ตัวอย่าง การ ท่องเที่ยว เชิง อนุรักษ์

การท่องเที่ยว หมายถึง การที่คนเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ และตลอดระยะเวลาเหล่านั้นได้มีกิจกรรมต่างๆ เกิดขึ้น การไปเที่ยวชมสถานที่ที่สวยงามหรือทัศนียภาพแปลกใหม่ หรือเดินซื้อสิ่งของต่างๆ เป็นต้น การท่องเที่ยวมีหลายรูปแบบด้วยกันทั้งนี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ระยะเวลาในการท่องเที่ยว ประเภทของการคมนาคม จำนวนสมาชิกหรือค่าใช้จ่ายต่างๆ เป็นต้น

คำว่า นิเวศ แปลว่า บ้านหรือที่อยู่อาศัย (ราชบัณฑิตยสถาน, 2554) ดังนั้น การท่องเที่ยวเชิงนิเวศจึงเป็นการท่องเที่ยวที่เน้นในด้านการเรียนรู้เกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต การท่องเที่ยวตามแหล่งอนุรักษ์ทางธรรมชาติหรือวัฒนธรรม อย่างมีความรับผิดชอบ การสนับสนุนคนพื้นเมืองให้มีการศึกษาและความเป็นอยู่ที่ดี รวมถึงการแบ่งปันความรู้ทั้งคนในพื้นที่และผู้เยี่ยมเยือน การท่องเที่ยวเชิงนิเวศเป็นการหลอมรวมกันเป็นหนึ่งเดียวระหว่างการอนุรักษ์ชุมชนและการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ซึ่งหมายความว่าทุกคนที่มีส่วนร่วมในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศควรนำหลักแนวคิดต่างๆ มาใช้ ได้แก่ (1) ลดผลกระทบทางกายภาพ สังคม พฤติกรรม และทางจิตใจ (2) สร้างความตระหนักและความเคารพต่อสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม (3) มอบประสบการณ์แง่บวกให้กันและกันทั้งผู้เยี่ยมเยือนและเจ้าบ้าน (4) ให้ความสนับสนุนทางการเงินในการอนุรักษ์ (5) สร้างรายได้ให้แก่คนท้องถิ่นและอุตสาหกรรม (6) รับรู้ถึงสิทธิและความเชื่อของชนพื้นเมืองในพื้นที่และทำงานร่วมกันเพื่อสร้างแรงจูงใจให้กับทุกคน (The International Ecotourism Society. (2015). What is Ecotourism?. Retrieved February 18, 2022, from https://www.ecotourism.org/what-is-ecotourism/

การท่องเที่ยวสร้างผลกระทบต่อธรรมชาติอยู่ไม่น้อย กล่าวคือ หลายพฤติกรรมที่เกิดขึ้นระหว่างการท่องเที่ยว ได้เข้าไปคุกคามและเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในพื้นที่นั้น ๆ อย่าง การทิ้งขยะเอาไว้เป็นของฝากจากภายนอกแก่ธรรมชาติ การล่าสัตว์ หรือการเอาทรัพยากรธรรมชาติออกไปนอกพื้นที่นั้น ๆ เป็นต้น โดยพฤติกรรมเหล่านี้นับเป็นตัวเร่งเวลาให้ธรรมชาติเสื่อมโทรมเร็วขึ้น

ดังนั้นการท่องเที่ยววิถีอนุรักษ์ หรือ การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ (Ecotourism) จึงถือกำเนิดขึ้นมา เพื่อเข้ามาแก้ไขปัญหาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการท่องเที่ยวและส่งเสริมมให้ผู้คนหันมาตระหนักต่อเรื่องสิ่งแวดล้อมมากขึ้น

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์คืออะไรและมีเป้าหมายอย่างไร ?

องค์การการท่องเที่ยวโลก หรือ The World Tourism Organization (UNWTO) ได้นิยามการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ไว้ว่า เป็นการท่องเที่ยวทางธรรมชาติในทุกรูปแบบ โดยมีแรงจูงใจหลักคือการให้นักท่องเที่ยวได้สังเกตและชื่นชมธรรมชาติ ตลอดจนวัฒนธรรมดั้งเดิมที่แพร่หลายในพื้นที่ธรรมชาตินั้น ๆ ในขณะเดียวกันการท่องเที่ยวก็ต้องสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจให้แก่ชุมชนท้องถิ่นด้วย

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์มีเป้าหมายหลักอยู่ 2 ส่วน คือ เป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อม และเป้าหมายด้านชุมชน

ในส่วนของเป้าหมายด้านสิ่งแวดล้อมนั้น อย่างที่ทราบกันว่าการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ถูกออกแบบมาเพื่อปกป้องความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศที่เปราะบางของพื้นที่ธรรมชาติ นี่จึงถือเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้มาเยือนได้สัมผัสกับความสวยงามของธรรมชาติในพื้นที่ ซึ่งจะต้องดำเนินไปตามเงื่อนไขเพื่อไม่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อธรรมชาติ

ถัดมาในส่วนของเป้าหมายด้านชุมชน โดยต้องการให้ผู้มาเยือนพื้นที่ได้ซึมซับวัฒนธรรมและเรียนรู้ขนบธรรมเนียมท้องถิ่นผ่านการมาใช้ชีวิตในชีวิตในชุมชนภายในพื้นที่ทางธรรมชาติ ซึ่งการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ถือเป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจแก่ชุมชนอย่างมาก เนื่องจากการท่องเที่ยวดังกล่าวเปิดโอกาสให้เกิดการจ้างงานและสร้างรายได้ทางเลือกให้ทั้งชุมชนท้องถิ่น องค์กร และหน่วยงานที่บริหารจัดการตามพื้นที่ธรรมชาตินั้น ๆ

ทำไมเราถึงต้องการการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ ?

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์เป็นอีกหนึ่งวิธีสำคัญที่เข้ามามีบทบาทในวงการการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เนื่องจากการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์นับเป็นการหยิบเอาวิถีการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการส่งเสริมท้องถิ่นมาผนวกร่วมกับการท่องเที่ยว อันเป็นกิจกรรมที่สามารถเป็นตัวกลางในการส่งต่อเป้าหมายของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์สู่ประชาชนทั่วไปได้

หากพิจารณาปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน พบว่าปัญหาเกือบทั้งหมดเกิดจากการกระทำของมนุษย์ และส่วนใหญ่ล้วนเป็นกิจกรรมในชีวิตประจำวันของทุกคน ซึ่งการท่องเที่ยวเองก็เป็นอีกหนึ่งกิจกรรมที่สร้างปัญหามากมายต่อระบบนิเวศ ดังนั้นหากสามารถลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการท่องเที่ยวได้ จึงนับเป็นเรื่องที่ดีอย่างยิ่ง และคุ้มค่าที่จะทำมัน

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์เป็นการท่องเที่ยววิถีอนุรักษ์ที่สามารถดึงเอา คน กับ ธรรมชาติ มาอยู่ร่วมกันได้ ดังนั้นถึงเวลาแล้วที่ทุกภาคส่วนจะหันมาให้ความสนใจกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ และร่วมกันผลักดันการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ให้ทุกคนเข้าใจและเข้าถึงได้ เพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติอย่างยั่งยืนต่อไป

อ้างอิง

  • What is ecotourism?
  • What Is Ecotourism, and How Can It Help the Environment?
  • What Ecotourism is – Definition and Benefits for Tourism
  • ภาพประกอบ Alfonso Cerezo

ผู้เขียน

ตัวอย่าง การ ท่องเที่ยว เชิง อนุรักษ์

ธนกฤต แดงทองดี

หนุ่มน้อยผู้หลงรักความไม่สมบูรณ์แบบ ออกเดินทางเพื่อเก็บภาพความงดงามของธรรมชาติ และชอบอ่านวรรณกรรมเป็นชีวิตจิตใจ

หลังจากผ่านสถานการณ์โรคระบาดระดับโลก COVID-19 ที่ทำให้ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยชะลอตัวไปหลายปี ณ เวลานี้ ประเทศไทยเราสามารถเริ่มเปิดรับนักท่องเที่ยวเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจอีกครั้ง และหากเราทำให้การท่องเที่ยวของเราเป็นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การท่องเที่ยวของเราก็จะเป็นส่วนหนึ่งในการช่วยรักษาสิ่งแวดล้อมและลดการใช้ทรัพยากรที่สิ้นเปลืองไปในตัว ผู้เขียนได้นำแนวทางดีๆ มาฝากตามมาดูกันเลยครับ

นิยามของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ คืออะไร

การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ (Ecotourism) คือ การท่องเที่ยวอย่างมีจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม พร้อมตระหนักในคุณค่าของมรดกทางธรรมชาติ และวัฒนธรรมในท้องถิ่นร่วมกับชุมชนในท้องถิ่น จึงไม่ได้จำกัดแค่การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการได้ช่วยเหลือชุมชนและท้องถิ่นได้อย่างยั่งยืนอีกด้วย

ตัวอย่าง การ ท่องเที่ยว เชิง อนุรักษ์

ทั้งนี้การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์กำลังได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นจากนักท่องเที่ยวทั้งในประเทศไทยและทั่วโลก เมื่อปี 2563 ทางเว็บไซต์ Booking.com ได้ทำการสำรวจนักท่องเที่ยวกว่า 20,000 คน ใน 28 ประเทศทั่วโลก พบว่า นักท่องเที่ยวถึง 80% ชื่นชอบการเที่ยวในสถานที่ที่ไม่ค่อยมีใครไป เพื่อเป็นการเปิดประสบการณ์ใหม่ๆ โดยเฉพาะการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ชุมชนกำลังเป็นกระแสมาแรงในหมู่วัยรุ่นและคนทั่วไป เพราะได้รับประสบการณ์ใหม่ๆ เป็นการเที่ยวแบบแนวผจญภัย นอกจากนี้ยังชอบที่จะเที่ยวแบบช่วยเหลือชุมชน เพื่อสร้างประโยชน์และมีส่วนร่วมในการฟื้นฟูท้องถิ่นอีกด้วย

ขณะที่ผลสำรวจจาก Airbnb เผยว่า คนไทยสนใจการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และเข้าใกล้ธรรมชาติมากขึ้น โดย 73% พิจารณาการท่องเที่ยวจากเหตุผลด้านสิ่งแวดล้อม และความยั่งยืน หากต้องตัดสินใจเลือกรูปแบบที่พัก จะเลือกจากการได้ใกล้ชิดธรรมชาติ สถานที่ที่มีอากาศดี อาจเป็นบ้านพักของครอบครัว หรือเพื่อนที่ต่างจังหวัด

ท่องเที่ยวอุทยานในประเทศเชิงอนุรักษ์แบบยั่งยืน ไม่ทำร้ายโลก รักษ์สิ่งแวดล้อม ตามอินฟลูเอนเซอร์สายกรีน

ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ต้องทำอย่างไรกันบ้าง

  • จัดกระเป๋าเท่าที่จำเป็น จัดเสื้อผ้าให้เท่ากับจำนวนวันที่ต้องเดินทาง เพื่อลดน้ำหนักกระเป๋าให้เบาลง ซึ่งจะช่วยประหยัดน้ำมันยานพาหนะได้มาก และทำให้เดินทางคล่องตัวขึ้นด้วย

ตัวอย่าง การ ท่องเที่ยว เชิง อนุรักษ์

  • พกอุปกรณ์อาบน้ำไปเอง การพกพาของใช้เหล่านี้ไปเองก็ช่วยลดการเกิดขยะพลาสติก จากอุปกรณ์อาบน้ำของทางโรงแรมที่จัดเตรียมไว้ให้กับแขกที่เข้าพักได้

ตัวอย่าง การ ท่องเที่ยว เชิง อนุรักษ์

  • ไม่จำเป็นต้องเปลี่ยนผ้าเช็ดตัว หรือผ้าปูที่นอนทุกวัน เพื่อช่วยลดปริมาณน้ำที่เกิดจากการซักล้าง

ตัวอย่าง การ ท่องเที่ยว เชิง อนุรักษ์

  • วางแผนการเดินทางทุกครั้ง ก่อนไปเที่ยวอย่าลืมวางแผนการเดินทางว่าจะต้องไปเส้นทางไหนบ้าง เพื่อลดปริมาณน้ำมันในการขับรถตระเวนหาสถานที่ และประหยัดเวลาได้มาก

ตัวอย่าง การ ท่องเที่ยว เชิง อนุรักษ์

  • ใช้จักรยานแทนรถ หากต้องการเดินทางไปบริเวณใกล้ๆ แล้วมีจักรยานให้เช่าบริการ ควรเลือกใช้จักรยานแทนการขับรถ

ตัวอย่าง การ ท่องเที่ยว เชิง อนุรักษ์

  • นำแก้วน้ำดื่มและกล่องข้าวไปเอง เพื่อลดการใช้ขวด หรือแก้วพลาสติก รวมถึงบรรจุภัณฑ์กล่องโฟม ไม่ให้มีปริมาณขยะพลาสติกเพิ่มขึ้น

ตัวอย่าง การ ท่องเที่ยว เชิง อนุรักษ์

  • ไม่ใช้หลอดพลาสติก นอกจากใช้แก้วส่วนตัวแล้ว หากไปซื้อเครื่องดื่มก็อย่าลืมบอกพนักงานว่า “ไม่รับ” หลอดพลาสติกด้วย

ตัวอย่าง การ ท่องเที่ยว เชิง อนุรักษ์

  • นำขยะไปทิ้งข้างนอกอุทยานฯ หากต้องเดินทางไปเที่ยวที่อุทยานฯ หรือแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติ ควรนำถุงสำหรับใส่ขยะไปด้วย เพื่อเอาขยะที่เราใช้ไปทิ้งภายนอกอุทยานฯ ทุกครั้ง ที่สำคัญอย่าลืมแยกขยะเพื่อช่วยลดปริมาณขยะพลาสติกที่หลงเหลือในแหล่งธรรมชาติ ซึ่งสัตว์ป่าอาจนำไปกินแล้วเกิดปัญหาสุขภาพและสิ่งแวดล้อมได้

ตัวอย่าง การ ท่องเที่ยว เชิง อนุรักษ์

  • ห้ามขีดเขียนทำหลายแหล่งธรรมชาติ ควรเก็บมาแค่เพียงรูปถ่ายและความทรงจำดีๆ เท่านั้น เพราะการขีดเขียน หรือทำสัญลักษณ์ต่างๆ ลงบนต้นไม้ โขดหิน โบราณสถาน หรือโบราณวัตถุต่างๆ ถือว่าเป็นการทำลายสิ่งแวดล้อมอย่างน่ารังเกียจ

ตัวอย่าง การ ท่องเที่ยว เชิง อนุรักษ์

  • ไม่นำของจากธรรมชาติกลับบ้าน ไม่ว่าจะเป็น ปะการัง ก้อนหิน ใบไม้ ไปจนถึงสัตว์น้อยใหญ่อย่างปูเสฉวน ลูกปลา ลูกนก ฯลฯ จากแหล่งท่องเที่ยวกลับไปโดยเด็ดขาด เพราะสิ่งเหล่านี้สวยงามที่สุดเมื่ออยู่กับแหล่งธรรมชาติต้นกำเนิดเท่านั้น

ตัวอย่าง การ ท่องเที่ยว เชิง อนุรักษ์

  • สนับสนุนเศรษฐกิจในชุมชน หากต้องการซื้อของฝาก หรือจับจ่ายใช้สอยอื่นๆ ควรเลือกใช้บริการจากร้านค้าท้องถิ่นในชุมชน ไม่ว่าจะเป็น ร้านอาหาร ร้านขายของชำ ไปจนถึงร้านขายของที่ระลึก เพื่อให้เกิดรายได้หมุนเวียนแก่คนในพื้นที่และเป็นการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน

ตัวอย่าง การ ท่องเที่ยว เชิง อนุรักษ์

หลังจากที่ผู้อ่านรู้จักการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และแนวทางการปฏิบัติตัวแล้ว ครั้งต่อไปเราจะพาไปดูอุทยานแห่งชาติในประเทศไทย ที่น่าสนใจ และแต่ละแห่งนั้นควรไปเที่ยวในช่วงเวลาไหนของปี ….ไว้พบกันในคอลัมน์ถัดไปนะครับ

ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ มีอะไรบ้าง

1.กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ได้แก่ การเดินป่า (hiking/ trekking) กิจกรรมศึกษาธรรมชาติ (nature education) กิจกรรมถ่ายรูปธรรมชาติ บันทึกเทปวีดีโอ เทปเสียงธรรมชาติ (nature photography video taping and sound of nature audio taping) กิจกรรมส่องสัตว์/ดูนก (animal/bird watching) กิจกรรมศึกษา/เที่ยวถ้ำ (cave exploring/ ...

การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์มีประโยชน์อย่างไร

วัตถุประสงค์ของการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 2. เพื่อเพิ่มประสบการณ์ที่มีคุณค่าสูงให้แก่นักท่องเที่ยวหรือผู้มาเยือนแหล่งท่องเที่ยว 3. เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของชุมชนที่แหล่งท่องเที่ยวตั้งอยู่ 4. เพื่อดูแลรักษาและคงไว้ซึ่งคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยว

กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ มีอะไรบ้าง

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศสามารถทำได้ในลักษณะต่างๆ เช่น การเดินป่า การขี่จักรยานลัดเลาะไปตามไร่นาและชนบท การชมถ้ำ น้ำตก น้ำพุร้อน การไต่เขา ปีนหน้าผา การนั่งเรือหรือล่องแพ การดำน้ำดูปะการัง การเยี่ยมชมวิถีชีวิตของชุมชนในท้องถิ่น เป็นต้น วิธีการเหล่านี้จะทำให้นักท่องเที่ยวมีโอกาสได้สัมผัสกับธรรมชาติอย่างแท้จริง ได้เรียนรู้ ...

การท่องเที่ยวเชิงเกษตร มีอะไรบ้าง

ท่องเที่ยวเชิงเกษตรออกเป็น 7 ประเภทดังนี้ การทานาปี การทานาปรัง การทานาหว่านน้าตม การทานาขั้นบันได พิพิธภัณฑ์ข้าว ความรู้ เรื่องข้าวสายพันธุ์ต่างๆ ประเพณี พิธีกรรมเกี่ยวกับข้าว เป็นต้น