Fta south africa ม ผลใช ก บไทยหร อย ง

World-wide There is duty-free trade between South Africa and the other four countries (Botswana, Lesotho, Namibia, and eSwatini) that comprise the Southern African Customs Union (SACU). The Southern African Development Community (SADC) Free Trade Agreement, as of 2012, allows duty-free trade among 12 of the 15 members. The European Union-South African Trade and Development Cooperation Agreement that came into effect in 2000, has as a progressive Free Trade Agreement (FTA) that has become the cornerstone of the regional trading landscape. South Africa has also negotiated agreements with the European Free Trade Association, the United Kingdom and Mercosur. South Africa, through SADC, has finalized negotiations on Phase I of the Tripartite Free Trade Agreement, which link SADC, the East Africa Community (EAC) and the Common Market of Eastern and Southern Africa (COMESA) into a free trade area. South Africa is also a member of the African Continental Free Trade Area (AfCFTA) which commenced trading in January 2021

The South African Reserve Bank approves currency exchanges.

Imports The Department of Trade, Industry and Competition (DTIC) is empowered to regulate, prohibit, or ration imports to South Africa in the national interests, but most goods may be imported into South Africa without any restrictions.

As a matter of government policy, the South African Government is aiming to open its market further to increase trade and to develop more competitive domestic industries. However, in 2006, the South African Government made exceptions to this approach to protect the labor-intensive garment industry. During 2020, the South African authorities enacted emergency measure to restrict all movement of goods and persons due to the Covid-19 pandemic; these have since been lifted.

FTA ย่อมาจาก Free Trade Area หรือเขตการค้าเสรี เป็นการทำความตกลงทางการค้าของประเทศ อาจเป็น 2 ประเทศ (ทวิภาคี) หรือเป็นกลุ่มประเทศ (พหุภาคี) ที่จะร่วมมือขจัดอุปสรรคทางการค้าทั้งที่เป็นภาษีศุลกากรและไม่ใช่ภาษีศุลกากร

  1. ความเป็นมาของเขตการค้าเสรี

    แนวคิดของการมีนโยบายการค้าเสรี คือประเทศจะเลือกผลิตสินค้าที่ตนเองถนัด และมีต้นทุนการผลิตต่ำที่สุด คือจะผลิตสินค้าที่คิดว่าประเทศตนได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Advantage)มากที่สุด แล้วนำสินค้าที่ผลิตได้นี้ไปแลกเปลี่ยนกับสินค้าที่ประเทศตนไม่ถนัด หรือเสียเปรียบ โดยแลกเปลี่ยนสินค้ากับประเทศอื่นที่ผลิตสินค้าแล้วได้เปรียบ ดังนั้นประเทศทั้งสองก็จะทำการค้าต่อกันได้ โดยต่างฝ่ายต่างสมประโยชน์กัน (Win-Win Situation) นโยบายการค้าเสรีมีดังนี้

    1. การผลิตตามหลักการแบ่งงานกันทำเลือกผลิตสินค้าที่มีต้นทุนการผลิตต่ำและประเทศมีศักยภาพในการผลิตสินค้านั้นสูง
    2. ไม่เก็บภาษีคุ้มกัน (Protective Duty) เพื่อคุ้มครองหรือปกป้องอุตสาหกรรมภายในประเทศ
    3. ไม่ให้สิทธิพิเศษหรือกีดกันสินค้าของประเทศใดประเทศหนึ่ง
    4. เรียกเก็บภาษีในอัตราเดียวและให้ความเป็นธรรมแก่สินค้าของทุกประเทศเท่ากัน ไม่มีข้อจำกัดทางการค้า (Trade Restriction) ที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่างประเทศไม่มีการควบคุมการนำเข้า หรือการส่งออกที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าระหว่างประเทศ ยกเว้นการควบคุมสินค้าบางอย่างที่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและเป็นอันตรายต่อมนุษย์และสินค้าที่เกี่ยวด้วยศีลธรรมจรรยาหรือความมั่นคงของประเทศ
  2. ความหมายของเขตการค้าเสรี เขตการค้าเสรี หมายถึง การวมกลุ่มเศรษฐกิจโดยมีเป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่ม ที่ทำข้อตกลงให้เหลือน้อยที่สุดหรือเป็น 0% และใช้อัตราภาษีปกติที่สูงกว่ากับประเทศนอกกลุ่ม การทำเขตการค้าเสรีในอดีตมุ่งในด้านการเปิดเสรีด้านสินค้า โดยการลดภาษีและอุปสรรคที่ไม่ใช่ภาษีเป็นหลักแต่เขตการค้าเสรีในระยะหลัง ๆ นั้น รวมไปถึงการเปิดเสรีด้านอื่น ๆ ด้วย เช่น ด้านการบริการการลงทุน เป็นต้น
  3. เขตการค้าเสรีที่สำคัญของไทย เขตการค้าเสรีที่มีมูลค่าสูงในทางการค้า ได้แก่ เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) เขตการค้าเสรีอาเซียน-จีน ไทย-ญี่ปุ่น อาเซียน-เกาหลี เป็นต้น

ประโยชน์และผลกระทบของการทำ FTA

ในภาพรวมแล้วการทำ FTA มีทั้งผลดีและผลกระทบ แต่คู่เจรจาได้พยายามศึกษารวบรวมข้อมูล และเจรจาเพื่อให้ต่างฝ่ายต่างพอใจ ได้รับผลประโยชน์มากที่สุด หรือได้รับผลกระทบน้อยที่สุด อย่างไรก็ตาม สภาพแวดล้อมเฉพาะ และสภาพแวดล้อมทั่วไปของคู่เจรจาจะแตกต่างกันไปในแต่ละ FTA หากจะวิเคราะห์แต่ละด้านของแต่ละ FTA จะมีบางกลุ่มอุตสาหกรรม บางกลุ่มสินค้าได้ประโยชน์ บางกลุ่มสินค้าไม่ได้รับผลกระทบ สำหรับกลุ่มสินค้าที่ได้รับผลกระทบ การเจรจาก็สามารถยืดเวลาในการลดหรือยกเว้นภาษีออกไปจนกว่าภาคการผลิตจะสามารถปรับตัวได้ หรือภาครัฐจะเข้ามาช่วยเหลือ เยียวยา ชดเชยผลกระทบเหล่านั้นในภาพรวมการทำ FTA น่าจะมีประโยชน์ดังนี้

ประเทศไทยทำ FTA กับประเทศอะไรบ้าง

ปัจจุบันประเทศไทยมีการจัดทำ FTA กับ 8 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐฯ ญี่ปุ่น จีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ บาห์เรน เปรู และ 2 กลุ่มเศรษฐกิจ ASEAN และ BIMSTEC โดยเหตุผลสำคัญเพื่อรักษาสถานภาพและศักยภาพในการส่งออกของไทยโดยการขยายโอกาสในการส่งออกและเพิ่มความสามารถในการแข่งขันด้านราคาของสินค้าไทยทั้งในตลาดสำคัญในปัจจุบัน (เช่น ...

FTA มีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร

FTA ย่อมาจาก Free Trade Area หรือเขตการค้าเสรี เป็นการทำความตกลงทางการค้าของประเทศ อาจเป็น 2 ประเทศ (ทวิภาคี) หรือเป็นกลุ่มประเทศ (พหุภาคี) ที่จะร่วมมือขจัดอุปสรรคทางการค้าทั้งที่เป็นภาษีศุลกากรและไม่ใช่ภาษีศุลกากร ความเป็นมาของเขตการค้าเสรี

นโยบายการค้าเสรีมีผลเสียอย่างไร

ผลเสีย : เขตการค้าเสรีมีข้อเสียบ้าง คือ 1. จะกระทบต่ออุตสาหกรรม ธุรกิจใหม่ที่ยังไม่เข้มแข็ง หรือแข่งขันในระดับเวทีโลก เพราะประเทศที่ เจริญกว่าจะมีต้นทุนต่ากว่า 2. ประเทศคู่ค้าเขตการค้าเสรีจะมีสินค้าส่งออกเหมือนกันจะกลายเป็นคู่แข่งกันเอง จึงอาจไม่เกื้อหนุนกัน ตามหลักการ

AFTAคืออะไรและ มีวัตถุประสงค์ในการจัดตั้งเพื่อ

เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area หรือ AFTA) หมายถึง การทําความตกลงทางการค้า ของประเทศอาจเป็น 2 ประเทศ (ทวิภาคี) หรือเป็นกลุ่มประเทศ (พหุภาคี) เป็นการรวมกลุ่มเศรษฐกิจโดย มีเป้าหมายเพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกันภายในกลุ่มลงให้เหลือน้อยที่สุด หรือเป็น 0 % และใช้อัตราภาษีปกติ ที่สูงกว่ากับประเทศนอกกลุ่ม การทําเขต ...