ตัวอย่าง การ ปรับปรุง ผล งาน ทาง วิชาการ

ตัวอย่างการเขียน บทที่ 1 ผลงานทางวิชาการเพื่อให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู เลื่อนเป็นวิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญ

จากเกณฑ์คะแนนจากแบบประเมินด้านที่ 3 ด้านผลงานทางวิชาการ เพื่อให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู เลื่อนเป็นวิทยฐานะครูเชี่ยวชาญด้านที่ 3 ด้านผลงานทางวิชาการเพื่อให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครู เลื่อนเป็นวิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ

การประเมินด้านที่ 3 ด้านผลงานทางวิชาการสำหรับวิทยฐานะครูเชี่ยวชาญและวิทยฐานะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ มีองค์ประกอบการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน วิธีการประเมิน และเกณฑ์การตัดสินดังนี้

1. องค์ประกอบการประเมินและเกณฑ์การให้คะแนน

การประเมินและการให้คะแนน จำแนกออกเป็น 2 ส่วน จำนวน 6 ตัวชี้วัด ดังนี้

ส่วนที่ 1 คุณภาพของผลงานทางวิชาการ(คะแนนเต็ม 50 คะแนน)

1.1 ความถูกต้องตามหลักวิชาการ (20 คะแนน)

1.2 ความคาดหวังในระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิทยฐานะ (15 คะแนน)

  1. วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญ ความคาดหวังในระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิทยฐานะต้องแสดงให้เห็นถึงการคิดค้น ปรับเปลี่ยนนวัตกรรมในการจัดการเรียนรู้ และเป็นแบบอย่างที่ดี
  1. วิทยฐานะครูเชี่ยวชาญพิเศษ ความคาดหวังในระดับการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิทยฐานะ ต้องแสดงให้เห็นถึงการสร้างการเปลี่ยนแปลง เผยแพร่และขยายผลในวงวิชาชีพ และเป็นแบบอย่างที่ดี

1.3 ความสมบูรณ์ของเนื้อหาสาระ (10 คะแนน)

1.4 การจัดทำการพิมพ์ รูปเล่ม และการเผยแพร่ (5 คะแนน)

ส่วนที่ 2 ประโยชน์ของผลงานทางวิชาการ (คะแนนเต็ม 50 คะแนน)

2.1 ประโยชน์ต่อผู้เรียน ครูบุคลากรทางการศึกษา สถานศึกษา และชุมชน

2.2 ประโยชน์ต่อความก้าวหน้าในวงวิชาชีพ ต้องสามารถปรับเปลี่ยน และสร้าง การเปลี่ยนแปลงในวงวิชาการและวงวิชาชีพ ตามมาตรฐานวิทยฐานะที่ขอรับการประเมิน

ดังนั้นในการเขียนงานวิจัยควรตอบโจทย์ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับผลงานทางวิชาการดังนี้

ผลงานทางวิชาการ เรื่อง ……………………………………………………………………………………………………………………. ต้องแปลกใหม่และเป็นประโยชน์แก่วงการศึกษา และวงวิชาการ

บทความนี้จะลงตัวอย่างของการเขียนรายงานในบทที่ 1 เพื่อ ใช้สำหรับเป็นแนวทางในการเขียนรายงานการวิจัยครับ ท่านสามารถนำไปปรับแต่งเพื่อความเหมาะสมกับงานของท่านได้เลยครับ

บทที่ 1 บทนำ

โดยส่วนใหญ่จะเป็นการกล่าวถึง…..

  • ที่มาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย การนำเสนอข้อมูลในภาพใหญ่ สู่สภาพปัจจุบันปัญหาที่เกิดขึ้น
  • การวิเคราะห์ถึงสาเหตุของปัญหา และระบุแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยอ้างอิงจากแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และองค์ความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาค้นคว้างานวิจัย
  • กำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย ซึ่งกล่าวถึงผลที่ต้องการได้รับภายหลังจากการดำเนินการวิจัยแล้ว
  • ผลที่คาดว่าจะได้รับ จะเชื่อมโยงสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย
  • การกำหนดคำถามการวิจัย เป็นสมมุติฐานที่ว่าเมื่อเสร็จสิ้นการดำเนินการแล้วจะได้รับผลอย่างไร แสดงนัยความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร การคาดเดาคำตอบอย่างมีเหตุผล เป็นแนวทางในการค้นคว้าทดลองเกี่ยวกับเรื่องนั้นโดยเฉพาะ
  • การกำหนดขอบเขตของการวิจัย แสดงกรอบเนื้อหา ตัวแปร เครื่องมือ และเวลาที่ใช้ และกำหนดนิยามศัพท์เฉพาะ เป็นนิยามเชิงปฏิบัติการที่เฉพาะเจาะจงในการทำวิจัยเรื่องนี้ ทั้งนี้ ถ้าเป็นคำศัพท์โดยทั่วไป อาจไม่ปรากฎในหัวข้อนี้

ดังนั้น ในบทนี้จะตอบปัญหาที่ว่า ทำไมถึงจัดทำ และมีวัตถุประสงค์อย่างไรที่จะแก้ปัญหา

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

ความทั่วไปกล่าวอย่างกว้าง ๆ………………………………………………………………………………………

ความที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะทำการวิจัย………………………………………………………………………..

ความที่อธิบายลักษณะของปัญหาตัวแปร ที่จะทำการวิจัย……………………………………………….

ความสรุปถึงผลความจำเป็นของการวิจัยเรื่องนั้น ๆ…………………………………………………………

วัตถุประสงค์ของการวิจัย

  1. เพื่อพัฒนา…………………………………………………………………………………………………………….
  2. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วย…………………………………………….
  3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนด้วย……………………………………………………….

สมมุติฐานการวิจัย

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ที่เรียนด้วย…………………………………………………………….หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

ขอบเขตของการวิจัย

1.ประชากร และกลุ่มตัวอย่างผู้รายงานแบ่งขั้นตอนในการเก็บข้อมูลออกเป็น 2 ส่วน จากกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม ดังนี้

1.1 พัฒนารูปแบบ…………………………………………………………………………………………………. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน

1.2 ขั้นตอนการทดลองใช้รูปแบบ……………………………………………………………………………..

1.2.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้น……………………………. โรงเรียน………………………. ประจำปีการศึกษา …………… จำนวน ……….. ห้อง รวมทั้งสิ้น ………………… คน

1.2.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้น…………………………. โรงเรียน………………………ปีการศึกษา……………. ที่เรียนวิชา…………………………………. ด้วยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive sampling) 1 ห้องเรียนจำนวน …………….. คน

2. รูปแบบ…………………………………………. ใช้เนื้อหาจากวิชา……………….ในภาคเรียนที่……. จำนวน………. ชั่วโมง ในหน่วยการเรียนที่……… เรื่อง………………แบ่งออกเป็น……….. เรื่อง ดังนี้

2.1 เรื่องที่ 1 ……………………………………………………………………………………………………..

2.2 เรื่องที่ 2 ……………………………………………………………………………………………………..

2.3 เรื่องที่ 3 ……………………………………………………………………………………………………..

3. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัย รวมทั้งสิ้นจำนวน………… สัปดาห์ สัปดาห์ละ…………….. ชั่วโมง รวม …………….. ชั่วโมง ในภาคเรียนที่ ……….. ปีการศึกษา …………. ในการทดลองและเก็บข้อมูล

ผลงานทางวิชาการ คือ อะไร มีอะไรบ้าง

ประเภทของผลงานทางวิชาการ.

1. หนังสือ.

2. ตำรา.

3. เอกสารประกอบการสอน.

4. เอกสารคำสอน.

5. บทความทางวิชาการ.

6. ผลงานวิจัย/วิเคราะห์.

7. งานแปล.

8. รายงานการศึกษาค้นคว้า.

การเขียนทางวิชาการ มีอะไรบ้าง

1. การเลือกเรื่องหรือหัวข้อ 2. การค้นคว้าและรวบรวมแหล่งค้นคว้า 3. การวางโครงเรื่อง 4. การอ่านและจดบันทึกข้อมูล 5. การเรียบเรียงเนื้อเรื่อง 6. การเขียนบรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง 7. การเขียนส่วนประกอบอื่นๆ (ปกนอก หน้าปกใน คานา สารบัญ)

ลักษณะของงานเขียนเชิงวิชาการที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร

งานเขียนเชิงวิชาการจะเขียนเป็นร้อยแก้วหรือความเรียงในลักษณะบรรยายหรืออธิบายโวหาร มีการจําแนกประเด็นให้ชัดเจนและจัดกลุ่มให้เหมาะสม นอกจากนีอาจใช้สือประกอบต่างๆ เพือช่วยให้ ผู้อ่านเข้าใจเนือหาได้ง่ายขึน เช่น ภาพประกอบ แผนภูมิ กราฟ ตาราง สถิติต่างๆ เป็นต้น

ครู ค ศ 5 ใน ประเทศไทย มี กี่ คน

  1. 50. ครู คศ.5.