หมู่ 11 ต.บ้านน้อยซุ้มขี้เหล็ก

อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก 65190

088-2786324

088-2786324

รายณลักษณ์ เพชรประดิษฐ์

36

สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

การตัดเย็บกระเป๋า/ย่าม

นางบัววิว ลาสม

นางสาวนิภาพร พระคำสอน

กศน.ตำบลชาติตระการ

อ.ชาติตระการ จ. พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์099-3819735

นางบัววิว ลาสม สืบสานและพัฒนา

ต่อยอดองค์ความรู้ด้านการทอผ้า

พื้นเมือง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

องค์ความรู้รวมถึงการศึกษาหาแนว

ทางการพัฒนาต่อยอดผ้าทอ และ มี

การแปรรูปการทอผ้าพื้นเมืองเป็น

การตัดเย็บเสื้อผ้าสำเร็จรูปแบบต่างๆ

การแปรรูปจากผ้าขาวม้ามาตัดเย็บ

เป็นย่ามและการตัดเย็บกระเป๋าแฟชั่น

- ภูมิปัญญาที่ถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษ

-การนำเศษผ้าที่เหลือนำมาตัดเย็บกระเป๋า/ย่าม

-การนำผ้าทอพื้นเมือง(ผ้าขาวม้า)มาตัดเย็บกระเป๋า/ย่าม

-การออกแบบที่มีหลากหลายรูปแบบ

วิทยากรถ่ายทอดความรู้ การตัดเย็บกระเป๋า/ย่าม การตัดเย็บเสื้อผ้าการ

ทอผ้าและการทำข้าวเกรียบ ให้กับ กศน.อำเภอชาติตระการและ

ประชาชนในพื้นที่ตำบลชาติตระการ ตำบลบ่อภาคและตำบลท่าสะแก

อำเภอชาติตระการ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำวัน

เพื่อลดรายจ่ายเพิ่มรายได้ในครอบครัวของคนในชุมชน

67/1 หมู่4 ต.ชาติตระการ

อ.ชาติตระการจ.พิษณุโลก

086-2030067

086-2030067

บัววิว ลาสม

37

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

ผ้าทอมัดหมี่กี่กระต

กล่ม

ทอผ้ามัดหมี่กี่กระต

กบ้านนาเมือง

นายอัษฎาพร พ่วงปิ่ น

กศน.ต าบลป่ าแดง

อ.ชาติตระการ จ. พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์065-4956539

การทอผ้ามัดหมี่ถือเป็ นศิลปะและหัตถกรรม

หรืองานฝี มืออย่างหนึ่งของชุมชน การทอผ้า

มัดหมี่เป็ นภูมิปัญญาที่มีมาแต่โบราณ มีการ

สั่งสมองค์ความร้ขึ้นมาจากประสบการณ์ู

ของชีวิต สังคม และในสภาพแวดล้อม

ที่แตกต่างกัน และมีการถ่ายทอดสืบต่อกันมา

เป็ นวัฒนธรรม จากคนร่นหนึ่งสุ่คนอีกรู่นหนึ่ง ุ

ข้าพเจ้าในฐานะที่เป็ นผ้น าชู ุมชนคนหนึ่ง

และเป็ นผ้ที่มีความรู้ ความสามารถ และู

ประสบการณ์ด้านการทอผ้ามัดหมี่ ซึ่งเป็ น

เอกลักษณ์ของบ้านนาเมือง ต าบลป่ าแดง

อ าเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก

โดยได้รับการยกย่องเป็ นปราชญ์ชาวบ้าน

องค์ความร้ด้านการทอผ้ามัดหมีู่

องค์ความร้ภู ูมิปัญญาท้องถิ่นการทอผ้ามัดหมี่ถือเป็ นศิลปะ และ

หัตถกรรมหรื องานฝี มืออย่ างหนึ่งของชุมชน การทอผ้ ามัดหมี่เป็ น

ภูมิปัญญาที่มีมาแต่โบราณ มีการสั่งสมองค์ความร้ขึ้นมาจากประสบการณ์ู

ของชีวิต สังคม และในสภาพแวดล้อม ที่แตกต่างกัน และมีการถ่ายทอด

สืบต่อกันมาเป็ นวัฒนธรรม จากคนร่นหนึ่งสุ่คนอีกรู่นหนึ่ง ุ

ข้าพเจ้าในฐานะที่เป็ นผ้น าชู ุมชนคนหนึ่ง และเป็ นผ้ที่มีความรูู้

ความสามารถ และประสบการณ์ด้านการทอผ้ามัดหมี่ ซึ่งเป็ นเอกลักษณ์ของ

บ้านนาเมือง ต าบลป่ าแดง อ าเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก โดยได้รับ

การยกย่องเป็ นปราชญ์ ชาวบ้ าน องค์ความร้ ด้ านการทอผ้ามัดหมี่ จากู

หน่วยงานราชการต่าง ๆ เช่น กศน.อ าเภอชาติตระการ พัฒนาชุมชนอ าเภอ

ชาติตระการ สถาบันพัฒนาฝี มือแรงงาน 9 พิษณุโลก เป็ นต้น

เป็ นวิทยากรถ่ายทอดองค์ความร้เกี่ยวูกับการทอผ้ามัดหมี่ และการต่อยอด

ผลิตภัณฑ์จากการแปรรูปผ้าทอ ทั้งผ้าทอลายดั้งเดิม ผ้าทอลายประยุกต์

ผ้าขาวม้า มาเป็ นเสื้อ กระโปรง กระเป๋ า ย่าม และให้ความร้เกี่ยูวกับ

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นต้น

40/2 หมู่8 ต.ป่ าแดง

อ.ชาติตระการจ.พิษณุโลก65170

081-9716806

081-9716806

ผ้าทอบ้านนาเมือง

38

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

ผ้าทอมัดหมี่กี่กระต

กล่ม

ทอผ้ามัดหมี่กี่กระต

กบ้านน้อย

นางสาวเปี ยทิพย์ แสงสีบาง

กศน.ต าบลท่าสะแก

อ.ชาติตระการ จ. พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์082-8846874

กล่มทอผ้ามัดหมี่กี่กระตุ ุกบ้ านน้ อย

จัดตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2541

โ ด ย ใ ช้ ชื่ อ ก ล่ ม ว่ า ุ“ก ล่ ม แ ม่ บ้ า นุ

เกษตรกรทอผ้าบ้านน้อย” โดยมี นาง

ไพบูลย์ จันทะคุณ เป็ นประธานกล่ม ุ

มีสมาชิกกล่ม จ านวน 10 คน ในการุ

ด าเนินงาน กล่ มแม่ บ้ านเกษตรกรุ

ทอผ้าบ้านน้อย จะใช้การระดมทุน โดย

ให้สมาชิกกล่มฝากหุ้นคนละ 100 บาท ุ

และฝากเงินออมทรัพย์รายเดือน ๆ ละ

20 บาท หลังจากนั้นก็มีผ้มาสมัครเป็ นู

สมาชิกเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ต่อมาทางกล่มุ

ได้ เปลี่ยนชื่ อกล่ มเป็ น ุ“กล่ มทอผ้ าุ

มัดหมี่กี่กระตุกบ้านน้อย”

- ภูมิปัญญาที่ถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษจากร่นสุ่รู่นุ

- มีลายผ้าที่เป็ นเอกลักษณ์

- คิดค้น รูปแบบลายผ้าใหม่ ๆเพื่อให้ได้ตามความต้องการของตลาด

- มีการแบ่งการผลิตให้ทุกคนในกล่มุด าเนินการตามความร้ ความสามารถู

และความถนัดของแต่ละบุคคล

-แปรรูปผลิตภัณฑ์ ที่เกิดจากการทอผ้าของกล่มในรุ ูปแบบต่าง ๆ เช่น

การเย็บถุงย่าม การทอผ้าพันคอ การทอผ้าคุมไหล่ การตัดเย็บกระเป๋ า

และการตัดเย็บเสื้อรูปแบบต่างๆ

-ได้รับการรับรองการผลิตที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเภทการผลิตสิ่งทอ

ขนาดเล็ก ระดับดีจากกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

กศน.อ าเภอชาติตระการ ได้เข้าไปส่งเสริม และจัดกิจกรรมให้กับกล่มุ

ทอผ้ามัดหมี่กี่กระตุกบ้านน้อย ในหลักสูตรรูปแบบวิชาชีพชั้นเรียน

(1 อ าเภอ 1 อาชีพ) หลักสูตรการทอผ้ามัดหมี่ลายขอเจ้าฟ้าสิริวัณณวรีฯ

หลักสูตรชั้นเรียนวิชาชีพการทอผ้ามัดหมี่ หลักสูตรชั้นเรียนวิชาชีพ

ช่างตัดเย็บเสื้อผ้า

54 หมู่3 ต.ท่าสะแก

อ.ชาติตระการจ.พิษณุโลก

086-2010249

-

ผ้าทอมัดหมี่กี่กระตุกบ้านน้อย

39

ภูมิปัญญาดั้งเดิมชาวบ่อภาค ตั้งแต่ยุคก่อน

กรุงสุโขทัย เป็นหัวใจในการใช้ชีวิตร่วมกัน

ของชุมชนมานานนับพันปี ซึ่งในเดือน

มกราคมของทุกปี(แรม 3 ค ่า เดือน 3)

จะมีพิธีกรรมเกี่ยวกับบ่อเกลือวิถีชีวิตดั้งเดิม

ที่สืบทอดมาเป็นร้อยปีการต้มเกลือสินเธาว์

ที่มีธารน ้าเค็มติดกับน ้าจืด ที่บ้านบ่อภาค

อ าเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก

โดยจะต้มกันในช่ วงเดือนกุมภาพันธ์ ถึง

เมษายน ชาวบ้านจะช่ วยกันดูแอ่งน ้า และ

น าน ้าเกลือมาต้น เคี่ยวในกระทะ จนกระทั่ง

ได้เกลือสินเธาว์

ชื่อครู นางปริศนา จิตรมั่น

กศน.ต าบลบ่อภาค

อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 092-8549195

- กศน.ต าบลบ่อภาค เข้าร่วมโครงการประเพณีขุดลอกบ่อเกลือ

เพื่อการอุปโภคบริโภค

- เป็ นแหล่งเรียนร้ต าบลบ่อภาค อ าเภอชาติตระการจังหวัดู

พิษณุโลก

- กศน.ต าบลบ่อภาค ได้ด า เนินการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนา

อาชีพรูปแบบกล่มสนใจ หลักสุ ูตรการท าเกลือสปา

หมู่5 ต.บ่อภาค

อ.ชาติตระการจ.พิษณุโลก

085-4886038

095-9799399

สุชน ค าผิวภา

- ภูมิปัญญาที่ถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษจากร่นสุ่รู่นุ

- ได้เกลือสินเธาว์ เพื่อการเพื่ออุปโภคบริโภค

- มีร่องรอยเครื่องปั้นดินเผาบ้านบ่อภาค เครื่องปั้นดินเผาใช้บรรจุเกลือ

สินเธาว์เพื่อส่งไปเป็ นเครื่องบรรณาการที่เมืองสุโขทัย

-เป็ นการสืบสานภูมิปัญญาให้คนร่นใหมุ่

สาขา ศาสนาและประเพณี

ประเพณีข

ดลอกบ่อเกลือ

นายส

ชน ค าผิวภา

40

สาขาเกษตรกรรม

การท าเกษตรแบบผสมผสาน

นายนเรวัตร นาคหอม

ชื่อครูนางสาวสุภาพร แต่งเนตร

กศน.ต าบลบ้านดง

อ.ชาติตระการ จ. พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์08-3330-4992

นายนเรวัตร นาคหอม ได้รับการ

ถ่ายทอดความรู้ ด้านการท าเกษตร

ผสมผสาน และได้รับการสนับสนุน

ในการท านาขั้นบันได โคกหนองนา

โมเดล การจัดการพื้นที่ซึ่งเหมาะกับ

พื้นที่การเกษตร ซึ่งเป็ นผสมผสาน

เกษตรทฤษฎีใหม่

-ระบบการเกษตรที่มีการปลูกพืชและการเลี้ยงสัตว์

- มีสัตว์หลายชนิดในพื้นที่เดียวกัน

-กิจกรรมการผลิตแต่ละชนิดจะต้องสามารถเกื้อกูลประโยชน์ต่อกันได้

อย่างมีประสิทธิภาพ

-การใช้ทรัพยากรที่มีอย่ภายในไร่นาอย่างเหมาะสมเพื่อก่อให้เกิดู

ประโยชน์สูงสุด มี ความ สมดุล ของ สภาพแวดล้อม และเพิ่มพูน ความ

อุดมสมบูรณ์ ของพื้นที่

วิทยากรถ่ายทอดความรู้ การท าเกษตรแบบผสมผสาน ให้กับ กศน.

อ าเภอชาติตระการ และประชาชนที่ได้เข้ามาศึกษาดูงาน สามารถน า

ความร้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจ าวันู

88 หม่ 14 ูต.บ้านดง อ.ชาติตระการ

จ.พิษณุโลก 65170

096-1806546

096-1806546

-

41

สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

การทำดินเพาะปลูกต้นไม้

นายวัชระ มีศิลป์

ชื่อครู นางสาวกัญญณัช มั่นหยวก

กศน.ตำบลสวนเมี่ยง

อ. ชาติตระการ จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์061-2797224

“การทำดินเพาะปลุกต้นไม้” เกิด

ขึ้นมาจากแนวคิดของ นายวัชระ

มีศิลป์ ที่คิดทำดินเพาะปลูกต้นไม้

ขึ้นไว้ใช้เองและใช้เวลาว่างให้เกิด

ประโยชน์ เมื่อทำขึ้นมามีพ่อค้าขาย

ดินผ่านมาและถามซื้อ จึงได้เกิด

ความคิดในการจัดตั้งกลุ่มเพื่อทำดิน

เพาะปลูกต้นไม้ขึ้น โดยการรวมกลุ่ม

ของในชุมชน ให้สมาชิกได้มีอาชีพ

เสริม มีเพิ่มรายได้ โดยขอสนับสนุน

งบประมาณ จาก กศน. อำเภอ

ชาติตระการ ในการส่งเสริมอาชีพ

จนปัจจุบันได้นำความรู้ไปพัฒนา

อาชีพจนเกิดผลิตภัณฑ์ชื่อ “อยู่ศิลป์

ดินไม้งาม”

เกิดจากแนวคิดของนายวัชระ มีศิลป์

ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานหลายๆหน่วยงานที่สนับสนุนส่งเสริม

ให้ความรู้ด้านการตลาด การออกแบบบรรจุภัณฑ์

วัตถุดิบสามารถหาได้ตามท้องถิ่น

คนในชุมชนมีงานทำ มีรายได้

เป็นผลิตภัณฑ์ที่ตลาดมีความต้องการ

เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ การทำดินเพาะปลูกต้นไม้ การเลี้ยง

ไส้เดือน เป็นภาคีเครือข่ายที่ให้ความร่วมมือสนับสนุนการจัดกิจกรรม

ของ กศน. ตำบลสวนเมี่ยง เป็นอย่างดี

บ้านแก่งบัวคำ หมู่ 7 ต.สวนเมี่ยง

อ. ชาติตระการ จ. พิษณุโลก

080-5041170

080-5041170

-

42

สาขา ศิลปกรรม (หัตถกรรม)

ชื่อครู นายสงกรานต์ ชื่นใจชน

กศน.ต าบลวัดโบสถ์

อ าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 0881552549

เครื่ องจักสาน เป็ นงานหัตถกรรมที่

หล่อหลอมขึ้นจากจิ ตวิญญาณแ ล ะ ภู มิ

ข อ ง บ ร ร พ บุ รุ ษ ค า ว่ า เ ค รื่ อ ง จั ก ส า น

แยกความหมายได้ คือ จัก หมายถึงการน า

วัสดุมาท าให้เป็ นเส้น เป็ นแฉก หรือริ้ว ส่วน

ค าว่าสาน หมายถึง การน าเอาวัสดุที่เตรียม

แล้วมาสานประดิษฐ์ให้เป็ นรู ปร่ างและ

ลวดลายต่างๆขั้นตอนที่ส าคัญอีกขั้นตอน

หนึ่ งคือ การถัก ซึ่ งเป็ นกระบวนการการ

ประกอบท าให้เป็ นเครื่ องจักสานสมบูรณ์

เสริมความแข็งแรงของโครงสร้างภายนอก

วัสดุที่น ามาใช้สานได้แก่ ไม้ไผ่ หวาย กก

ป่ าน เป็ นต้น

- ภูมิปัญญาที่เกิดจากความคิดและการจินตนาการเครื่ องจักสานเป็ นงาน

หัตถกรรมเก่าแก่อย่างหนึ่ งที่มนุษย์ท าขึ้นเป็ นเครื่องมือ เครื่ องใช้ โดยใช้

วัตถุดิบที่มีอยู่ในท้องถิ่น กรรมวิธีในการท าเครื่องจักสาน เริ่มจาก การใช้

วัตถุดิบจากธรรมชาติที่มีลักษณะเป็ นเถา เป็ นเส้น เช่น เถาวัลย์ หวาย กระจูด

กก มาสอดขัดกันเป็ นแผ่นอย่างง่ายๆ แล้วพัฒนาเป็ นภาชนะหรือเครื่องใช้ ที่มี

ประโยชน์ใช้สอยตามความต้องการ พร้อมกับพัฒนารูปทรง ลวดลายให้มี

ความละเอียดประณีตงดงามไปด้วย

เคยได้รับความรู้จาก กศน.ที่ได้น าวิทยากร มาสอนกลุ่มสนใจให้กับชุมชนใน

เรื่องของการจักสานที่ได้รับมาสร้างเป็ นอาชีพและสามารถต่อยอดเป็ นผลิตภัณฑ์

ที่มีคุณค่าและเป็ นสินค้า OTOP ของจังหวัดพิษณุโลก

29 หมู่ 10 ต าบลวัดโบสถ์

อ าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก

083-9626983

083-9626983

Suriya Daengswang

จักสานไม้ไผ่

นายส

ริยา แดงสว่าง

43

สาขา เกษตรกรรม

ชื่อครูนางสาวศิริลักษณ์ เทพภูตา

กศน.ต าบลคันโช้ง

อ.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 097-1942653

เ ริ่ม จ า ก ก า รท าไ ร่ มันส าป ะ ห ลัง

ท าหนักมาก ท าถึง 8 ปีใช้เคมีเยอะมากจน

ร่ างกายรับไม่ไหว ล้มป่วย ท าให้ท างาน

หนักไม่ได้อีกแล้ว และแพ้สิ่งที่เจือปนเคมี

มาก ช่วงเวลาที่ป่วยเปิดฟังค าสอนของ

ในหลวงรัชกาลที่ 9 ฟั งทั้งเพลง ฟั งทั้ง

ค าสอนและฟังการท าเกษตรผสมผสานและ

ก็ค่อยๆ ปรับน ามาใช้โดยให้เด็กๆ ช่วยเพราะ

ร่างกายยังไม่ดีรักษาอยู่เป็นปีแต่ด้วยใจที่มี

พลังศรัทธาจึงมีใจที่ท าได้จนมาถึงทุกวันนี้

ก็ได้รู้ว่าค าตอบของชีวิต คือการสร้างความ

มั่นคงทางด้านอาหารในพื้นที่ให้สมบูรณ์

ที่สุดเท่าที่จะท าได้เพราะคือความยังยืนที่ ่

แท้จริง

-วัสดุหาได้ตามท้องถิ่น

- เป็นผลิตภัณฑ์ที่ตลาดต้องการ

- เข้าร่วมโครงการ 200 มื้อ 2020 ปั่น ปลูก เปลี่ยน

-คนในชมชุนมีงานท า

- มีหน่วยงานหลายหน่วยงานที่สนับสนุนส่งเสริม

เป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ การท าดินเพาะปลูกต้นไม้ เกษตรอินทรีย์ ปุ๋ยคอก

ปุ๋ยน ้า และเกษตรผสมผสาน เป็นภาคีเครือข่ายที่ให้ความร่วมมือสนับสนุน

การจัดกิจกรรมของ กศน.ต าบลคันโช้ง เป็นอย่างดี

35/1 หมู่ที่ 1 ต าบลคันโช้ง

อ าเภอวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก 65160

082-6184081

082-6184081

Phitsmai Sirkraw

การท าเกษตรแบบผสมผสาน

นางสาวพิศมัย ศรีแก้ว

44

สาขา ศิลปหัตถกรรม

ชื่อครูนายบรรลือศักดิ์ ปานมี

กศน.ต าบลท้อแท้

อ.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 083-1662559

น าง ช้วน พูล ห น่ าย บ้าน เ ลขที่ 89

ห มู่ ที่ 2 ต าบ ล ท้อ แ ท้ อ าเ ภอ วัด โ บ ส ถ์

จังหวัดพิษณุโลก ได้เริ่มประกอบอาชีพ

ง า น จัก สา น ไ ม้ไ ผ่ ตั้ง แ ต่ ปี พ . ศ . 2555

ผลิตภัณฑ์ประกอบด้วย กระบุง กระจาด

ต ะ ก ร้ า แ ล ะ ผ ลิ ต ภัณ ฑ์ จัก ส า น ไ ม้ ไ ผ่

ตาม ยุคสมัยที่ได้รับการตอบรับจากผู้บริโภค

ปัจจุบันสินค้าที่ได้รับความนิยม คือ ตะกร้า

จากไม้ไผ่ ตะกร้าจากเส้นพลาสติก และ

ไ ม้ก ว า ด ด อ ก ห ญ้า เ ป็ น สิ น ค้ า เ พิ่ม ขึ้น

แ ล ะ เ ป็ น วิ ท ย า ก รใ ห้ ค ว า ม รู้ เ กี่ ยว กับ

ผลิตภัณฑ์จักสานไม้ไผ่ของอ าเภอวัดโบสถ์

เ พื่ อ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก ลุ่ ม หั ต ถ ก ร ร ม

ภูมิปัญญาท้องถิ่น

-วัสดุหาได้ตามท้องถิ่น

- เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ตลาดต้องการ

-คนในชมชุนมีงานท า

- มีหน่วยงานหลายหน่วยงานที่สนับสนุนส่งเสริม

เป็ นวิทยากรถ่ายทอดความรู้ งานศิลปะประดิษฐ์ เป็ นภาคีเครื อข่ายที่ให้

ความร่วมมือสนับสนุนการจัดกิจกรรมของ กศน.ต าบลท้อแท้ เป็ นอย่างดี

89 หมู่ที่ 2 ต าบล ท้อแท้ อ าเภอวัดโบสถ์

จังหวัดพิษณุโลก 65160

087-5718739

087-5718739

นางช้วน พ

ลหน่าย

การท าไม้กวาดดอกหญ้า

-

45

สาขา เกษตรกรรม

ชื่อครูนางสาวอรัญญา ปัญญาญาณ

กศน.ต าบลท่างาม

อ.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 062-3699336

นายทองอยู่ อุ่นวงค์ เป็ นเกษตรกร

ต้นแบบ และได้รับการถ่ายทอดความรู้

ในการท าการเกษตรแบบผสมผสาน และ

การปูกผักปลอดสาร และเป็ นพื้นที่ต้นแบบ

สร้างเครือข่ายผู้น าการพัฒนาคุณภาพชีวิต

ตามหลักทฤษฎีใหม่รูปแบบประยุกต์

ในแต่ละวัน ลุงทองอยู่จะใช้ชีวิตอยู่แต่ในสวนอย่างมีความสุข ใช้พื้นที่ได้อย่าง

คุ้มค่า ท าให้เกิด มูลค่าเพิ่มพูน กลายเป็ นรายได้เพื่อเลี้ยงดูครอบครัว ลุงทองอยู่

คิดเสมอว่า อาชีพเกษตรนั้น เมื่อลงมือท าไปแล้ว ใช่จะปล่อยทิ้งปล่อยขว้างไป

ได้แต่ว่าต้องหมั่นดูแลเอาใจใส่ การท าเกษตรผสมผสานหมุนเวียนของ

ลุงทองอยู่ยังสามารถ ช่วยให้ชาวบ้านสามารถใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุด

สามารถลดรายจ่ายในการซื้อวัตถุดิบในการประกอบอาหาร มีความมั่นคง

ทางด้านรายได้อย่างต่อเนื่องจากการ ขายผลผลิตทางการเกษตร มีความมันคง ่

และมีอิสระในการใช้ชีวิต ลดการพึ่งพาจากภายนอก

เป็ นวิทยากรในการถ่ายทอดให้ความรู้ ด้านการจัดกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง

ให้กับ กศน.อ าเภอวัดโบสถ์ รวมถึงหน่วยงานอื่น เช่น กรอ.มน และประชาชน

ที่เข้ารับการศึกษาดูงาน

33 ม.11 ต าบลท่างาม อ าเภอวัดโบสถ์

จังหวัดพิษณุโลก65160

081-6052974

-

ทองอยู่ อุ่นวงค์

นายทองอย่ อ

่นวงค์

การท าเกษตรแบบผสมผสาน

46

สาขา พาณิชยกรรมและบริการ

ชื่อครูนางสาวชลิกา ศรีวงศ์

กศน.ต าบลบ้านยาง

อ.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 09-4624-5465

น าง สาวด วง น ภ า ภู่ท อ ง มี อ าชี พ

เกษตรกรรม ท าไร่ ท านา ท าสวน สนใจใน

อาชีพค้าขายเนื่องจากมีรายได้ทุกวันเมื่อ

มาสมัคร เรียน กศน . ในระดับมัธยมศึกษา

ตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายได้เริ่มเข้า

ฝึ กอบรมกลุ่มอาชีพกับ กศน. ท าให้เกิดความ

สนใจในอาชีพค้าขายมากยิ่งขึ้น โดยเริ่ม

ประกอบอาชีพขายของเก่า การท ามะม่วง

น ้าดอกไม้ส่งต่างประเทศ การขายแมลงทอด

จนเริ่มสนใจการท าขนมเบเกอรี่ โดยเริ่มท า

จากเล็กๆ น้อยๆ ขายพอได้ ก าไร แล้วขยาย

การผลิตมากยิ่งขึ้น เพื่อให้มีรายได้เลี้ยง

ตัวเองและครอบครัวได้ปัจจุบันท าขายเอง

และท าส่งร้านค้า

นางสาวดวงนภา ภู่ทอง เป็ นภูมิปัญญาที่มี ความพยายามในการเรียนรู้

ในการท าขนมเบเกอรี่ โดยเริ่มจากการท าขายช่วงแรกๆ มีขนม เบเกอรี่ไม่กี่ชนิด

ท าพอขายได้ มีก าไรเล็กน้อย ต่อมาได้เข้ารับการอบรมกิจกรรม ต่างๆ

กับกศน.อ าเภอวัดโบสถ์และเข้าอบรมตามโครงการ Young Smart Farmer

ของเกษตรอ าเภอวัดโบสถ์ เมื่อได้เข้ารับการอบรม ก็มีการพัฒนาฝี มือการ

ท าขนมเบเกอรี่ของตัวเอง ได้ หลายอย่างมีความ หลากหลาย มีรสชาติที่ถูกปาก

ถูกใจ ของลูกค้ามากยิ่งขึ้น สามารถจ าหน่ายเป็ นรายได้หลักของตนเอง สามารถ

เลี้ยงดูครอบครัวได้เป็ นอย่าง ดี นอกจากการประกอบอาชีพท าขนมเบเกอรี่ขาย

จนประสบความส าเร็จ ยังสามารถเรียนรู้จนสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับ

ผู้สนใจทัวไปที่จะ ่ เรียนรู้ได้การสอนให้กับผู้สนใจก็สอนจนกว่าจะเข้าใจและ

ท าได้ ไม่จ ากัดเวลาสอน และไม่จ ากัดชัวโมงสอน หากผู้ ่ สนใจต้องการเรียนรู้

จะสอน จนกว่าจะท าเป็ น ท าให้ได้รับความชื่นชมจากผู้เรียนเป็ นอย่างยิ่ง

1. เป็ นวิทยากรสอนอาชี พการท าไข่เค็มจากเกลื อโบราณให้กับ

กศน.อ าเภอวัดโบสถ์

2. เป็ นวิทยากรสอน การท าขนมเค้กกล้วยหอมและขนมปุยฝ้ายให้กับ

กศน.อ าเภอวัดโบสถ์

3. เป็ นวิทยากรสอนดิจิทลัชุมชนเรื่ องการขายของออนไลน์ให้กับ

กศน.อ าเภอวัดโบสถ์

4. เข้าร่วมกิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง ที่ กศน.อ าเภอวัดโบสถ์ด าเนินการจัด

219 ม.3 บ้านน ้าหัก ต าบลบ้านยาง

อ าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก65160

08-3043-7569

ดาว

ขุนทรัพย์

การท าขนมและเบเกอรี่

นางสาวดวงนภา ภ่ทอง

47

- เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ต้องการทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ

- คนในชมชุนมีงานท า

- มีหน่วยงานหลายหน่วยงานที่สนับสนุนส่งเสริม

- เกียรติยศแห่ งความส าเร็ จและความภาคภูมิใจ ของคุณพ่อสมชาย

คือ เกษตรกรดีเด่น สาขาอาชีพท าสวนประจ าปี 2564

- คุณพ่อสมชายได้รับเชิญให้เป็ นวิทยากรด้านการท าสวนไม้ผลทั้งของภาครัฐ

และเอกชน

- ด้านการขยายพันธุ์มะม่วง มีความรู้เรื่องกระบวนการเพาะปลูก ดูแลสภาพ

ดินฟ้าอากาศ ศัตรูของพืชสวน โรคแมลงต่างๆ มีภูมิปัญญาในการแก้ไข

ปัญหาได้

เป็ นวิทยากรถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับด้านการเพาะปลูกมะม่วง ด้านการท า

สวนผลไม้ ด้านการดูแลรักษา และด้านการก าจัดศัตรู ของพืชสวน โดย

ได้น าเอาเทคโนโลยีมาพัฒนาอุปกรณ์ในการล าเรี ยบและคัดแยกมะม่วง

เพื่อเป็ นการลดขั้นตอนการปฏิบัติงานพร้อมกับเป็ นการถนอมผมไม้โดยตรง

ชื่อครูนางสาวปรางทิพย์ มาทัพพงษ์

กศน.ต าบลหินลาด

อ.วัดโบสถ์ จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 094-709-8154

คุ ณ พ่ อ ส ม ช า ย มี ถิ่น ก า เ นิ ด

ภูมิล าเนาอยู่ที่จังหวัดนครสวรรค์ ย้ายติดตาม

คู่ชีวิตกลับมาประกอบอาชีพด้านเกษตร

ในพื้นที่ หมู่ที่ 7 บ้านท่าปากห้วย(หินลาด)

คุณพ่อสมชาย มีโอกาสได้กลับไปเยี่ยมญาติ

แล้วได้พูดคุยปรึ กษาหารื อกับพรรคพวก

เรื่องการท ามาหากิน ด้วยคุณพ่อมีอาชีพเดิม

คือ รับซื้อมะม่วงจากชาวสวน เพื่อไปส่งต่อ

ที่ตลาด นั้นจึงเป็ นจุดเริ่มต้น คุณพ่อต้องการ

ต่อยอดจากที่ต้องออกไปรับจากชาวส่วน

คุณพ่อจึงหันมาศึกษาการเพาะปลูกมะม่วง

ด้วยตนเอง แล้วปัจจุบันก็ได้เป็ นตัวแทน

ส่งออกมะม่วงหลายประเทศ

7 หมู่ที่ 7 บ้านท่าปากห้วย ต าบลหินลาด

อ าเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก 65160

081-887-2818

081-887-2818

สมชาย คะเชนทรภักดิ์

สาขา เกษตรกรรม

การเพาะพันธ์

มะม่วงน ้าดอกไม้

นายสมชาย คะเชนทรภักดิ์

48

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือ

นางล าพ

น สีวิสิทธิ์

ชื่อครู นางปรานาจ บุญจันทร์

กศน.ต าบลนครไทย

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์: 098-748-8568

ชาวบ้านหม่ 8 บ้านน ้าพาย ู

มีการร่วมกล่มอาชีพ ท าการทอผ้าุ

เมื่อว่างเว้นจากการท าการเกษตร

ซึ่งเป็ นอาชีพหลัก มีการรวมกล่มกันุ

ท างานหัตถกรรมประเภทการทอผ้า

เพื่อเป็ นการสร้างอาชีพเสริมให้กับ

ครอบครัวและการอนุรักษ์การทอผ้าใน

ชุมชนไว้ให้กับลูกหลาน มีการสอนการ

ทอผ้าให้แก่บุคคลทั่วไปที่สนใจและ

จ าหน่ายผลิตภัณฑ์เป็ นได้เสริมของคน

ในชุมชน

1. เป็ นการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนใช้เวลาว่างหลังจากการเก็บเกี่ยว

ผลผลิตทางการเกษตร รวมกล่มกันทอผ้าพื้นเมืองุ

2. สร้างรายได้เสริมให้แก่สมาชิกในชุมชน สร้างอาชีพ

3. เป็ นกิจกรรมที่สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้กับคนร่นใหม่ มีการใช้ ุ

วัสดุจากธรรมชาติ

1. ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัย

2. เป็ นวิทยากรให้ความร้โครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

บ้านเลขที่ 72 หม่ 8 ต.นครไทยู

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก 65120

081-605-0404

-

-

49

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมัดหมี่

นางล าเพ็ญ ทองค า

ชื่อครูนางบัวเรือน บุญธรรม

กศน.ต าบลบ่อโพธิ์

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์: 086-216-7284

การทอผ้าเป็ นศิลปะอย่างหนึ่ง

ที่คนไทยร่นปัจจุ ุบันต้องช่วยกัน

อนุรักษ์ไว้ ในสมัยก่อนนั้น ผ้หญิงไทย ู

จะท าเครื่องใช้ต่างๆในบ้านเอง

งานส าคัญอย่างหนึ่งคือ การท าเสื้อผ้า

เครื่องน่งห่ม ไว้ใช้ในครอบครัว และุ

ใช้ในพิธีกรรมต่างๆ เกี่ยวกับการเกิด

การบวช การแต่งงาน จนไปถึงการตาย

ผ้าทอจึงเป็ นสิ่งจ าเป็ นส าหรับชีวิตคน

ไทย จึงมีการรวมกล่มกันของผุ้ท าผ้าู

มัดหมี่ และได้รับการสนับสนุนจาก

หน่วยงานขององค์การบริหารส่วน

ต าบลบ่อโพธิ์และกศน.อ าเภอนครไทย

มาถึงปัจจุบัน

1. ผ้าที่ได้จากการมัดย้อมสีธรรมชาติ มีการสร้างสรรค์ลวดลายให้สวยงาม

2. มีการทอลายขึ้นดอกตามที่มัด เช่น ลายดอกจ าปา ลายดอกปี บ ลายช้าง

และลายบ่อเกลือ

3. เป็ นผ้าพื้นเมืองที่เป็ นลายเอกลักษณ์ของจังหวัดพิษณุโลก

บ้านเลขที่ 19 หม่ 10 ต.บ่อโพธิ์ ู

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก 65120

086-216-3284

-

-

1. ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

2. เป็ นวิทยากรให้ความร้ผ้าทอมือู

3. เป็ นแหล่งเรียนร้ของ กศน.ต าบลบ่อโพธิ์ู

50

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

การท าไม้กวาดดอกหญ้า

นายจต

พงษ์ แสงส

ชื่อครู นายจักรภพ เจียมเกตุ

กศน.ต าบลนครชุม

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์: 082-613-8885

ชาวบ้านมีอาชีพหลักคือ ท านา

สามารถท าได้เพียงปี ละ 1 ครั้งเท่านั้น

ดังนั้น จึงต้องมีการหาอาชีพเสริมให้กับ

ตนเองระหว่างว่างเว้นจาการท านาท าไร่

ในอดีตมีการทอผ้าลายพื้นถิ่น แต่ไม่

สามารถจ าหน่ายได้เพราะขาดช่องทาง

การตลาด ชาวบ้านจึงผลิตเพื่อใช้ใน

ครัวเรือนของตนเอง

ในปัจจุบันชาวนาท่งใหญ่ หันมาท า ุ

ไม้กวาดดอกหญ้าเพื่อจ าหน่าย เพราะหา

วัสดุได้ง่ายตามท้องถิ่นและสามารถ

จ าหน่ายได้ สร้างอาชีพสร้างรายได้ให้กับ

ตนเองและครอบครัวได้เป็ นอย่างดี

1. เป็ นการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนใช้เวลาว่างหลังจากการเก็บ

เกี่ยวผลผลิตทางการเกษตร โดยการรวมกล่มกันท าไม้กวาดดอกหญ้า ุ

2. สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการถ่ายทอดเทคนิคความร้จากรู่นสุ่รู่นุ

บ้านเลขที่ 129 หม่ 1 ต.นครชู ุม

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก 65120

089-223-6387

089-223-6387

-

1. ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

2. เป็ นวิทยากรให้ความร้โครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

3. ภาคีเครือข่ายโครงการศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

51

เฉพาะรูปภาพ

ผลิตภัณฑ์

ไม่น้อยกว่า 500 MB

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

ผลิตภัณฑ์ผ้าทอมือ

นางลอยชาย จันดาวงษ์

ชื่อครู นายบวรฉัตร คนว้อง

กศน.ต าบลน ้าก่มุ

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์: 081-391-2085

ประชาชนในพื้นที่ต าบลน ้าก่ม ุ

มีการรวมกล่มอาชีพทอผ้า ุเมื่อว่างเว้น

จากการท าการเกษตร ซึ่งเป็ นอาชีพ

หลัก ส าหรับเป็ นรายได้เสริมควบค่กับู

การอนุรักษ์ความเป็ นไทย

และสิ่งแวดล้อม ซึ่งในปัจจุบันผ้าทอมือ

เป็ นที่นิยมกันมากของตลาดทั้งใน

ระดับต าบล อ าเภอ และจังหวัด

ทั้งยังมีแนวโน้มความต้องการเพิ่ม

สูงขึ้นเรื่อยๆ ปัจจุบันสามารถผลิต

สินค้าได้ตามที่ลูกค้าต้องการ

ผ้าทอมือก่อให้เกิดรายได้ในชุมชนและ

ชุมชนเกิดความเข้มแข็งต่อไป

1. ใช้วัสดุจากธรรมชาติ เส้นฝ้ายน ามาทอมือ เป็ นผ้าฝ้าย และสีจาก

ธรรมชาติ คือ สีที่ได้จากเปลือกไม้

2. มีการสร้างสรรค์ลายเอกลักษณ์ของท้องถิ่น คือ ลายขิด และ ลายดอกปี บ

บ้านเลขที่ 42 หม่ 2 ต.น ้ากู่มุ

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก 65120

083-304-4951

083-304-4951

-

1. ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัย

2. เป็ นวิทยากรให้ความร้โครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

3. ภาคีเครือข่ายโครงการศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

4. เป็ นแหล่งเรียนร้ของ กศน.ต าบลน ้ากู่มุ

52

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

ผลิตภัณฑ์ตะกร้าจากเชือกมัดฟาง

นางทองเมี้ยน พลสอนดา

ชื่อครูนางสุมาลี แสงบุดดี

กศน.ต าบลยางโกลน

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์: 095-492-1834

ชาวบ้านหม่ 1 บ้านกกกระบาก ู

มีการรวมกล่มอาชีพ ท าการถักุ

ตะกร้าจากเชือกมัดฟาง เมื่อว่างเว้น

จากการท าการเกษตรซึ่งเป็ นอาชีพ

หลัก พอว่างก็จะมีการรวมกล่มุกันท า

ตะกร้าจากเชือกมัดฟางเพื่อสร้าง

อาชีพเสริม สร้างรายได้ให้กับ

ครอบครัว และเป็ นการอนุรักษ์ภูมิ

ปัญญาของชุมชนไม่ให้สูญหาย

มีการสอนการถักตะกร้าจากเชือกมัด

ฟางให้แก่บุคคลทั่วไปที่สนใจ และ

จ าหน่ายเป็ นเป็ นผลิตภัณฑ์สร้าง

รายได้ให้แก่ชุมชน

1. เป็ นการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนใช้เวลาว่างหลังจากการเก็บเกี่ยว

ผลผลิตทางการเกษตร โดยการรวมกล่มกันท าตะกร้าจากเชือกมัดฟางุ

2. สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการถ่ายทอดเทคนิคความร้จากรู่นสุ่รู่นุ

3. ใช้วัสดุจากธรรมชาติ ใช้ทักษะฝี มือและความคิดสร้างสรรค์

บ้านเลขที่ 53 หม่ 1 ต.ยางโกลน ู

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก 65102

095-634-7580

-

-

1.ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัย

2.เป็ นวิทยากรให้ความร้โครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

3. ภาคีเครือข่ายโครงการศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

53

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

น ้าพริกด า น ้าพริกตาแดง พริกแกง

นางสาวน ้าค้าง วงค์วะดี

ชื่อครู นายวีรวัฒน์ บุญจอม

กศน.ต าบลหนองกะท้าว

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์: 063-161-9392

กล่มน ้าพริกด า น ้าพริกตาแดง ุ

พริกแกง บ้านป่ าสัก หม่ 15 จัดตั้งู

โดย นางอบเชย บางศรี โดยมีสมาชิก

กล่ม 22 คน เดิมทีเป็ นกลุ่มชมรมออกุ

ก าลังกายผ้สู ูงอายุ โดยได้รับการ

สนับสนุนจาก กศน.อ าเภอนครไทย

เปิ ดกล่มสนใจ ฝึ กทักษะอาชีพการท าุ

น ้าพริก และได้มีการผลิดน ้าพริก

จ าหน่ายทั้งปลีก - ส่ง ตามท้องตลาด

จนถึงปัจจุบัน

1. เป็ นการสืบทอดภูมิปัญญาการท าน ้าพริก สูตรของท้องถิ่น ใช้วัตถุดิบ

จากครัวเรือน ผักปลอดสารพิษ

2. สมาชิกสามมารถสร้างรายได้ให้กับตนเอง และครอบครัวได้เป็ นอย่างดี

3. สามารถถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับคนร่นหลังได้สืบทอดต่อไปุ

บ้านเลขที่ 35/1 หม่ 10 ต.หนองกะท้าว ู

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก 65120

084-516-8830

084-5168830

-

1. ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

2. เป็ นวิทยากรให้ความร้โครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

3. ภาคีเครือข่ายโครงการศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

54

สาขาการแพทย์แผนไทย

สม

นไพรยาส้า

ชื่อครูนางสาวธิติมาภรณ์ ปักษา

กศน.ต าบลนาบัว

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์: 084-688-2015

“พืชสมุนไพร เป็ นสิ่งที่อย่คู่คนไทยู

มานับพันปี แต่เมื่อการแพทย์แผนปัจจุบัน

เริ่มเข้ามามีบทบาทในบ้านเรา สรรพคุณ

และคุณค่าของสมนไพรอันเป็ นสิ่งที่เรียกุ

ได้ว่าภูมิปัญญาโบราณก็เริ่มถูกบดบังไป

เรื่อย ๆและถูกทอดทิ้งไปในที่สุด”

ปัจจุบันเยาวชน นักเรียน นักศึกษา

ได้ตระหนักถึงความส าคัญของยาสมุนไพร

ไทยจึงได้ ศึกษาและสืบทอดต ารับยา

พื้นบ้าน ของชาวต าบลนาบัวขึ้น ที่ร้จักกันู

โดยทั่วไป คือ “ยาส้า” หรือ “ยาผง”

โดยมีนายกาย แสงคะนิจ เป็ นต้นต ารับ

โดยสืบทอด มาจากป่ ยาตายายมาจนถึงู

ปัจจุบัน

1. การรักษาโรคและการดูแลสุขภาพมักสอดคล้องกับธรรมชาติและ

สภาพแวดล้อม

2. มีการถ่ายทอดกันจากร่นสุ่รู่น สืบสานมาเป็ นวัฒนธรรมและประเพณีุ

3. สามารถเชื่อมโยงการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ด้านการรักษาโรคและการ

ดูแลสุขภาพ กับความ หลากหลายทางชีวภาพได้

1. ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

2. เป็ นปราชญ์ชาวบ้านที่ถ่ายทอดความร้ด้านประเพณี วัฒนธรรมู

ในท้องถิ่น ให้กับนักศึกษา กศน.

บ้านเลขที่ 49 หม่ที่ 6 ต.นาบัว ู

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก 65120

088-161-5893

088-161-5893

-

นายพีระพล เจริญสุ

55

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

นางอ่อน ส

ทธิ

ครูนายอรรถพันธ์ เบ็งยา

กศน.ต าบลเนินเพิ่ม

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ : 095-515-0144

กล่มไม้กวาดดอกหญ้ากวาดดอก ุ

หญ้าบ้านเนินตูม เริ่มด าเนินการจัดตั้ง

กล่มโดย นางอ่อน สุ ุทธิ เมื่อวันที่ 17

กมภาพันธ์ พ.ศ. 2544 โดยแรกๆ ุ

มีสมาชิกกล่ม 7 คน ุหลังจากนั้นก็มี

กล่มแม่บ้านเกิดความสนใจกันมากขึ้น ุ

รวมถึง 28 คน จึงได้จัดตั้งเป็ นกล่มุ

วิสาหกิจชุมชนกล่มท าไม้กวาดดอกุ

หญ้าบ้านเนินตูมขึ้น ในปี พ.ศ.2548

และได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน

ภาคีเครือข่ายต่างๆ ทั้งหน่วยงานของ

องค์การบริหารส่วนต าบล และ กศน.

อ าเภอนครไทยเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน

1. เป็ นการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนใช้เวลาว่างหลังจากการเก็บ

เกี่ยวผลผลิตทางเกษตร โดยการรวมกล่มกันท าไม้กวาดดอกหญ้า ุ

2. สร้างรายได้และอาชีพให้แก่สมาชิกในชุมชนสร้างงานสร้างอาชีพ

3. เป็ นการสืบสานภูมิปัญญาให้คนร่นใหมุ่

1. ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

2. เป็ นวิทยากรให้ความร้โครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

บ้านเลขที่ 59 หม่ที่ 12 ต.เนินเพิ่ม ู

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก 65120

084-318-4335

084-318-4335

-

56

สาขา ศาสนาและประเพณี

ชื่อครูนางวรัชญานันท์ เจียมเกตุ

กศน.ต าบลบ้านพร้าว

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 089-658-3888

ประเพณีบุญบั้งไฟ บ้านป่ าซ่าน ได้ปฏิบัติ

สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษเป็ นเวลา

ยาวนาน เพื่ออนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี

ท้องถิ่น โดยมีความเชื่อว่าเมื่อถึงวันออก

พรรษาเป็ นช่วงที่ใกล้ฤดูกาลเก็บเกี่ยว

ผลผลิต จึงได้ท าบั้งไฟ น าไปจุดเพื่อเป็ นการ

บอกกล่าวองค์พระยาแถน ท าให้ฝนหยุดตก

เพื่อมิให้ผลผลิตเสียหาย เพื่อเป็ นการบอก

กล่าวขอบคุณเทวดาและองค์พระยาแถนที่

ท าให้ฝนตกต้องการฤดูกาล ท าให้สัตว์โลก

ทั้งหลายมีน ้ากิน น ้าใช้ นาข้าว พืชไร่ พืช

สวนเจริญงอกงาม อุดมสมบูรณ์ และเป็ น

การเสี่ยงทายว่า ถ้าผ้ใดท าบั้งไฟไปจู ุดขึ้นดี

ในรอบปี ตนเองและครอบครัวก็จะมีแต่

ความสุขความเจริญร่งเรือง ุ

097-274-5810

1. มีการจัดประกวดการท าบั้งไฟและจัดขบวนแห่บั้งไฟ

2. เป็ นการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมให้คนร่นใหมุ่

3. เป็ นการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่น

ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัย

บ้านเลขที่ 68 หม่ที่ ู 3 ต.บ้านพร้าว

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก65120

097-274-5810

-

ประเพณีบ

ุญบั้งไฟ

นายสมาน โพธิ์ปลัด

57

สาขา ศาสนาและประเพณี

ประเพณีประสาทผึ้ง

ชื่อครูนางสาวเสาวรส แก้วบัวดี

กศน.ต าบลห้วยเฮี้ย

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์: 064-548-8212

ประเพณีท าบุญประสาทผึ้ง ถือว่าเป็ น

การร่วมสืบทอดประเพณีอันงดงามของ

ต าบลห้วยเฮี้ย จะท าขึ้นในเดือนเมษายน

ของทุกปี หรือหลังวันสงกรานต์มีก าหนด

วันที่ 17-18 เมษายนเป็ นประจ าทกปีุ

ประสาทผึ้งนั้นท ามาจากไผ่สาน

เป็ นประสาท ตกแต่งด้วยดอกไม้ที่ได้มา

จากขี้ผึ้งที่หลอมด้วยความร้อน ชาวบ้าน

จะช่วยกันท าเพื่อสร้างความสามัคคี ความ

รักใคร่ปรองดองของคนในชุมชน และเป็ น

การสืบทอดประเพณีวัฒนธรรมไว้ให้คน

ร่นหลังุ

1. เป็ นการสร้างความสามัคคี รักใคร่ปรองดองให้คนในชุมชน

2. เป็ นการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่นให้คงอยู่

3. เป็ นการสืบสานภูมิปัญญาให้คนร่นใหมุ่

1. ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

2. เป็ นปราชญ์ชาวบ้านที่ถ่ายทอดความร้ด้านประเพณี วัฒนธรรม ในู

ท้องถิ่น ให้กับนักศึกษา กศน.

บ้านเลขที่ 33 หม่ที่ ู 9 ต.ห้วยเฮี้ย

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก 65120

082-940-5430

-

-

นายสังวาลย์ ส

ดแก้ว

58

เฉพาะรูปภาพ

ผลิตภัณฑ์

ไม่น้อยกว่า 500 MB

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

ผลิตภัณฑ์ล

กประคบสม

นไพร

นางขันทอง ภักดี

ชื่อครู นางสุปรียา บุญวงค์

กศน.ต าบลบ้านแยง

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์: 087-888-5944

ลูกประคบ คือ สิ่งทีเกิดจาก

ภูมิปัญญาจากบรรพบุรุษ ที่ใช้พืช

สมุนไพรที่มีอย่ในท้องถิ่น น ามาใชู้

ในการรักษา หรือเพื่อช่วยในการ

ไหลเวียนของโลหิต ต่อมาก็ได้มีการ

ปรับปรุงและพัฒนาลูกประคบ

เรื่อยมา เพื่อประโยชน์ในการรักษาที่

มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

เป็ นการใช้สมุนไพรหลายๆชนิดมารวมกัน เป็ นสมุนไพรที่มีน ้ามัน

หอมระเหย มีกระบวนการนึ่งให้ร้อนประคบบริเวณปวดหรือเคล็ดขัด

ยอก ช่วยให้กระต้นระบบไหลเวียนโลหิต เป็ นศาสตร์แห่งการคิดค้นทีุ่

เป็ นภูมิปัญญาที่สืบทอดมาแต่บรรพบุรุษ เพื่อใช้ประโยชน์ในการรักษา

อาการเคล็ดขัดยอก ปวดเมื่อย คลายความเหนื่อยล้าของร่างกาย

บ้านเลขที่ 504 หม่ 4 ต.บ้านแยง ู

อ.นครไทย จ.พิษณุโลก 65102

088-424-9714

-

-

1. ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

2. เป็ นวิทยากรให้ความร้โครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

3. ภาคีเครือข่ายโครงการศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

59

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

กล้วยตากมะลิอ่อง

นางอารมณ์ นาคเที่ยง

ชื่อครูนางสาวสมพงษ์ ทับทิมทอง

กศน.ต าบลบางระก า

อ.บางระก า จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์: 08 9643 4096

ในท้องถิ่นมีการปลูกกล้วยน ้าหว้ากันเกือบ

ทุกบ้าน เพื่อไว้บริโภค ซึ่งได้มีการน ามา

ท าการถนอมอาหาร โดยการตากแดด และ

มีการพัฒนาท าต้อบกล้วยด้วยพลังงานู

แสงอาทิตย์ มีการจ าหน่ายในพื้นที่ และ

มีการขยายตลาดออกไป จึงมีการรวมกล่มุ

กันมีลูกสวนปลูกกล้วยน ้าหว้ามะลิอ่อง

เพื่อส่ งให้ กับกล่ มุเพื่อท าการแปรรูป

เป็ นกล้วยตาก และต่อมาได้พัฒนาเป็ น

กล้วยม้วน กล้วยตากเคลือบช็อคโกแลต

จนได้รับคัดสรรเป็ นผลิตภัณฑ์ OTOP

เป็ นการถนอมอาหารและการแปรรูปจากกล้วยน ้าหว้ามะลิอ่อง การท ากล้วย

ตากพลังงานแสงอาทิตย์ กล้วยม้วน และกล้วยเคลือบช็อคโกเลต จนได้รับ

คัดสรรเป็ นผลิตภัณฑ์ OTOP และได้รับรางวัลแห่งความส าเร็จมากมาย

เป็ นแหล่งเรียนร้ภู ูมิปัญญาท้องถิ่น ส าหรับผ้ที่สนใจมาศึกษาดู ูงาน

เริ่มจากการเรียนร้กิจกรรมโครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน และพัฒนาต่อยอด

สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆขึ้นกันมาเรื่อยๆจนเป็ นที่นิยมและร้จักของผู้บริโภคู

เรียนร้การท าเพจของสินค้า เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจ าหน่ายให้กว้างขึ้นู

ร่วมออกงาน จัดบูธจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ และเป็ นของฝาก ตามที่ กศน.เสนอ

14 ม. 5 บ้านตะโม่ ต.บางระก า

อ.บางระก า จ.พิษณุโลก

08 6211 3995

0862113995

เจ๊ม่วย กล้วยตากมะลิอ่อง

60

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

การแปรร

ปผลิตภัณฑ์จากปลา

นางวาสนา ออมสิน

ชื่อครูนายสุทัศน์ ศิริโชติ

กศน.ต าบลชุมแสงสงคราม

อ.บางระก า จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 09 4627 9922

ปลาเป็ นแหล่ งอาหารโปรตีน ที่มีราคาถูก

ที่คนทุกวัยต้ องบริโภคและหาซื้ อได้ ง่ าย

การแปรรูปปลาเป็ นอีกทางเลือกของผ้บริโภคู

ที่ไม่ต้องการเฉพาะบริโภคปลาสดอย่างเดียว

การประยุกต์ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการถนอม

อาหารและเทคโนโลยีการแปรรูปสมัยใหม่

เมื่อน ามาผนวกกัน ท าให้ เกิดการแปรรูป

ผลิตภัณฑ์จากปลาที่ง่ายและสะดวกมากขึ้น

เช่น ปลาร้าผง การท าปลาแดดเดียว ในต้อบู

พลังแสงอาทิตย์ ปลาส้ ม ข้ าวเกรียบปลา

โดยไม่ลืมภูมิปัญญาท้องถิ่น

ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากปลา ใช้ วัตถุดิบที่มีคุณภาพ เน้นวัตถุดิบที่มาจากปลา

ธรรมชาติพื้นถิ่น ประยุกต์เทคโนโลยีและภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการสร้างสรรค์

ผลิตสินค้าแต่ละประเภท ไม่ใช้สารเร่งการผลิต

เป็ นแหล่งเรียนร้ภู ูมิปัญญาท้องถิ่น

เริ่มจากการเรียนร้กิจกรรมโูครงการศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน และพัฒนาต่อยอด

สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆขึ้นกันมาเรื่อยๆจนเป็ นที่นิยมและร้จักของผู้บูริโภค

เรียนร้การท าเพจของสินค้า เพื่อเพิ่มูช่องทางการจัดจ าหน่ายให้กว้างขึ้น

ร่วมออกงาน จัดบูธจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ และเป็นของฝาก ตามที่ กศน.เสนอ

7/1 ม. 8 ต.ชุมแสงสงคราม

อ.บางระก า จ.พิษณุโลก 65240

08 94362874

wasana_2519

บ้าน นา ปลา สวน at มีมานะ

61

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

ขนาดตัวอักษร 30 พอยต์ การท าไม้กวาดดอกหญ้า

ตัวนางลอย จิตทอง อักษร 36 พอยต์

ชื่อครูนางสาวสยุมพร บุญอินทร์

กศน. ต าบลพันเสา

อ. บางระก า จ. พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์: 09 9269 1789

ดอกหญ้าไม้กวาด หรือเรียกว่า

“ดอกหญ้าก๋ง” จัดเป็ นพืชล้มลุก

ตระกูลหญ้าที่มีล าต้นตั้งตรง ล าต้น

แตกกอคล้ายกอไผ่ ล าต้นมีลักษณะ

ทรงกลม แบ่งเป็ นข้อปล้องชัดเจน

มีความสูงของล าต้น ประมาณ 3-4

เมตร ขนาดล าต้น ประมาณ 7.5-18

มิลลิเมตร ดอกหญ้าไม้กวาดเป็ นพืช

ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ อย่ตามู

เชิงเขาหรือพื้นที่สูง ส่วนใหญ่จะเก็บ

ได้ในช่วง เดือนธันวาคม-เมษายน

ซึ่งช่ วงที่ดอกออกมากที่สุด จะอยู่

ในช่วงต้น เดือนมกราคม

ในอดีตประชาชนบ้านพันเสา ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพหลัก คือ

การท าเกษตร ท าไร่ ท าสวน แต่มีคนในชุมชนบ้านพันเสา น าความรู้

ความสามารถและทักษะ ในการท าไม้กวาดดอกหญ้า น ามาประกอบอาชีพ

เป็ นการแก้ไขปัญหาการว่างงานและส่งเสริมความเข้มแข้งให้แก่ เศรษฐกิจ

ชุมชนตลอดจน ก าหนดภารกิจที่จะยกระดับการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพ

และขีดความสามารถให้ประชาชนได้มีอาชีพที่ สามารถสร้างรายได้ที่ยั่งยืน

โดยเน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่างๆ เพื่อพัฒนาอาชีพ

และการมีงานท าอย่างมีคุณภาพทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ประชาชนมีรายได้

มั่นคง

จากสภาพสังคมท้องถิ่น ในปัจจุบันพบว่าในแต่ละบ้านเรือนของ

แต่ละชุมชนจะมีวัสดุในท้องถิ่น ซึ่งสามารถน ามาใช้ในการท าไม้กวาดได้

เช่น ก้านมะพร้าว ไม้ไผ่ ดอกหญ้า ก้านจาก เพื่อใช้ในครัวเรือน และ

เพื่อการจ าหน่ายสร้างรายได้ให้กับตนเอง ครอบครัว และใช้เวลาว่างให้เกิด

ประโยชน์

การท าไม้กวาดดอกหญ้า ถือเป็ นการส่งเสริมอาชีพของคน

ในหม่บ้าน มีการรวมกลู ่มกัน ท าไม้กวาดดอกหญ้า สามารถท าเป็ นอาชีพ ุ

หลักและอาชีพเสริม ที่สามารถท าได้ตลอดทั้งปี ท าให้มีความมั่นคง มีรายได้

แน่นอน เด็กนักเรียนใช้เวลาว่างหลังเลิกเรียน วันหยุดและปิ ดเทอม สามารถ

ช่วยพ่อแม่ ผ้ปกครอง ท าไม้กวาด มีรายได้เป็ นของตนเอง ใช้จ่ายส่วนตัวู

เก็บออม ลดภาระของพ่อแม่ ส่วนผ้สู ูงอายุที่ต้องอย่บ้านประจ า มีเวลาู

ท าไม้กวาด มีเพื่อนท า พูดคุย ท าให้ไม่เหงามีรายได้มองเห็นคุณค่าในตัวเอง

ชีวิตมีความสุข

35/1 หม่ที่ 3 บ้านพันเสา ต.พันเสา ู

อ.บางระก า จ.พิษณุโลก

09 9367 4022

-

-

62

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

พริกแกงบ้านย่านใหญ่

นายสวัสดิ์ ก้านเกษ

ชื่อครูน.ส.สุวิมล สวรรค์อ านวย

กศน.ต าบลท่านางงาม

อ.บางระก า จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 08 5053 5406

พริกแกงเผ็ดรสเด็ดสูตรโบราณจึงถือว่า

เป็ นอาชี พท าเงินที่มองข้ ามไม่ ได้ และ

พริกแกงเผ็ดรสเด็ดสูตรโบราณที่นิยมมาก

คือ พริกแกงเผ็ด ซึ่งเป็ นที่นิยมและต้องการ

ของตลาด จึงส่ งเสริมการเรียนหลักสูตร

ก า ร ศึ ก ษ า ต่ อ เ นื่ อ ง ก า ร ท า พ ริ ก แ ก ง

เพื่อการขาย ขึ้น หลักสูตรการท าพริกแกง

( พ ริ ก แ ก ง เ ผ็ ด ) ม่ ง เ น้ น ใ ห้ ผุ้ ที่ ส น ใ จู

เพื่อศึกษาหลักสูตรนี้แล้วสามารถน าไป

ปฏิบัติได้จริง หาได้ง่ายในท้องถิ่น มีต้นทุน

ในการผลิตน้อยและสามารถจ าหน่ายได้ง่าย

สร้างรายได้ให้แก่ชุมชนได้จะเป็ นทางเลือก

ในการประกอบอาชีพให้ แก่คนในชุมชน

อีกทางเลือกหนึ่ง

พริกแกงเผ็ดรสเด็ดสูตรโบราณ สร้ างรายได้ให้ แก่ชุมชน เพื่อให้ชาวบ้าน

มีอาชีพเสริมและเรียนร้ด้านอาชีพผ่านกระบวนการูมีคุณค่าและช่วยพัฒนา

ให้มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ยิ่งๆขึ้นไป

เริ่มจากการเรียนร้กิจกรรมโครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน และพัฒนาต่อยอด

สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ขึ้นมาเรื่อยๆ จนเป็ นที่นิยมและร้จักของผู้บริโภคู

เรียนร้การท าเพจของสินค้า ูเพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจ าหน่ายให้กว้างขึ้น

-

- เป็ นแหล่งเรียนร้ให้กับคนในชู ุมชน ต าบลได้แก่ การฝึ กอาชีพทักษะอาชีพ

- ตามโครงการศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน ของ กศน.อ าเภอบางระก า

กล่มพริกแกงบ้านย่านใหญ่ ุม.8

ต.ท่านางงาม อ.บางระก าจ.พิษณุโลก

65140

08 9857 8050

0898578050

กล่มพริกแกงบ้านย่านใหญ่ ุ

63

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

เสื่อกก บ้านพรสวรรค์

นางวิไลลักษณ์ พิมพ์พวง

ชื่อครูนางนราภรณ์ โพธิ์เกิด

กศน.ต าบลนิคมพัฒนา

อ. บางระก า จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์09 3037 7586

เนื่องจากหม่บ้ านพรสวรรค์ ูมีต้นกก

จ านวนมากจึงได้มีการน าต้นกกมาท าให้เกิด

ปะโยชน์โดย “การทอเสื่อกก” เริ่มมาตั้งแต่

ร่ นปุ่ ย่ า ตายาย โดยสมัยก่ อนชาวบ้ านูมี

อาชีพท านาเป็ นอาชีพหลักซึ่งแต่ก่อนนั้นกก

มีอย่มากตามธรรมชาติ ชาวบ้านนั้นก็น าู

กกมาทอเป็ นเสื่อไว้ใช้ในบ้านเรือน ซึ่งก็ได้

ท าต่อกันมา โดยเฉพาะคนแก่ในหม่บ้านทีู่

ไม่ ได้ ท าการเกษตรได้ ท าการทอเสื่ อใน

ยามว่าง ซึ่งชาวชุมชนหม่ทีู่9 ต.นิคมพัฒนา

อ.บางระก า จ.พิษณุโลก ก็มีค่านิยมทาง

วัฒ น ธ ร ร ม ดั ง เ ช่ น ที่ ก ล่ า ว ม า ดั ง นั้ น

ภูมิปัญญาด้ านทอเสื่ อกกจึงเสมือนภูมิรู้

พื้นบ้าน ที่แต่ละครัวเรือนต้องปลูกฝังให้

ลูกหลานมีความรู้

เป็ นผลิตภัณฑ์ที่สะท้อนความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น

เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ใช้แหล่งวัตถุดิบในชุมชน สามารถหาซื้อง่ายและราคา

เหมาะสม

มีรูปแบบผลิตภัณฑ์ ประณีต และทันสมัย หลากหลาย เช่น

- เสื่อทอ/เสื่อพับ

-กระเป๋ าจากเสื่อกก

- เสื่อที่นอนบุนวม

- ที่รองแก้ว,ที่รองจาน

- สมุดกล่าวรายงาน

-กล่องกระดาษทิชชู

-แจกันดอกไม้

-รองเท้า ฯลฯ

เป็ นแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้คนในชุมชน ต าบล และส าหรับผ้ทีู่

สนใจมาศึกษาดูงาน เช่น การฝึ กทักษะอาชีพตามโครงการศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

ของ กศน.อ าเภอบางระก า

เริ่มจากการเรียนร้กิจกรรมโครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน และพัฒนาต่อยอด

สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ขึ้นกันมาเรื่อย ๆ จนเป็ นที่นิยมและร้จักของผู้บริโภคู

เรียนรู้การท าเพจของสินค้า เพื่อเพิ่มช่องทางการจัดจ าหน่ายให้กว้างขึ้น

ร่วมออกงาน จัดบูธจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ และเป็ นของฝาก ตามที่ กศน.เสนอ

กล่มุทอเสื่อกกบ้านพรสวรรค์

หม่ ู9 ต.นิคมพัฒนา อ.บางระก า

จ.พิษณุโลก 65140

08 7195 2810

0871952810

เสื่อกก บ้านพรสวรรค์ จ.พิษณุโลก

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

64

bmm

สาขาการแพทย์แผนไทย

ชื่อครูนายวราพงศ์ วงษ์กัณหา

กศน.ต าบลบ่อทอง

อ. บางระก า จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์091-8436988

จากการส ารวจความต้ องการข อ ง

ประชาชนในพื้นที่ ชุมชนบ้านกวางอั้น

ต้องการที่จะศึกษาและฝึ กทักษะ

ในอาชีพการท ายาหม่องไพล

ซึ่ ง เป็ นก า ร สื บส าน ภูมิปั ญญา

ท้ องถิ่น จึงท าให้ เกิดวิสาหกิจชุมชน

สมุนไพรบ้านกวางอั้น และตัวสมุนไพร

ส่วนใหญ่สามารถปลูก สามารถน ามาใช้

เป็ นส่ วนผสมต่างๆโดยลดต้นทุนการ

ซื้ อจากท้ องตลาด สามารถใช้ ใน

ชีวิตประจ าวันและสร้ างอาชีพช่ วยใน

ครอบครัวให้มีรายได้

วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรบ้านกวางอั้นเน้นใช้วัตถุดิบที่มาจากชุมชนบ้านกวางอั้น

เป็ นหลัก ทั้งการดูแลเพาะปลูกและการเก็บพืชสมุนไพรตามฤดูการที่มีคณภาพุ

ที่ต้องเลือกคัดสรรเพื่อน ามาผสมเป็ นผลิตภัณฑ์สมนไพรบ้านกวางอั้นอย่างมีุ

คุณภาพ

เริ่มจากการเรียนร้กิจกรรูมโครงการศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน และพัฒนา

ต่อยอดสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆขึ้นอย่างต่อเนื่องจนเป็ นที่ร้จักต่อผู้บริโภคู

เรียนร้การท าเพจของสินค้า เพื่อเูพิ่มช่องทางการจัดจ าหน่ายให้กว้างขึ้น

ร่วมออกงาน จัดบูธจ าหน่ายผลิตภัณฑ์จัดเป็ นของฝาก ของที่ระลึกในนาม

กศน.

88/1 หม่ที่ 5 ูต.บ่อทอง อ.บางระก า

จ.พิษณุโลก 65140

062-3093359

062-3093359

วิสาหกิจชุมชนสมุนไพรบ้านกวางอั้น

นางสาวพนารัตน์ เขียวเขิน

วิสาหกิจช

มชนสม

นไพรบ้านกวางอั้น

65

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

ชื่อครู นางสาวศศิวิมล นกน้อย

กศน.ต าบลหนองกุลา

อ.บางระก า จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 063-941-6653

แ ห้ ว น า เ ป็ น วัช พื ช ช นิ ด ห นึ่ ง

ที่ขึ้นอยู่ในห้วย หนอง นา ในต าบล

ชาวบ้านจึงช่วยกันอนุรักษ์การปลูก

แห้วนาเพราะเป็ นพืชที่หายาก หัวแห้วนา

ซึ่ งชาวบ้านจะขุดหัวแห้วมาท าเป็ น

แป้ งแห้ว เพื่อน ามาไว้แปรรู ปขนม

ในงานพิธีต่าง ๆ และปัจจุบันกลุ่มแม่บ้าน

ได้เป็ นแหล่งรับซื้อแป้งแห้วนา เพื่อน ามา

แปรรู ปจ าหน่ายสู่ท้องตลาด และเป็ น

เ อ ก ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ห มู่ บ้ า น ใ น ต า บ ล

หนองกุลาแห้วนาสามารถจ าหน่ายทั้งใน

รูปแบบแป้งแห้วแล้วยังน ามาแปรรูปเป็น

ขนมวุ้นแห้วนากะทิสดรสชาติหอมหวาน

อร่อย ทานง่าย

เป็ นสัมมาชีพชุมชน ที่คนในต าบลสามารถท า

ได้

- เริ่มจากการเรียนรู้กิจกรรโครงการศูนย์ฝึ กอาชีชุมชน และพัฒนาต่อยอด

สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆขึ้นกันมาตลอดจนเป็ นที่รู้จักต่อผู้บริโภค

ที่ท าการกลุ่มแม่บ้านหนองกุลา ม.4

081-8884-015

081-8884-015

กลุ่มแม่บ้านต าบลหนองกุลา

เป็ นแหล่งเรียนรู้ในการเผยแพร่ ภูมิปัญญาชาวบ้าน

แห้วนาเป็ นพืชถิ่นที่มีอยู่ในต าบลหนองกุลา

เป็ นการแปรรูปผลิตท้องถิ่นให้เป็ นสินค้า OTOP

ระดับต าบล

-ร่วมออกงาน จัดบูธจ าหน่ายผลิตภัณฑ์และเป็ นของฝาก ตามที่ กศน.เสนอ

เริ่มจากการเรียนรู้กิจกรรมโครงการศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

-เรียนรู้การท าเพจของสินค้า เพื่อให้มีช่องทางการจัดจ าหน่ายให้กว้างขึ้น

แป้งแห้วนาส าเร็จร

นางสมพร ค าเสาร์

66

bmm

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

กล่มทอผ้าวันทาผ้าขิต

นางวันทา โกสากล

ชื่อครู นางสาวกาญจนา อย่นิ่มู

กศน.ต าบลบึงกอก

อ.บางระก า จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 089-8582847

นางวันทา โกสากุล ได้เริ่มก่อตั้งการ

ทอผ้า ในปี2541 โดยเป็ นประธานกล่ม ุ

และ มีสมาชิก 40 คนในหม่บ้าน เพื่อใหู้

ชาวบ้านในชุมชนได้ใช้ เวลาว่างมาทอผ้า

เพื่อหารายได้เสริม และได้มีการขายผ้า

ที่กล่มและได้ออกจ าหน่ายสินค้าตามงานุ

ต่างๆ เช่น จังหวัดเคลื่อนที่ อ าเภอเคลื่อนที่

งานกาชาด งานต่ างๆ ผ้ าทอได้ รับการ

คัดสรรเป็ นสินค้าโอท๊อปจาก3 ดาว เป็ น

4 ดาว ยกระดับจนถึงปัจจุบันและได้เป็ น

วิ ท ย า ก ร ข อ ง ห น่ ว ย ง า น อื่ น ห ล า ย

หน่วยงาน เช่น กศน. พัฒนาชุมชน พัฒนา

ฝี มือแรงงาน พัฒนาสั งคม ฯลฯ และ

มีการศึกษาดูงานจากหน่วยงานอื่น

  1. เป็ นผลิตภัณฑ์ที่สะท้อนความเป็ นเอกลักษณ์ของชุมชน
  1. มีการทอผ้าธรรมชาติ ผ้าลายขิต สายฝน ผ้าขาวม้า ผ้ามัดหมี่

โดยการออกบูธ ขายในงานส าคัญต่างๆของจังหวัด

  1. ได้รับการคัดสรรเป็ นผลิตภัณฑ์ OTOP ระดับ 4 ดาว
  1. เป็ นแหล่งเรียนร้ในชู ุมชน ได้แก่ การฝึ กทักษะอาชีพ โครงการศูนย์ฝึ กอาชีพ

ชุมชน ของ กศน.อ าเภอบางระก า

  1. เป็ นแหล่งเรียนร้ภู ูมิปัญญาท้องถิ่น การศึกษาดูงาน งานการศึกษาขั้น

พื้นฐาน

  1. ร่วมออกงาน จัดบูธจ าหน่ายผลิตภัณฑ์ และเป็ นของฝาก ตามที่ กศน.เสนอ

13 ม.6 บ้านคลองเตย

ต.บึงกอก อ.บางระก า จ.พิษณุโลก

0862135219

-

-

67

bmm

สาขาภาษาและวรรณกรรม

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

วัฒนธรรมร่วมใจไททรงด า

นายประช

ม สันติพร้อมวงศ์

นางสาวสุพาพร สีเสือ

กศน.ต าบลวังอิทก

อ.บางระก า จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 095-1926862

ประวัติชาวไทยทรงด า เป็ นกล่มชาติพันธุ์ุ

หนึ่งที่พูดภาษาตระกูลไท เป็ นชนชาติไทย

สาขาหนึ่ง เรียกว่า พวกผ้ไท ซึ่งแบ่งออกู

ตามลักษณะสีของเครื่ องแต่ งกาย เช่ น

ผ้ไทขาวู , ผ้ไทแดง และผู้ไทด า เป็ นต้น ู

ผ้ไทด า นิยมแต่งกายด้วยูสีด า จึงเรียกว่า

“ไทยทรงด า” คนไทยทั่วไปใช้ เรียกคน

ที่อพยพมาจากถิ่นอื่น แต่ชาวไทยทรงด า

ถือตนเองว่าเป็ นชนชาติไทย จึงนิยมเรียก

ตนเองว่า ไทยโซ่ง หรือ “ไทยทรงด า”

การละเล่น การร าฟ้อนแคนในงานสมโภชวิหารหลวงป่ ด า ณ วัดกลางสู ุริยวงศ์

โดยการแต่ งกายในการร าฟ้ อนแคน จะสวมใส่ ชุดไทยทรงด าเป็ นชุด

เสื้อกระดุมเงิน มีสายสะพาย สายคาดเอว ใส่ก าไลข้อมือ ก าไลข้อเท้า

ตามอัตลักณ์ของไทยทรงด า

เป็ นแหล่งเรียนร้ ภู ูมิปัญญาท้องถิ่น ให้กับประชาชน นักเรียนและนักศึกษา

ในชุมชน

บ้านวัดกลางสุริยวงศ์ ม.5 ต.วังอิทก

อ.บางระก า จ.พิษณุโลก

087-7313396

087-7313396

-

68

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

120/3 ม.4 บ้านหนองแขม

ต.ปลักแรด อ.บางระก า จ.พิษณุโลก

089-6932045

089-6932045

นางละอองดาว ปานนิ่ม

กล่มแม่บ้านหนองแขมุ ได้น าผลิตภัณฑ์การท าไข่เค็มดินสอพอง

เข้าร่ วมแสดงในงานต่าง ๆ หลายครั้ง ประสบความส าเร็จ ได้รับรางวัล

แสดงถึงคุณภาพของงาน รางวัลเกียรติคุณส าคัญที่เคยได้รับมีดังนี้

1. ได้รับการคัดสรรเป็ นผลิตภัณฑ์ OTOP ปี พ.ศ. 2549

2. ได้รับเกียรติบัตรรับรองการผลิตที่สะอาดปลอดสารพิษ

ประเภทการถนอมอาหาร

ก ล่ ม แ ม่ บ้ า น ห น อ ง แ ข มุ

ได้เริ่มก่อตั้งอาชีพ การถนอมอาหาร

การท าไข่เค็มดินสอพอง โดยท าเป็ น

อาชีพในครอบครัวก่อนและจึงค่อย

ขยายอาชีพ โดยการก่อตั้งกล่มแม่บ้านุ

เก ษ ต ร ก ร บ้ าน ห น อ งแ ข ม ตั้ งแ ต่

พ.ศ.2543 ถึงปัจจุบัน มีสมาชิกกล่ม ุ

จ านวน 18 คน สถานที่ตั้งกล่มแม่บ้านุ

เกษตรกรบ้านหนองแขม เลขที่ 17/2

หม่ ู4 บ้านหนองแขม ต าบลปลักแรด

อ าเภอบ างระก า จังห วัดพิษ ณุโลก

โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็ นอาชีพเสริม

ให้ กับประชาชนในหม่ บ้ าน จัดเป็ นู

วิ ส า ห กิ จ ชุม ช น แ ล ะ ไ ด้ เข้ า รั บ

การอบรมกับหน่วยงานต่างๆ

กล่มแม่บ้านหนองแขม ได้ให้ความร่วมมือในการจัดุกิจกรรมของ กศน.

ด้านอาชีพ และสนับสนุนวิทยากรให้ความร้ แนะน าด้านอาชีพแก่นักศึกษา ู

กศน. น าผลิตภัณฑ์ ไข่เค็มดินสอพองร่ วมจัดนิทรรศการของ กศน.และ

จัดตั้งเป็ นบ้านหนังสือชุมชนต าบลปลักแรด

ชื่อครู นางสาววรรณศิรา แสนดี

กศน.ต าบลปลักแรด

อ.บางระก า จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 081-0367084

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

กล่มแม่บ้านหนองแขม

นางละอองดาว ปานนิ่ม

69

สาขา ศิลปะการแสดง

วัฒนธรรมประเพณีไทยทรงด า

นายเจษฎา ไหมละออง

ชื่อครูนางสาวกุลนารถ ชูกลิ่น

กศน.ต าบลคุยม่วง

อ.บางระก า จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๒-๗๖๗๔๐-๗๐

ชาวไทยทรงด า ชื่อชนเผ่า ไทยด าหรือ

ไทยทรงด า เรียกตัวเองว่า ลาวโซ่ ง

ช น เ ผ่ า ไ ท ย ด า ห รื อ ไ ท ย ท ร ง ด า

(ลาวโซ่ ง) มีถิ่นก าเนิดอย่ทีู่เมืองแถง

( เ ดี ย น เ บี ย น ฟู) อ ย่ ท าูง ทิ ศ

ตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนาม

ตั้งถิ่นฐานในประเทศไทยประมาณ

๒ ๒ ๗ ปี( นั บ ถึ ง พ . ศ . ๒ ๕ ๕ ๐ )

มีประวัติการอพยพเข้ามาในรัชสมัย

พ ร ะ เจ้ า ก รุง ธ น บุรี พ . ศ . ๒ ๓ ๒๑

ตั้ งถิ่นฐานอย่ ทัู่วไป ประมาณ ๔๐

จังหวัดเพชรบุรีเป็ นเมืองแม่ นอกนั้น

มี อ า ศั ย อ ย่ ที่ ร า ช บู ุรีก า แ พ ง เพ ช ร

พิษณุโลก สุโขทัย เลย ฯลฯ

“สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทยทรงด า” ณ บ้านคุยขวาง ต าบลคุยม่วง

อ าเภอบางระก า จังหวัดพิษณุโลก ส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรม ที่คงเป็ น

เอกลักษณ์ คือ การแต่งกายแบบพิธีการ ชุดหมอเสนผ้ต้าว ชู ุดเขือยงานศพ

ผู้ต้าว ชุดร า ชุดไว้ทุกข์ ส่วนบ้านเรือน เป็ นบ้านมีลักษณะใต้ถุนสูง มีขอกุด

เป็นสัญลักษณ์บ่งบอกชนเผ่า และขอกุดยังบ่งบอกสภาพของเจ้าของบ้านว่า

เป็ นผ้น้อย หรือผู้ต้าวูอาชีพ ท านา ท าไร่ เลี้ยงสัตว์ ทอผ้า อาหารรสจัดจะมี

พริกพราน (มะแข่น) เป็ นเครื่องเทศบ่งบอกเอกลักษณ์ประจ าชนเผ่า และ

พิธีกรรมพิธีเสนคือการเซ่นไหว้ผีบรรพบุรุษ พิธีเซ่นไหว้ผีมด ผีบ้านผีเมือง

เสนแก้เคราะห์เรือน เสนกวักกว้าย วัฒนธรรมคือการเซ่นผีเรือนของชาว

ไทยทรงด า ค าว่า “ เสนเฮือน” การพูดภาษาไทยทรงด ามีลักษณะไม่แตกต่าง

จากภาษาไทยกลาง ซึ่งลักษณะเป็ น ค าโดด พยางค์เดียว อ้าย เอม แลง งาย

ส่ วนทรงผมของไทยทรงด า ซึ่งมักเกล้าห้อยมาเป็ นหางจิ๋วไทยทรงด าเกิด

ผสมกับไทยและจีนลูกเกิดมาเรียกว่า “ จ้าจาม”

กศน.ส่งเสริมการเผยแพร่สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทยทรงด า ใน

ชุมชนให้เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่น และประชาสัมพันธ์ส่งเสริมในการ

แสดงเปิ ดงาน กศน.ต าบล และประสานงานในการจัดกิจกรรมการ

แสดงการร าไทยทรงด าให้กับภาคีเครือข่ายในต าบล

๕๙/๒ หม่ที่ ๒ ต.คู ุยม่วง

อ.บางระก า จ.พิษณุโลก

๐๖๖-๐๔๒๓๓-๒๘

@ เจษฎา ไหมละออง

เจษฎา ไหมละออง

70

สาขา เกษตรกรรม

ดินป๋ ยอินทรีย์

นายสมพงษ์ จิตสี

ชื่อครูนางกฤษดาพร นาคสวัสดิ์

กศน.ตําบลวังทอง

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก

โทรศัพท์081-5233779

จากที่ กศน.ตําบลวังทอง ได้ จัด

อบรมกิ จกรรมการเรี ยน รู้ตามหลั ก

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจึงได้ขยายผล

ในชุมชนต้นแบบแหล่งเรียนร้ ูโดยผ้นําู

ชุมชน นายสมพงษ์ จิตสี ตําแหน่ ง

ผ้ใหญ่ หม ู่ที่ 8 ูตําบลวังทอง ซึ่งเป็ นจิต

อาสาบุคคลตัวอย่างที่พัฒนาหม่ บ้ าูน

ให้ กิ นดี อย่ ดี สู ุข ภาพ แข็ง แรง แล ะ

ปลอดภัยจากสารพิษ เกษตรธรรมชาติ

ส่ การพัฒนาอาชีพเกษตรกรรมอย่างู

ยั่งยืน ปลูกฝักปลอดสารพิษไว้บริโภค

และจําหน่าย

ดินป๋ ยอินทรีย์ุ

จุดเด่ นคือ สูตรทําดินป๋ ยอินทรี ย์จากวัตถุ ุดิบธรรมชาติ

มีอาหารในดินที่มีคุณประโยชน์มากมาย ดินป๋ ยอินทรีย์ เป็ นสารปรุะกอบ

ที่มีธาตุ

อาหารพืชเป็ นองค์ประกอบที่มาจากอินทรียวัตถุชนิดต่างๆ ได้แก่

ซากพืช ใบไม้ มูลสัตว์ หมักย่อยสลายจนเกิดสารอาหารที่พืชต้องการจะ

ช่วยให้พืชเจริญงอกงามดีมีผลผลิตสูงตามความต้องการของผ้ใชู้

ต้ น ไ ม้ ทุกช นิ ด ต้ อ ง ก า ร อ า ห า ร เ พื่ อก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต

เช่นเดียวกับต้องการแสงแดดและนํ้า เราต้องใส่ป๋ ยในไร่นา แปลงผัก สวนุ

สวย พืชผลจึงจะงามดี ป๋ ยอินทรีย์ุที่มีคุณภาพ เปรียบเสมือนอาหารเสริม

ของพืชอย่ในรู ูปของดินป๋ ยุอินทรีย์ซึ่งทําให้รากฝอยและรากแก้วของพืช

สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ในการเจริญเติบโต เพิ่มผลผลิตในระยะยาว

และสามารถทําได้เองจากการเรียนร้ และเป็ นอาชีพเสริมไดู้

ส่งเสริมกิจกรรมงานการศึกษาต่อเนื่อง

กศน.ตําบลวังทอง ส่ งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนร้ตามหลักู

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับประชาชนในการทําดินป๋ ยอินทรีย์ุ

ใช้ ในครั วเรื อน และขยายผลการขายดินป๋ ยอินทรีย์ สร้ างรายไดุ้

โดยกศน.ร่วมกับประชาชนในชุมชนขับเคลื่อนความร้ในการทําดินปู๋ ยุ

อินทรีย์เพื่อประโยชน์แก่ประชาชน และชุมชนขับเคลื่อนการเรียนรู้ตาม

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืน

บ้านเลขที่ 667 หม่ ู8 ต.วังทอง

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก 65130

081-15323415

@hcv6805a

-

71

เฉพาะรูปภาพ

ผลิตภัณฑ์

ไม่น้อยกว่า 500 MB

สาขา อุตสาหกรรมและหัตถกรรม

การท าลูกประคบสมุนไพร

นางเพียงใจ ยาห้องกาศ

ชื่อครู นางธนิดา พรมช่วย

กศน.ต าบลชัยนาม

อ. วังทอง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ : 09 4371 8237

ลูกประคบสมุนไพร คือ ผ้าที่ใช้สมุนไพรหลาย

อย่างมาห่อรวมกัน น ามานึ่งให้ร้อน เป็นวิธีการ

บ าบัดรักษาของการแพทย์แผนโบราณ แล้ว

ประคบบริเวณที่เจ็บปวด เคล็ดขัดยอก โดย

อาศัยความร้อนและ คุณสมบัติสมุนไพร ท าให้

อาการดีขึ้น คนไทยนิยมใช้ “ลูกประคบ

สมุนไพร” รักษากันมาแต่โบราณจนถึง

ปัจจุบัน โดยมักใช้รักษาควบคู่กับการนวดไทย

คือ หลังจากนวดเสร็จแล้วจึงประคบนาบไป

ตามร่างกาย ผล ของความร้อนที่ได้จากการ

ประคบ ท าให้หลอดเลือดฝอยขยายตัว และตัว

ยาสมุนไพรร้อนๆ ซึมผ่านชั้น ผิวหนังเข้าสู่

ร่างกาย และยังช่วยท าให้เนื้อเยื่อพังผืดยืดตัว

ออก ลดการติดขัดของข้อต่อ ลดการเกร็งตัว

ของ กล้ามเนื้อ ลดการปวด

เป็นวิธีการ บ าบัดรักษาของการแพทย์แผนโบราณ เป็นการประคบบริเวณ

ที่เจ็บปวด เคล็ดขัดยอก โดยอาศัยความร้อนและคุณสมบัติสมุนไพร

ท าให้อาการดีขึ้น ผล ของความร้อนที่ได้จากการประคบ ท าให้หลอดเลือด

ฝอยขยายตัว และตัวยาสมุนไพรร้อนๆ ซึมผ่านชั้น ผิวหนังเข้าสู่ร่างกาย

และยังช่วยท าให้เนื้อเยื่อพังผืดยืดตัวออก ลดการติดขัดของข้อต่อ ลดการ

เกร็งตัวของ กล้ามเนื้อ ลดปวด ช่วยลดการบวมที่เกิดจาการอักเสบของ

กล้ามเนื้อ เอ็น และข้อต่อ

ให้ความอนุเคราะห์มาเป็นวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องสมุนไพร มี

ทั้งกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เพื่อพัฒนาสังคม

และชุมชน เพื่อพัฒนาอาชีพ 31 ชม. ขึ้นไป และกลุ่มสนใจ

85 หมู่ที่1 ต.ชัยนาม

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก 65130

08 9439 3645

@aomsin050956

เพียงใจ ยาห้องกาศ

72

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

พรมอเนกประสงค์

นางกัญจนรัตน์ สีเหลือง

ชื่อครูนางนาตยา ชินรัตน์

กศน.ต าบลวังพิกุล

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์081-6051836

กศน.ต าบลวังพิกุล ได้เปิ ดกล่มสนใจุการ

ท าพรมอเนกประสงค์ ให้กับประชาชนทั่วไป

ในต าบลวังพิกุล เพื่อน าไปต่อยอดเพิ่มรายได้

ให้กับครอบครัว และมีสมาชิกในกล่มที่ไปุ

เรียนน าขายมีรายได้เพิ่มจึงรวมสมาชิกที่

เรียนด้วยกันและผ้ที่ต้องการูมีรายได้มาเรียน

เพิ่มเติมและรับงานต่อเพื่อเพิ่มรายได้ให้คน

ในชุมชนเพิ่มขึ้น จนกระทั่งเป็ นกล่ มุท า

พรมอเนกประสงค์จ าหน่ายจนทุกวันนี้

พรมอเนกประสงค์ถักด้วยมืออย่างประณีต มีหลายขนาด ตามความต้องการของตลาด

มีหลายรูปแบบให้เลือก โดยแต่ละรูปแบบสมาชิกในกล่มออกแบบขึ้นเองุ

มีความทนทาน ถักหลายชั้นเพื่อความแน่นหนาทนต่อการใช้งาน

สามารถน าเศษผ้าที่เหลือใช้มาดัดแปลงเป็ นพรมอเนกประสงค์

กศน.ได้จัดกิจกรรมส่งเสริมอาชีพพรมอเนกประสงค์ให้กับประชาชน

ทั่วไปในต าบลวังพิกุลมีรายได้เพิ่มขึ้นและส่งเสริมให้เป็นสินค้าส่งออก

ต่อไป

บ้านเลขที่ 99 หม่ ู13 ต.วังพิกุล

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก 65130

082-3343695

กัญจนรัตน์ สีเหลือง

กัญจนรัตน์ สีเหลือง

-

73

สาขา เกษตรกรรม

จม

ูกข้าวกล้องผสมธัญพืช

กล่มวิสาหกิจช

ุ ุ

มชนโรงสีข้าวช

มชนต าบล

พันชาลี

ชื่อครูน.ส.จันทิมา งามวิลาศ

กศน.ต าบลพันชาลี

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์086-9369660

เริ่มก่อตั้งเมื่อปี 2552 จมูกข้ าวกล้องผสม

ธัญพืช เป็ นการรวมกล่มุวิสาหกิจชุมชน

โรงสีข้าวชุมชนต าบลพันชาลี

เพื่ อเป็ นการพัฒนา และเพิ่มมูลค่ าให้ กับ

สินค้าในชุมชน ให้มีมูลค่าเพิ่มมากขึ้น

091-3852383

มีประโยชน์ในการดูแลสุขภาพ

คุณประโยชน์มากมายอาทิ

1.มีสารสแควลีนซึ่งเป็ นไวท์เทนนิ่งในธรรมชาติช่วยให้ผิวพรรณดู

กระจ่างใสขึ้น

2. ช่วยให้ระบบขับถ่ายท างานได้ดีขึ้น เพราะอุดมด้วยเส้นใยอาหารและ

ยังป้องกันมะเร็งล าไส้อีกด้วย

3.ช่วยสร้างเสริมภูมิค้มกันให้แกุ่ร่างกาย ต้านทานความเสื่อมของร่างกาย

ได้เป็ นอย่างดี

4.ป้องกันโรคอัลไซเมอร์

5.ช่วยปรับสมดลของฮอร์โมนในสตรีวัยทองุ

6.ช่วยลดคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ภายในร่างกายของเรา

7. ป้องกันโรคหัวใจและโรคที่เกิดจากหลอดเลือดตีบตัน เช่น อัมพฤกษ์

อัมพาต

ส่งเสริมการออกแบบบรรจุผลิตภัณฑ์

และการจัดจ าหน่าย ในศูนย์ ooccกศน.อ าเภอวังทอง

93 ม.7 ต.พันชาลีอ.วังทองจ.

พิษณุโลก 65130

091-3852383

-

-

-

-

74

สาขา เกษตรกรรม

การท าเกษตรแบบผสมผสาน

นายวราย

ทธ สารผล

ชื่อครูนางวรรณทิภา ยอดสงค์

กศน.ต าบลแก่งโสภา

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 081 5327705

นายวรายุทธ สารผล เดิมประกอบ

อาชีพอยู่ในโรงงานต่อมาเริ่มมีความ

อิ่มตัวในงานที่ท าจึงได้ลาออกจาก

งาน และได้ศึกษาท าความเข้าใจตาม

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เดินตามรอยเท้าพ่อ ได้มีการพัฒนา

ตนเองเกี่ยวกับเกษตรผสมผสาน

อย่างต่อเนื่องโดยการเข้าร่วมอบรม

เศรษฐกิจพอเพียง ยืมหนังสือ สื่อ

ต่างๆ ของ กศน.ต าบลแก่งโสภา และ

เริ่มลงมือปฏิบัติท าเกษตรผสมผสาน

ในพื้นที่ประมาณ 5-6 ไร่

ซึ่งปัจจุบัน เป็ นแหล่งเรียนร้และู

วิทยากรเผยแพร่องค์ความร้แก่ผู้มาู

ศึกษาดูงาน

เป็ นแหล่งเรียนร้ท่องเที่ยวเชิงเกษตร ูเช่น การท าเกษตรแบบผสมผสาน

การแก้ปัญหาการเกษตรด้านการตลาด การแก้ปัญหาด้านการผลิต การ

แก้ไขโรคและแมลง และการร้จักปรับใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับู

การเกษตรให้เหมาะสมกับพื้นที่และบริบท

1. ส่งเสริมกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง เช่น กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง

2. เป็ นแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญา

3. ส่งเสริมกิจกรรมรักการอ่าน

333 หม่ ู4 ต.แก่งโสภา อ.วังทอง

จ.พิษณุโลก 65220

094 4182238

094 4182238

สวนสารผล ตามรอยพ่อหลวง

75

สาขา ศาสนาและประเพณี

หลักธรรมค าสอนทางศาสนา

พระภาวนาวิริยค

ณ วิ. ไสว

ชื่อครูน.ส.อรวรรณ บุญโสภาวงศ์

กศน.ต าบลบ้านกลาง

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 062 9417966

พระภาวนาวิริยคุณ วิ. ไสว

ท่านได้เริ่มบวชตั้งแต่อายุ12 ปีที่วัด

นางพญาจังหวัดพิษณุโลก อย่ ู8 ปี

เนื่องจากมีความเลื่อมใสศรัทธา

พระพุทธศาสนามาแต่เยาว์วัย ต่อ

จากนั้นได้ไปอย่ที่วัดูพระมหาธาตุ

วรมหาวิหารกรุงเทพ จนอายุครบ

บวชจึงได้อุปสมบทเป็ นพระภิกษุ

จากนั้นจึงได้ศึกษาเกี่ยวกับหลักธรรม

ค าสอนตามรอยพระพุทธศาสนา จน

ได้เป็ นครูสอนปริยติธรรม สอน

วิปัสสนากรรมฐาน และบรรยาย

ธรรม ตั้งแต่ปี 2541 จนถึงปัจจุบัน

สอนทั้งในประเทศไทยและ

ต่างประเทศ

1.ครูสอนปริยติธรรม สอนวิปัสสนากรรมฐาน และบรรยายธรรม ตั้งแต่ปี

2541 จนถึงปัจจุบัน

2.ครูสอนวิปัสสนา และบรรยายธรรม เผยแพร่พระพุทธศาสนา

3.อบรมให้ความร้กับนัูกเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป

1.วิทยากรด้านศาสนาหลักธรรมค าสอนทางศาสนา ความเชื่อ และ

ประเพณีให้กับนักเรียน นักศึกษาและประชาชนทั่วไป

2. วิทยากรด้านศาสนาหลักธรรมค าสอนทางศาสนา ความเชื่อ และ

ประเพณีให้กับนักศึกษากศน.ต าบลบ้านกลางและกศน.ต าบลแก่ง

โสภา

วัดชัยมงคล เลขที่ 108 หม่ ู24

ต.บ้านกลาง อ.วังทอง จ.พิษณุโลก

063 9146255

081 6650071

พระภาวนาวิริยคุณ วิ.ไสว

76

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

การสานผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก

นางสาวร่งนภา ข

ุ ุ

นชาวนา

ชื่อครู นางสาวนภาภรณ์ อ่อนประไพ

กศน.ต าบลท่าหมื่นราม

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์094 - 6357071

ก า ร ส า น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ า ก เส้ น

พลาสติกเป็ นผลิตภัณฑ์ชุมชน กศน.ต าบล

ท่าหมื่นราม องค์ความร้ เกี่ยวกับหลักสู ูตร

วิช าชี พ “ก าร ส าน ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ าก เส้ น

พลาสติก” ส่ วนใหญ่ประชาชนจะประกอบ

อาชีพเกษตรกรรมหลังจากพ้นฤดูกาลเก็บ

เกี่ยวผลผลิต ส่วนใหญ่จะว่างงาน ดังนั้นการ

สานผลิตภัณฑ์จากเส้ นพลาสติก จึงเป็ นอีก

ทางเลือกที่น่าสนใจ ฝึ กทักษะการสานเส้ น

พลาสติกในรูปแบบต่างๆเป็ นสินค้าในชุมชน

น ามาเป็ นอาชีพหลักและอาชีพเสริมได้ใน

ครัวเรือน โดยมี นางสาวร่งนภา ขุ ุนชาวนา

เป็ นหัวหน้ากล่มในการด าเนินงานทั้งผลิต ุ

และจ าหน่ายในชุมชน

องค์ ความร้ เกี่ยวกับหลักสู ูตรวิชาชีพ “การสานผลิตภัณฑ์ จากเส้ น

พลาสติก” จุดเด่นเป็ นศิลปะการจักสานที่มีลวดลายสวยงาม การออกแบบ

สีสันของเส้ นพลาสติก ลวดลายต่าง ๆ ตามความต้องการของลูกค้า มีความ

ละเอียดประณีต เรียบร้อย ได้มาตรฐานราคาไม่แพง มีการพัฒนารูปแบบ

ทันสมัยอย่างต่อเนื่อง กระบวนการผลิตยังใช้แบบดั้งเดิม ท าให้มองเห็นคุณค่า

และแสดงถึงเอกลักษณ์ความเป็ นไทย เป็ นผลงานจากการสร้างสรรค์ชิ้นงานที่

ประสานภูมิปัญญาของคนร่นเก่ากับคนรุ่นใหม่ ุส่ งเสริมและอนุรักษ์การจัก

สาน โดยให้มีการผลิตอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนารูปแบบตลอดเวลา จึงมีการ

ถ่ายทอดให้กับผ้ที่ต้องการศึกษาู เพื่อเป็ นพื้นฐานในการประกอบอาชีพให้กับ

แม่บ้าน ผ้สู ูงอายุ และสร้างรายได้ เป็ นอาชีพเสริมในชุมชน

กศน.ต าบลท่าหมื่นราม จัดกิจกรรมส่ งเสริมศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

การศึกษาแบบชั้นเรียนวิชาชีพ (31 ชั่วโมงขึ้นไป) การสานผลิตภัณฑ์จากเส้น

พลาสติก เพราะเห็นความส าคัญและสามารถขยายผลเป็ นสินค้าสร้างอาชีพ

เป็ นพื้นฐานในการด ารงชีวิตประจ าวัน รวมถึงการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่แสดง

ถึงเอกลักษณ์ ไทย ส่ งเสริมอนุรักษ์ การจักสานท าเป็ นอาชีพเสริม เป็ นภูมิ

ปัญญาท้องถิ่นของต าบลท่าหมื่นราม พัฒนารูปแบบของผลิตภัณฑ์ เพื่อ

เหมาะสมกับความต้องการของตลาด ส่งเสริมการค้าออนไลน์โดย เพจเฟชบ๊คุ

ภายใต้ชื่อ ผลิตภัณฑ์ชุมชน กศน.ต าบลท่าหมื่นราม

บ้านเลขที่ 11/2 หม่ 1 ต.ท่าหมื่นรามูอ.

วังทอง จ.พิษณุโลก 65130

080-1357814

-

-

77

รูปขนาด ไม่เกิด 500

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

น ้าพริกแม่มานิต

นางปวีณา มั่นคง

ชื่อครูนางสุคันธนา ทองขวัญ

กศน.ต าบลแม่ระกา

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก 65130

เบอร์โทรศัพท์08-4688-1829

ชาวบ้านมีอาชีพหลัก คือ ท านา ท าไร่

ดังนั้นจึงต้องมีอาชีพเสริมให้ตนเองระหว่าง

ว่างเว้นจากการท านา ท าไร่ พอดีกับที่ทาง

กศน.ได้เข้ามารวมกล่มและฝึ กอบรมอาชีพุ

ระยะสั้น หลักสูตร การท าน ้าพริก ต่อมา

ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานราชการ

อย่างต่อเนื่อง และ กศน.ได้สนับสนุนการ

ผลิตน ้าพริกตลอดมา เช่น การบรรจุ

ผลิตภัณฑ์ โลโก้สินค้า การพัฒนาสูตร

น ้าพริกต่าง ๆ ตามความต้องการของตลาด

อย่างต่อเนื่อง จนเป็ นที่ร้จักกันทั่วไป ทั้งในู

ประเทศและต่างประเทศ จนสามารถสร้าง

อาชีพและสร้างรายได้ให้กับตนเองและ

ครอบครัวได้เป็ นอย่างดี มีการเผยแพร่

ความร้สู่ชู ุมชน

1. เป็ นการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

โดยการรวมกลุ่มกันท าน ้าพริก

2. สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยการถ่ายทอดเทคนิคความร้จากรู่นสุ่รู่นุ

1. ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

2. เป็ นวิทยากรให้ความร้โครงการศู ูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

3. ภาคีเครือข่ายโครงการศูนย์ฝึ กอาชีพชุมชน

บ้านเลขที่ 205/1 หม่ 6 ต.แม่ระกาู

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก 65130

08-3161-2114

08-3161-2114

78

สาขา เกษตรกรรม

ข้าวไรซ์เบอร์รี่อินทรีย์

นางสาวสิรินภา ค

ยชาวนา

ชื่อครูน.ส.ธัญญรัตน์ เมืองพรวน

กศน.ต าบลหนองพระ

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์062 179 7699

จากชาวนาคนหนึ่งที่ท าเกษตรเคมีเหมือน

ชาวนาคนอื่น ๆและได้มีเหตุการณ์อันตราย

ที่เกิดขึ้นจากการใช้ สารเคมีก าจัดวัชพื ช

หลังจากเหตุการณ์ นั้ นจึงตัดสิ นใจเลิกใช้

สารเคมีและได้ตัดสินใจท าเกษตรอินทรีย์

แท น ก ารท าเก ษ ต รเคมี แบ บ เดิ ม เพ ราะ

ค านึงถึงอันตรายจากการใช้สารเคมีที่เกิดกับ

ตัวเองและอาจเกิดกับผ้บริโภูค และตัดสินใจ

เลือกพันธ์ ข้ าวไรุซ์เบอรี่ที่มีประโยชน์ ต่ อ

สุขภาพมาเพาะปลูกซึ่งได้รับการรับรอง

พันธ์จากุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

โดยค านึงถึงความปลอดภัยของผ้บริโภค ู

ผ้ผลิตและการอนู ุรักษ์สิ่งแวดล้อมเป็ นส าคัญ

ผ้บริโภคจึงมั่นใจได้ว่าข้าวฟาร์ มสิรินเป็ นู

ข้าวที่ปลอดภัย

ข้าวมีกลิ่นหอมน่มน่ารับประทานุ

คุณประโยชน์มากมายอาทิเช่น ช่วยป้องกันโรคมะเร็ง

โรคหลอดเลือดหัวใจโรค เบาหวาน ความดัน ลดการอักเสบของผิวหนัง

ช่วยสร้างคอลลาเจลและช่วยเรื่องระบบขับถ่าย

ส่งเสริมการออกแบบบรรจุผลิตภัณฑ์

ได้ส่งเสริมสนับสนุนในการจัดตั้งกล่ม และได้เชิุ ญให้มาบรรยาย ให้

ความร้กับคนรูุ่นใหม่ในการท าข้าวปลอดสารพิษ

091-3898373

@hcv6805a

ข้าวไรซ์เบอร์รี่อินทรีย์ฟาร์มสิริน

บ้านเลขที่ 310 หม่ 6 ตู.หนองพระ

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก 65130

79

สาขา อุตสาหกรรมและหัตถกรรม

ด้านการผลิตและการบริโภค

นางพรทิพย์ รักษาคม

ชื่อครู นางสาวรัตนา วาจันทร์

กศน.ต าบลดินทอง

อ. วังทอง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ : 093-1544624

นางพรทิพย์ รักษาคมเกิดที่จังหวัดพิษณุโลกปี

พ.ศ.2513ได้รับการส่งเสริมอาชีพในโครงการ

1 ต าบล 1 มหาวิทยาลัย ต าบลดินทองกิจกรรม

ฝึกพัฒนาและฝึกอบรมเชิงปฏิบัติเพื่อส่งเสริม

และพัฒนาศักยภาพชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวที่

ยั่งยืน ปีพ.ศ.2562 ได้รับความรู้จากการ

ฝึกอบรมการท าน าพริกเห็ดเพื่อจัดจ าหน่าย

รวมทั งเรื่องการใช้เทคโนโลยีการแปรรูป

ผลผลิตทางการเกษตรจากประสบการณ์ที่

ได้รับการเรียนรู้และฝึกอบรมจนปัจจุบันได้

จัดท าเป็นสินค้าเพื่อจ าหน่ายในนามกลุ่ม

พัฒนาอาชีพบ้านดินทองพัฒนา

เป็นอาหารเพื่อสุขภาพ อร่อย สะอาด ปลอดสารปรุงแต่ง ผลิตจาก

วัตถุดิบจากธรรมชาติที่มีในชุมชนได้แก่ พริกขี หนูสวนแห้ง พริกชี ฟ้า

แห้ง กระเทียม ใบมะกรูด เห็ดนางฟ้า รับประทานกับข้าวสวยร้อนๆและ

ผักสด สามารถเก็บไว้ได้เป็นเวลานานถึง 15 วันโดยไม่เสียรสชาติและ

คุณภาพทางสารอาหาร

ร่วมกิจกรรมพัฒนาผลิตภัณฑ์และฝึกอาชีพเพื่อการมีงานท ากับ กศน.

ต าบลดินทองจนมีความช านาญด้านอาหารที่หลากหลายและให้ความ

อนุเคราะห์เป็นวิทยากรสอนแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรให้กับกศน.

ต าบลดินทองเสมอมา

53 หมู่มี่11 ต.ดินทอง

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก 65130

083 -9864558

0839864558

วัลลภ มงคลทอง

80

สาขา เกษตรกรรม

การท าการเกษตรแบบผสมผสาน

นางสิริกาญจน์ จันทราพลู

ชื่อครูนางวิจิตรา อุปชัย

กศน.ต าบลวังนกแอ่น

อ. วังทอง จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์: 0946146258

คุณสิริกาญจน์ จันทราพลู มีความสนใจในการ

ท าเกษตรผสมผสาน ให้เป็ นสวนเรียนรู้ด้าน

การเกษตรและได้น าแนวคิดเกี่

ยวกบศาสตร์ ั

ของพอหลวงใน ่ เรื่องของปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงวา่สามารถน ามาใช้ในชีวิต

ประจ าวันได้จริง ด้วยมีความพร้อม รักในงาน

เกษตร และต้องการเป็ นตัวอยางให้คนใน ่

ชุมชนได้เห็นวาสามารถท าได้จริง เป็ นการ ่

ลดค่าใช้จ่าย สามารถเพิ่มรายได้ เป็ นการท า

การเกษตรที่ยังยืนในพื ่ ้นที่ 20 ไร่ โดยจัดสรร

พื้นที่ภายในสวนได้อยางเหมาะสม แบ่ ่งเป็ น

พื้นที่อยูอาศัย พื ่้นที่เกษตร พื้นที่สร้างแหล่ง

เก็บน ้า และภายในสวนของคุณสิริกาญจน์

จันทราพลู เธอตั้งใจท าเป็ นแหล่งเรียนรู้ และ

แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อให้ประชาชนที่

สนใจมาศึกษาหาความรู้ต่อไป

นักท่องเที่ยว

เป็ นวิธีการ ท าการเกษตรแบบผสมผสาน โดยยึดหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง ของในหลวงรัชกาลที่ 9 เป็ นการพัฒนาพื้นที่ดั้งเดิมให้

เป็ นสวนเรียนร้ที่มีความหลากหลายทางู การเกษตร มีทั้งพืชเศรษฐกิจ

เช่น โกโก้ บอนสี ต้นกระท่อม และมีการปลูกพืชผักสวนครัว ที่ไม่ต้องซื้อ

ปลูกอย่างไร กินอย่างนั้น และมีการแบ่งพื้นที่สัดส่วนได้อย่างเหมาะสม

เป็ นแหล่งท่องเทียวในชุมชนเชิงนิเวศได้เป็ นอย่างดี มีบรรยากาศร่มรื่น

สวยงาม

ให้ความอนุเคราะห์สถานที่ในการจัดกิจกรรมการเรียนร้ตามหลักู

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้ความอนุเคราะห์เป็ นวิทยากรถ่ายทอด

ความร้ในการท าเกษตรแบบผสมผสาน ให้ความอนู ุเคราะห์วัสดุ

อุปกรณ์ในการเรียนร้ พร้อมอ านวยความสะดวกูเรื่องของถนน การเข้า

ออกของสวนให้มีความพร้อมมากยิ่งขึ้น

133 หมู่ที่2 ต.วังนกแอ่น

อ.วังทอง จ.พิษณุโลก 65130

08 38152606

08 38152606

สิริกาญจน์ จันทราพลู

81

สาขา อุตสาหกรรมและหัตถกรรม

สมุนไพรพริกไทย

นางบัวโรย กล่อมนาค

ชื่อครูนางภัญญดา กันอ่อง

กศน.ตําบลพรหมพิราม

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพย์ 0944526864

ลักษณะพริกไทย ต้นพริกไทยเป็ นต้นไม้

ที่มีอายุยืน จัดอยู่ในประเภทไม้เลื้อย สู ง

ประมาณ 5 เมตร ลักษณะของล าต้นจะเป็ น

ข้อ ๆ ลักษณะของใบพริกไทยจะมีสีเขียวสด

ใบใหญ่คล้ายใบโพ ส่ วนลักษณะของดอก

พริกไทยจะมีขนาดเล็ก จะออกช่ อตรงข้อ

ของล าต้น มีลักษณะเป็ นพวง ซึ่งจะมีเมล็ด

กลม ๆ ติดกันอยู่ เป็ นพวง มีถิ่นก าเนิด

ในประเทศอินเดีย บริเวณเทือกเขาทางภาค

ตะวันออกเฉียงใต้ ส าหรับบ้านเราพริกไทย

ถือเป็ นพืชเศรษฐกิจที่ส าคัญชนิด หนึ่ง

โดยนิยมปลูกพริกไทยกันมากในจังหวัด

จันทบุรี ตราด และระยอง

สมุนไพรพริกไทย เป็ นพืชที่มีผลเป็ นพวงเม็ดขนาดเล็ก จัดเป็ นสมุนไพร

ที่มีสรรพคุณทางยา ช่ วยลดไขมันและเป็ นราชาแห่งเครื่องเทศที่มีรสชาติ

เผ็ดร้อน สามารถน ามาท าเป็ นพริกไทยแห้งไว้ใช้เป็ นเครื่องเทศปรุงประกอบ

อาหาร ถ้าเป็ นแบบแห้งทั้งเปลือกจะเป็ น พริกไทยด า หรือ Black Pepper

(เพราะมีผงของเปลือกสีด าปนอยู่) แต่ถ้าลอกเปลือกออกก่อนท าเป็ นผงจะเป็ น

พริกไทยขาว หรือ While Pepper (พริกไทยล่อน) เนื่องจากพริกไทยมีปริมาณ

น ้าในแต่ละเม็ดน้อยมาก จึงไม่ค่อยขี้นรา หรือถ้าบดเป็ นผงน ามาบรรจุจะเป็ น

แค็ปซูลทานเป็ นยาอายุวัฒนะ เมล็ดพริกไทยมีสารฟิ นอลิกและสารพิเพอรีน

ซึ่งช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ เมล็ดพริกไทยมีสารพิเพอรีน (Piperine) ซึ่งเป็ น

สารอัลคาลอยด์ที่มีส่ วนช่ วยรักษาและป้ องกันการเกิดโรคอัลไซเมอร์

ในผู้สูงอายุได้ ช่วยป้องกันและต่อต้านสารก่อมะเร็ง ช่วยเร่งการท างานของตับ

ให้ท าลายสารพิษได้มากขึ้น เมล็ดพริกไทย ช่วยมีฤทธิ์ในการกระตุ้นประสาท

ช่วยแก้ลมบ้าหมูหรือลมชักได้ ช่วยบ ารุงธาตุในร่างกายซึ่งการเก็บรักษาก็ง่าย ๆ

เพียงแค่เก็บไว้ในโหลแก้วให้มิดชิด

1.การส่งเสริมให้เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแปรรูปอุตสาหกรรม

การผลิดและการบริโภค

2.การส่งเสริมกลุ่มวิชาชีพ กลุ่มสนใจ

3. เป็ นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักศึกษาและประชาชนในพื้นที่ต าบลพรหม

พิรามหรือพื้นที่อื่นที่เข้ามาศึกษาแหล่งเรียนรู้

54/1 ม.7 ต.พรหมพิราม

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก

0899581041

0899581041

-

82

สาขา อ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

(ด้านการผลิตและบริโภค)

427 หมู่ที่ 7 ต.หอกลอง

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก 65150

0824049492

0824049492

กศน.ต าบลหอกลอง

เนื่องจากบริบทในพื้นที่คนในชุมชน

มีที่อยู่อาศัย อยู่ติดแม่น ้าแควน้อย

ดังนั้ น คลังอาหารส่ วนใหญ่ ได้ มาจาก

สัตว์น ้า ซึ่งการแปรรูปสัตว์น ้าเป็ นการ

ถนอมอาหารโดยกรรมวิธีต่างๆ ซึ่งยังคง

มีคุณ ลักษณ ะและคุณ ภาพที่ผู้ บริโภค

ต้องการ ทั้งนี้เนื่องจากสัตว์น ้าเน่ าเสีย

ง่ายกว่าเนื้อสัตว์ประเภทอื่น ฉะนั้นจึง

ควรเก็บรักษาสัตว์น ้าทันทีที่จับขึ้นมาได้

เพื่ อ ให้ สั ตว์ น ้ามี คุ ณ ภาพ ที่ ดี จ น กว่ า

จะน าไปประกอบอาหารหรือแปรรูปเป็ น

ผลิตภัณฑ์ต่อไป เพื่อให้มีอาหารสัตว์น ้า

บริโภคตลอดปี และเพื่อเพิ่มมูลค่าทาง

อาหารให้สัตว์น ้า และเพิ่มรายได้อีกทาง

◊ เป็ นผู้ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ในการแปรรูปปลาเป็ นอย่างดี

◊ เป็ นผู้ที่มีความเสียสละในการถ่ายทอดให้ความรู้ในเรื่องการแปร

รูปปลาให้กับคนที่สนใจและมีความต้องการในการเรียนรู้

◊ เป็ นผู้ที่มีใจในการคิดพัฒนาต่อยอดสินค้าและการบริการ

◊ เป็ นผู้ที่มีรักและอยากสืบสานความมีเสน่ห์ของการแปรรูปปลาที่

มีมาในสมัยโบราณให้คงอยู่สืบไป

◊ มีผลิตภัณฑ์จากการการแปรรูปปลาหลากหลายชนิด

◊ ผลิตภัณฑ์จากปลามีความอร่อยและมีจุดเด่นในการคงรูปอาหาร

ได้ยาวนาน

1. คนในชุมชนและภาคีเครือข่ายร่วมจัดกระบวนการ

เรียนรู้และมีส่วนร่วม ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน

2. เป็ นวิทยากรในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพให้กับ

กลุ่มเป้าหมายของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม

อัธยาศัยอ าเภอพรหมพิราม

3. เป็ นแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นให้กับ กศน.และคนใน

ชุมชน

ชื่อครูนางจันทร์แรม ด้วงแจ่ม

กศน.ต าบลหอกลอง

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 087-5741827

นางไหม เย็นสม

ทร

การแปรร

ปอาหารจากปลา

การแปรร

ปอาหารจากปลา

83

สาขาการอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

การทอเสอกก ื่

นางเจริญยิ่ง ใจมั่น

ชื่อครูนางสาวรสริน น้อยแก้ว

กศน.ต าบลดงประค า

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 089-640-4812

นางเจริญยิ่ง ใจมั่น เป็ นผู้มีความใฝ่ เรียน

ใฝ่ รู้และพัฒนาตนเองในด้านต่างๆตลอดเวลา

ในปี 2 5 5 3 ไ ด้เ ข้า ร่ ว ม กิ จก รร มอบรม

หลักสูตรการท าน ้ายาเอกนกประสงค์การท า

ไม้กวาดทางมะพร้าวและการท าปลาส้ม

ต า ม ล า ดับ กับ ก ศ น . ต า บ ล ด ง ป ร ะ ค า

ได้พัฒนาตนเองจนได้รับการยอมรับจาก

หลายหน่วยงานเชิญเป็ นวิทยากร เป็ นคนที่มี

จิตสา ช่วยเหลือชุมชนในทุกๆด้าน ด าเนิน

ชีวิตโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

น ามาปรับใช้ในการด าเนินชีวิตได้จนประสพ

ความส าเร็จจนได้รับเชิญเป็ นบุคคลตัวอย่าง

➢ เป็ นบุคคลต้นแบบที่น าความรู้ด้านการน าหลักปรัชญาเศรษกิจพอเพียงมา

ปรับใช้ในการด าเนินชีวิต

➢ เป็ นบุคคลต้นแบบด้านจิตอาสา

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้การแปรรูปอาหารพื้นบ้าน

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้การทอเสื่อกก

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้การท าไม้กวาดดอกหญ้าและไม้กวาดทางมะพร้าว

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้การท าน ้าหมักชีวภาพ

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้ในด้านเศรษฐกิจพอเพียง

➢ เป็ นเกษตรกรแกรนที่พัฒนาตนเองในด้านความรู้อย่างต่อเนื่อง

➢ ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้ในรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ กลุ่มสนใจและ

การน้อมน าหลักปรัชญาเศรษกิจพอเพียง

➢ เป็ นบุคคลตัวอย่างประชาชนทัวไป ่

➢ สามารถให้ค าปรึกษาในด้านเศรษกิจพอเพียง

➢ เป็ นตัวอย่างการน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการชีวิต

ประจ าได้ประสพผลส าเร็จ

158 หมู่ที่ 11 บ้านทุ่งน ้าใส ต.ดงประค า

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก 65150

0634786804

-

-

84

หมู่ที่ 3 บ้านเซิงหวาย ต.ตลุกเทียม

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก65180

064 875 8281

064 875 8281

ส าราญ สุขเกษม

การร่างแบบ ช่างปั้นปูนซึ่ งจะท างานปั้นลวดลาย รูปภาพต่างๆ ลงบนพื้น

ชนิดที่เป็ นฝาผนัง ก าแพงถือปูน หรือ พื้นไม้ บางคนอาจร่างแบบลงบนกระดาษ

แผ่นเล็ก พอให้เห็นเค้าโครงความคิดของตน แล้วจึงน าไปขยายแบบร่าง ตามขนาด

ที่จะท างานปั้นจริงลงบนพื้นที่นั้น แต่ช่างปั้นบางคน ที่ทรงไว้ซึ่งความรู้ลึกซึ้ง

มีประสบการณ์มาก และ ฝี มือกล้าแข็ง มักท าการร่างแบบขนาดเท่าจริงลงบนพื้น

ที่จะปั้นนั้นเลยทีเดียว งานร่างแบบ ส าหรับปั้นนี้ ช่างปั้นจะใช้ถ่านไม้ชิ้นเล็กๆ

ซึ่งท าจากต้นพริก เผาให้สุกเป็ นถ่านเขียนเส้นร่างด้วย เส้นร่างถ่าน จนได้รูปร่าง

สมบูรณ์ส่วนสัดถูกต้อง ช่องไฟงามเป็ นเรื่องราวครบถ้วน ดังวัตถุประสงค์แล้ว

จึงใช้พู่กันชนิดเขียนเส้นขนาดเขื่องๆ จุ่ม “สีครู ” ลักษณะเป็ นสี ครามอมด า

(Indigo) ท าขึ้นจากเขม่าผสมกับยางรงฝนกับน ้า ให้เข้ากันเขียนทับไปบนเส้นร่าง

เพื่อเน้นเส้นร่างนั้นให้ชัด และ รูปรอยที่ร่างขึ้นไว้ไม่ลบเลือนไปก่อนจะท างานปั้น

ให้เสร็จ แล้วจึงใช้ผ้าเนื้อนุ่มๆ ปัดเส้นร่างด้วยถ่านไม้นั้นออกให้หมด คงเหลืออยู่

แต่เส้นสีครูเป็ นโครงร่างที่ชัดเจน เป็ นแบบร่างที่จะปั้นปูนทับในล าดับต่อไป

1.การส่งเสริมให้เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่นเรื่องงาน “ช่างปูนปั้น”

2.การจัดศูนย์ฝึ กวิชาชีพชุมชน เกี่ยงกับ งานปูนปั้น

3. เป็ นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักศึกษาและประชาชนในพื้นที่ต าบลและ

นอกพื้นที่

สาขา ศิลปกรรม

ประติมากรรมช่างป

นปั้น

นายส าราญ สุ

ขเกษม

เทคนิคการตกแต่งลายปูนปั้น ส่วนใหญ่

สืบทอดมาจากสมัยอยุธยาตอนปลายโดยเฉพาะ

การตกแต่งหน้าโบสถ์ กล่าวคือ การจัดให้

ส่วนประธานอยู่ในแนวแกนกลางรูป ซึ่ งจะ

เด่นล ้าออกมาจากตัวลายกนก ส่วนลวดลายที่

ใช้ในงานปูนปั้น นิยมใช้ลายก้านขดศิลปะ

ส มัยอ ยุธ ยา ห รื อ รัต น โก สิ น ทร์ ต อ นต้น

เพราะสามารถออกตัวลายได้มาก ช่างปูนปั้นได้

น ารู ปแบบของการแกะสลักไม้มาประยุกต์

เป็ นงานปูนปั้น โดยการปั้นลายยื่นออกมาจาก

ผนังหน้าบัน และบางตอนก็มีการปั้นลายสอด

สลับพันเกี่ยวกัน โดยใช้โครงลวดช่วยในการ

ยึดเห นี่ ยวส่ วน รู ปแบบใน การปั้น ลายนั้น

ช่ า ง ปู น ปั้น แ ต่ ล ะ ค น มี สู ต ร เฉ พ า ะ ตั ว

ในการต าปูน

ชื่อครูนางสาวณฐพร จีบทับ

กศน.ต าบลตลุกเทียม

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 063 524 3717

85

นายไพฑูรย์ ชาญชิต ได้ไปศึกษาหาความรู้เตาเผาถ่านจากแหล่งเรียนรู้และ

ได้มาพัฒนาให้ได้ใช้ ประโยชน์สูงสุดในการท าการเผาถ่าน ซึ่งสะดวกและได้

ผลผลิตที่ดี ไม่ยุ่งยากเหมือนเมื่ออดีต ใช้พื้นที่น้อย ใช้เวลาในการเผาถ่านไม่นาน

ได้ถ่านที่มีคุณภาพสูง อีกทั้งท าเป็ นอาชีพสร้างรายได้และเป็ นแหล่งให้ผู้สนใจมา

ศึกษาเรียนรู้

สาขา นวัตกรรม

การท าเตาเผาถ่านไร้ควัน

นายไพฑูรย์ ชาญชิต

142 หมู่ 4 บ้านหนองมะคัง ต.ทับยายเชียง

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก 65150

0896119316

ไพฑูรย์ ชาญชิต

ไพฑูรย์ ชาญชิต

1.ใช้เป็ นแหล่งเรียนรู้เพื่อให้นักศึกษาและกลุ่มสนใจเตาเผาถ่านได้เข้า

มาศึกษาแหล่งเรียนรู้

2.ส่งเสริมให้เป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแปรรูปไม้ผลิตให้เป็ นถ่าน

ที่มีคุณภาพสูง

3.การส่งเสริมกลุ่มวิชาชีพ กลุ่มสนใจ

3.เป็ นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักศึกษากศน.และประชาชนในพื้นที่ต าบลทับ

ยายเชียงหรือพื้นที่อื่นที่เข้ามาศึกษาแหล่งเรียนรู้

เนื่องจากในต าบลทับยายเชียงมีเศษไม้

ที่เหลือใช้ และต้นไม้ที่สามารถเผาถ่าน มี

จ านวนมากในอดีตมีเผาถ่านในสมัยก่อน

ต้องขุดหลุมใช้ไม้เรียงภายในหลุมให้เต็ม

แล้วจุดไฟเอาแกลบ ดินปิ ดและต้องคอยดู

ควันจะขึ้น ถ้ามีควันขึ้นจะต้องใช้ดินกลบ

และต้องใช้เวลาหลายวัน อีกทั้งควันไฟยัง

รบกวนผู้อยู่อาศัย จึงได้ปรับเปลี่ยนมาใช้

เตาเผาถ่านแบบถังเหล็กทรงสูง

ชื่อครูนางอุษณีย์ ศรีเนตร

กศน.ตําบลทับยายเชียง

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 0946283665

86

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

(ด้านการผลิตและการบริโภค)

การแปรร

ปอาหารการเพาะเห็ด

นางนันท์นภัส ปานเกิดผล

ชื่อครูนางสาวธนพร ยัสไทสงค์

กศน.ต าบลท่าช้าง

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 064-0088872

นางนันท์นภัส ปานเกิดผล เป็ นผู้มี

ความใฝ่ รู้ และมีการพัฒนาตนเอง

ในด้านต่าง ๆ ตลอดเวลา ได้เข้าร่ วม

ก า รอ บ รมหลั ก สู ตรก า รแ ป ร รู ป

อาหารเป็ นประจ า และได้เป็ นสมาชิก

กลุ่มเพาะเห็ดบ้านท่าช้ าง ได้น าเห็ด

ในชุมชนที่ประชาชนได้เพาะเลี้ยง

มาแปรรูปอาหาร เช่น การท าน ้าพริก

เห็ด การท าน ้าเห็ดหูหนู การท าแหนม

เห็ด เป็ นต้น สามารถเป็ นวิทยากร

ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ เป็ นคนที่มีจิต

อาสา ช่ วยเหลือชุมชนในทุกๆ ด้าน

ด า เ นิ น ชี วิ ต โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก ป รั ชญ า

เศรษ ฐ กิ จ พ อ เพีย งมา ป รั บใช้ ใน

ชีวิตประจ าวันได้เป็ นอย่างดี

➢ เป็ นบุคคลต้นแบบที่สามารถน าความรู้ด้านการน าหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการด าเนินชีวิต

➢ เป็ นบุคคลด้านจิตอาสา

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้ด้านการแปรรูปอาหาร

➢ เป็ นวิทยากรการให้ความรู้การท าน ้าหมักชีวภาพ

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้ด้านการท าปุ๋ ยข้าว

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้ด้านการปลูกผักปลอดสารพิษ

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้ด้านการท าน ้าพริกแกง

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้ด้านการเพาะเห็ด

➢ ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

➢ เป็ นคณะกรรม กศน.ต าบล

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้ในรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพและกลุ่มสนใจ

➢ เป็ นบุคคลจิตอาสาในด้านการให้ความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย

ทุกหน่วยงาน

37/2 หมู่1 บ้านท่ามะเฟือง ต.ท่าช้าง

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก 65150

0628692839

Nan Nannaphat

87

สาขา เกษตรกรรม

การปล

กข

าว กข.43 ข

้าวหอมมะลิ

นายประช

ม ฟั่นแจ

ชื่อครูนางสาวปิ ยะทัศน์ ปักษี

กศน.ต าบล มะต้อง

อ. พรหมพิราม จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 082-4048482

ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านคลอง

คล้า ต าบลมะต้อง ทดลองปลูกข้าวพันธุ์

กข.43 เนื้อที่จ านวน 2 ไร่ โดยไม่ใช้สารเคมี

แต่ใส่ปุ๋ ยอินทรีย์ และน ้าหมัก ฮอร์โมนไร่

แมลง หน่วยงานภาคีเครือข่ายที่เอื้อต่อการ

พัฒนา ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ

การผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) เกษตร

ต าบล กศน.ต าบลมะต้อง ที่ไม่หยุดยั้งการ

พัฒนาอย่างยังยืน ท าให้ชุมชนเกิด ่รูปแบบ

การท าเกษตรที่ไม่ใช้สารเคมี ต่อไป

➢ ปลูกข้าว กข.43 และข้าวหอมมะลิ

➢ ปลูกผักปลอดสารพิษ

➢ สามารถท าน ้าหมักชีวภาพเพื่อใช้ในการเกษตร

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้ในด้านเศรษฐกิจพอเพียง

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้ในรูปแบบกลุ่มสนใจ และ

งานเศรษกิจพอเพียง

➢ เป็ นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักศึกษาและประชาชนทัวไป ่

➢ สามารถให้ค าปรึกษาในเรื่องของการปลูกข้าว กข.43

และข้าวหอมมะลิ

บ้านคลองคล้า ต.มะต้อง

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก 65150

082-5029160

-

-

88

สาขา เกษตรกรรม

การปล

กผักปลอดสารพิษ

นางบ

บผา นาคมี

ชื่อครูนางมยุรี รอดแย้ม

กศน.ต าบลมะตูม

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์094-6172827

ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงต าบลมะตูม

ท าการปลูกผักปลอดสารพิษโดยใช้ภูมิปัญญา

ท้องถิ่น ที่มีในชุมชน โดยไม่ใช้สารฆ่าแมลง

เริ่มจากการทดลองปลูก จนได้ผลผลิตที่ดี

สามารถน ามาบริโภคและจ าหน่ายเสริมสร้าง

รายได้ให้ กับตนเอง ชุมชน ส่ งเสริมให้ กับ

ชุมชน ได้มีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้ ให้ กับ

ตนเองและครอบครัว เป็ นการใช้เวลาว่างให้

เป็ นประโยชน์และกลายมาเป็ น ผลิตภัณฑ์

ของชุมชน เป็ นผลผลิตทางเกษตรที่ปลอด

สารพิษ เช่ น กระหล ่า ผักกาดขาว กวางตุ้ง

บวบ ชะอ ม ผักก าดขม ก ะห ล ่าดอ ก

ต้นหอม ผักชีเป็ นการรวมตัวของชาวบ้าน

โดยเน้นการปลูกผัก ไม่ใช้สารเคมี สร้าง

รายได้ให้กับชุมชน

➢ ปลูกผักปลอดสารพิษ

➢ สร้างรายได้เสริม ราคาไม่แพง

➢ ปลอดภัย ไร้ยาฆ่าแมลง

➢ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้ การปลูกผักปลอดสารพิษ

➢ เป็ นแหล่งเรียนรู้ให้กับชาวบ้าน ประชาชนทั่วไป

➢ ประชาชน ใช้เวลาว่างร่วมกัน

➢ ให้ค าแนะน าปรึกษา ในเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ

และเป็ นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักศึกษาและคนที่สนใจทั่วไป

ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

บ้านไผ่ขอน ้า ม.4 ต.มะตูม อ.พรหมพิราม

055-311380

-

-

89

สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

ผลิตภัณฑ์แปรร

ปจากกล้วย

นางสาวนพรัศม์ สําลี

ชื่อครูนางนภาพรรณ บัวมา

กศน.ต าบลวงฆ้อง

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์081596 9775

สมาชิกหมู่บ้าน หมู่ที่ 3 บ้านวงฆ้อง

ต าบลวงฆ้อง อ าเภอพรหมพิราม จังหวัด

พิ ษ ณุ โ ล ก มี ค ว า ม คิ ด ที่ จ ะ น า วั ส ดุ

ธรรมชาติที่มีอยู่ในชุมชน อาทิ กาบกล้วย

กาบหมาก วัสดุจากธรรมชาติ มาขึ้นรูป

เป็ นภาชนะ รูปแบบต่างๆ เพื่อใช้ทดแทน

พลาสติก หรือ โฟม ซึ่งคุณสมบัติของ

วัสดุธรรมชาติ เหล่านี้ ย่อยสลายได้เร็ว

เนื่องจากเป็ นวัสดุธรรมชาติ สามารถย่อย

สลายด้วย จุลินทรีย์ธรรมชาติ และเป็ น

มิตรกับสิ่งแวดล้อม

1.ส่งเสริมมาตรการรัฐในการรณรงค์การลดใช้พลาสติกและโฟม ส่งเสริม

การใช้วัสดุที่สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ

2.สร้างรายได้และอาชีพให้แก่สมาชิกในชุมชนสร้างงานสร้างอาชีพ

3.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถท าการแปรรูปและออกแบบผลิตภัณฑ์จาก

วัสดุธรรมชาติ (กล้วย) และพัฒนาการแปรรูปและออกแบบผลิตภัณฑ์

จากวัสดุธรรมชาติ (กล้วย) ในรูปแบบต่างๆได้

1.ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

2.วิทยากรให้ความรู้เรื่องการออกแบบผลิตภัณฑ์จากกล้วย

3.องค์การบริหารส่วนต าบลวงฆ้อง

4. ส านักงานพัฒนาชุมชนอ าเภอพรหมพิราม

93/2 หมู่ที่ 3 ต.วงฆ้อง

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก 65180

08 2177 7634

mudmee2524

มัดหมี่ คนพรหมพิราม

90

สาขา เกษตรกรรม

การปล

กและแปรร

ปสม

นไพร

นางสาวสิริพรรณ ศรีค

ชื่อครูนางสาวพรรณทิพย์ อยู่ทิพย์

กศน.ต าบลวังวน

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 082-496-8945

ในปี 2564 กศน.ต ำบลวังวน ได้จัดท ำเวที

ประชำคมถึงปัญหำและควำมต้องกำรด้ำน

อำชีพของชำวบ้ำน และต่อมำได้เปิ ดกลุ่มชั้น

เรียนวิชำชีพหลักสูตรกำรกำรปลูกและแปร

รู ปกระชำยเพื่อกำรค้ำ เป็ นหลักสูตรที่น ำ

ทรัพยำกรที่มีอยู่ในท้องถิ่นมำบริหำรจัดกำร

(ซึ่ งต่อมำได้รับกำรคัดเลือกเป็ นหลักสูตร

Best Practicesของกศน.อ ำเภอพรหมพิรำม)

โดยมีนำงสำวสิริ พรรณ ศรี คูณ เป็ นผู้ให้

ควำมรู้และเป็ นแกรนน ำในกำรรวมกลุ่ม

พัฒนำต่อยอดผลิตภัณฑ์จำกกำรแปรรู ป

กระชำยที่เป็ นสมุนไพรพื้นบ้ำนมำเพิ่มมูลค่ำ

เจำะกลุ่มคนรักสุ ขภำพ จนมีกำรแปรรูป

สมุนไพรที่หลำกหลำย สร้ำงรำยได้กับชุมชน

00000000

➢ กำรปลูกและแปรรูปแปรสมุนไพรพื้นบ้ำนของคนในชุมชน

➢ เป็ นผลิตภัณฑ์ส่งเสริมสุขภำพ

➢ เป็ นผลิตภัณฑ์ที่ตรงกับควำมต้องกำร ตรงกระแสสมุนไพรต้ำนโควิด -19

➢ มีผลิตภัณฑ์ที่หลำกหลำย เช่น ชำกระชำย ชำสำมเกลอ

ชำจันท่อม น ้ำกระชำยพร้อมดื่ม

➢ กำรท ำน ้ำหมักชีวภำพเพื่อใช้ในในกำรเพำะปลูก

➢ มีกำรรวมกลุ่มเพื่อจดทะเบียนวิสำหกิจชุมชน

➢ จดทะเบียนผลิตภัณฑ์ OTOPของอ ำเภอพรหมพิรำม

➢ ผลิตภัณฑ์ของชุมชนสำมำรถสร้ำงรำยได้ตลอดปี

➢ เป็ นวิทยำกรให้ควำมรู้ในด้ำนเศรษฐกิจพอเพียง

➢ มีกำรจัดท ำบัญชีรำยรับรำยจ่ำยของกลุ่ม

➢ ได้รับกำรส่งเสริมต่อยอดจำกภำคีเครีอข่ำยและหน่วยงำนรำชกำร

➢ ภำคีเครือข่ำยร่วมจัดและสนับสนุนกำรศึกษำนอกระบบและ

กำรศึกษำตำมอัธยำศัย

➢ เป็ นวิทยำกรให้ควำมรู้ในรูปแบบชั้นเรียนวิชำชีพ และด้ำน

เศรษกิจพอเพียง

➢ เป็ นแหล่งเรียนรู้ให้กับนักศึกษำและประชำชนทัวไป ่

➢ สำมำรถให้ค ำปรึกษำในเรื่องกำรปลูกและแปรรูปสมุนไพร

กำรท ำน ้ำหมักชีวภำพ และกำรท ำดินเพำะปลูก

➢ เป็ นตัวอย่ำงกำรน ำหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงมำปรับใช้

ในกำรชีวิตประจ ำได้ประสพผลส ำเร็จ

22 หมู่ที่ 6 บ้ำนคลองท ำเนียบ ต.วังวน

อ.พรหมพิรำม จ.พิษณุโลก 65150

082-9210615 , 098-9245491

098-9245491

สิริพรรณ ศรีคูณ

91

สาขาอ

ตสาหกรรมและหัตถกรรม

(ด

้านการผลิตและการบริโภค)

หมวกสานจากเส้นพลาสติก

นางไพรินทร์ อินทร์ค ่า

ชื่อครูนายมาโนช ทองรัตน์

กศน.ต าบลศรีภิรมย์

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์086-0981942

ในอดีตเดิมชุมชนบ้านบุ่งแห่งนี้มีการ

สานหมวกไม้จากไม้ไผ่ มานานนับ 20 ปี

ก ลุ่ มสมา ชิ ก มี ก า รร วม ก ลุ่ ม มา อ ย่ า ง

ต่อเนื่อง แต่ในปัจจุบันวัสดุจากไม้ไผ่หา

ย า ก แ ล ะ มี ป ริ มา ณ น้ อย ลง จึ ง มี ภาคี

เครือข่ายหน่ วยงานราชการร่ วมจัดการ

เรียนรู้การสานหมวกจากเส้นพลาสติก

เป็ นต้ นมา แ ล ะ มี ก า รพัฒนารู ปแบบ

มากมาย เพื่อเป็ นการพัฒนารู ปแบบ

ผลิตภัณฑ์ชุมชน สร้างชื่อเสียงให้กับต าบล

ศรีภิรมย์ อ าเภอพรหมพิราม จังหวัด

พิษณุโลก เป็ นที่รู้จักในระดับประเทศ และ

สร้างรายได้ให้กับชุมชน จึงเป็ นผลท าให้

ชุมชนแห่งนี้ เป็ นชุมชนท่องเที่ยว OTOP

นวัตวิถี

เวลา 09.00 - 15.00 น.

ค่าบริการ 150บาท/คน

จ านวนที่รับได้ต่อรอบ ไม่เกิน

10 คน

สถานที่ด าเนินการ บ้านเลขที่ 113

➢ กลุ่มการสานหมวก บ้านบุ่ง เป็ นกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่เข้มแข็ง

➢ สมาชิกในกลุ่ม จ านวน 20 คน

➢ มีภาคีเครีอข่ายร่วมจัดกิจกรรมจากหน่วยงานราชการ

➢ รูปแบบการสานเส้ นพลาสติกมาหลายแบบ

➢ สีสันสวยงาม คงทน แข็งแรง ต้นทุนต ่า

➢ ผลิตภัณฑ์ OTOP 4 ดาว

➢ ผลิตภัณฑ์ของชุมชนสามารถสร้างรายได้ตลอดปี

➢ สมาชิกในกลุ่มมีรายได้เพิ่มขึ้น

➢ วิทยากรมีความรู้ ความสามารถ และเป็ นชุมชนท่องเที่ยว

OTOP นวัตวิถี

1.ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษา

ตามอัธยาศัย

2.วิทยากรให้ความรู้เรื่องการออกแบบผลิตภัณฑ์จากเส้นพลาสติก

3.องค์การบริหารส่วนต าบลศรีภิรมย์

4. ส านักงานพัฒนาชุมชนอ าเภอพรหมพิราม

5. ส านักงานสถิติจังหวัดพิษณุโลก

6. ส านักงานเกษตรอ าเภอพรหมพิราม

7. ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านบุ่ง ต าบลศรีภิรมย์

8. ส านักงานท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จังหวัดพิษณุโลก

113 หมู่ที่ 5 ต.ศรีภิรมย์

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก 65180

086-0616578

086-0616578

ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

92

ชื่อครูนางกรรณิการ์ บุญกลั่นสอน

กศน.ต.หนองแขม

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก

เบอร์โทรศัพท์ 083-486-8445

นายชาญ มันฤทธิ์ ประกอบอาชีพการเกษตร ่

ท าไร่นาสวนผสมหรือทฤษฎีใหม่จ านวน 15 ไร่

เป็ นคนซื่ อสัตย์ มีความขยันหมั่นเพียรศึกษา

หาความรู้ใหม่ๆ เพื่อน ามาปรับใช้และพัฒนา

อาชีพเกษตรกรรม ท าการเกษตรที่หลากหลาย

โดยการท าเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง “อยู่ดีกินดีด้วยวิถีพึ่งตนเองตาม

รอยพระราชด าริ ด้วยการพึ่งตนเอง ปลูกทุกอย่าง

ที่กินและกินทุกอย่างที่ปลูก ลดรายจ่ายและเพิ่ม

รายได้ให้ครอบครัว ” เป็ นวิทยากร ในด้าน

เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ทั้งในและนอก

สถานที่เป็ นจุดสาธิตและตัวอย่างต้นแบบของ

ทางด้านเศรษฐกิจพอเพเพียง เป็ นที่ศึกษาดูงาน

ของเกษตรกรทัวไปชุมชน และหน่วยงานต่างๆ ่

➢ เป็ นบุคคลต้นแบบที่น าความรู้ด้านการน าหลักปรัชญาเศรษกิจพอเพียง

มาปรับใช้ในการด าเนินชีวิต

➢ ได้รับคัดเลือกเป็ นเกษตรดีเด่นระดับประเทศ

➢ ได้รับคัดเลือกเป็ นผู้น าชุมชนดีเด่น

➢ ประสบความส าเร็จในการท ากิจกรรมที่หลากหลายรูปแบบ หรือไร่นา

สวนผสม ทฤษฎีใหม่ เศรษฐกิจพอเพียง

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้การท าน ้าหมักชีวภาพสูตรต่างๆ

➢ เป็ นแหล่งเรียนและศึกษาดูงานของประชาชนทัวไปและหน่วยงานต่างๆ ่

➢ เป็ นเกษตรกรที่พัฒนาตนเองในด้านความรู้อย่างต่อเนื่อง

➢ ภาคีเครือข่ายร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษานอกระบบและ

การศึกษาตามอัธยาศัย

➢ เป็ นวิทยากรให้ความรู้ในการท าเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพียง

➢ เป็ นบุคคลตัวอย่างประชาชนทัวไป ่

➢ เป็ นตัวอย่างการน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการชีวิต

ประจ าได้ประสพผลส าเร็จ

100 หมู่ที่ 5 บ้านหาดใหญ่ ต.หนองแขม

อ.พรหมพิราม จ.พิษณุโลก 65150

089-7083633

089-7083633

นายชาญ มันฤทธิ์ ่

สาขา เกษตรกรรม

การท าเกษตร

นายชาญ มั่นฤทธิ�

93

สำสำนั นักงาน กศน.จั จังหวัวัดพิ พิษณุ ณุโลก

กลุ่มส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย