ก นอาหารท ม รสห นน ำม นมากๆทำให หายได ย งไง

ตับอ่อนเป็นอวัยวะที่อยู่ด้านหลังกระเพาะอาหารใกล้กับลำไส้เล็กส่วนต้น มีหน้าที่ช่วยย่อยอาหารและคุมระดับน้ำตาลในกระแสเลือด ซึ่งหนึ่งในโรคเกี่ยวกับตับอ่อนที่เปรียบเสมือนภัยเงียบรอวันแสดงอาการ แต่หลายคนอาจไม่เคยรู้คือ ตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน โดยพบในผู้ชายมากกว่าผู้หญิงและมีความรุนแรงแตกต่างกันออกไป สิ่งสำคัญจึงอยู่ที่การรักษาโดยเร็วที่สุดและดูแลสุขภาพให้ห่างไกลจากโรค

รู้จักตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน

โรคตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน (Acute Pancreatitis) คือ ภาวะที่ตับอ่อนเกิดการอักเสบรุนแรงเฉียบพลัน โดยเป็นการอักเสบที่บริเวณเซลล์ของตับอ่อน เกิดขึ้นจากการที่น้ำย่อยในตับอ่อนไหลผ่านท่อของตับอ่อนไม่ได้ ทำให้น้ำย่อยย่อยเนื้อเยื่อตับอ่อนแทนจึงทำให้เกิดการอักเสบขึ้น โดยจะเป็นอย่างรุนแรงและรวดเร็ว ปกติอาการจะดีขึ้นหลังเข้ารับการรักษากับแพทย์เฉพาะทางที่มีความชำนาญใน 1 – 2 สัปดาห์ แต่ในกรณีที่รุนแรงอาจเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ตามมาได้

อาการบอกโรค

อาการที่บ่งบอกว่าเป็นตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน ได้แก่

  • ปวดบริเวณกลางหน้าท้องรุนแรงและเฉียบพลัน
  • ปวดนานตั้งแต่ 10 นาทีจนถึงชั่วโมง
  • ปวดร้าวลงไปบริเวณกลางหลัง
  • คลื่นไส้ อาเจียน ท้องร่วง
  • มีไข้ ทั้งไข้สูงและต่ำ
  • กดแล้วเจ็บท้อง แต่ท้องไม่แข็ง
  • หัวใจเต้นเร็ว หายใจเร็ว

ก นอาหารท ม รสห นน ำม นมากๆทำให หายได ย งไง

ตัวการของโรค

สาเหตุหลักของโรคตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน ได้แก่

  • การดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมากติดต่อกันนาน ส่วนใหญ่ดื่มมากกว่า 50 กรัมต่อวัน ไม่น้อยกว่า 5 ปี พบมากถึง 25 – 35%
  • นิ่วในถุงน้ำดี (Gallstone) พบมากถึง 40 – 70% มักเกิดจากนิ่วที่หลุดออกมาจากถุงน้ำดีและมีขนาดเล็กกว่า 5 มิลลิเมตร
  • สาเหตุอื่น ๆ เช่น ระดับแคลเซียมในเลือดสูง ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง ยาชนิดต่าง ๆ เนื้องอกตับอ่อน โรคตับอ่อนที่ไม่ทราบสาเหตุแน่ชัด

ประเภทตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน

โรคตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่

ตับอ่อนอักเสบบวมน้ำ (Interstitial Edematous Pancreatitis) พบมากในผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่เป็นโรคตับอ่อนอักเสบเฉียบพลันมักมีความรุนแรงเล็กน้อยจึงมักหายได้หลังการรักษากับแพทย์เฉพาะทางภายใน 1 – 2 สัปดาห์ มีเพียงส่วนน้อยที่อยู่ในระดับที่รุนแรงปานกลางและรุนแรงมาก ซึ่งแพทย์จะพิจารณาวิธีการรักษาตามความเหมาะสม

โรคกระเพาะอาหารอักเสบ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า โรคกระเพาะ เป็นโรคที่เกิดในระบบทางเดินอาหารที่พบได้บ่อยในปัจจุบัน ซึ่งเกิดจากพฤติกรรมที่เร่งรีบของคนในยุคนี้ ทำให้มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง ถือเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้คนเป็นโรคกระเพาะอาหารอักเสบ โดยพบว่ามีผู้ป่วยโรคนี้ส่วนใหญ่มักมีอาการเป็นๆ หายๆ มากถึง 80%

แม้ว่าโรคกระเพาะอาหารอักเสบจะไม่ใช่โรคที่รุนแรง แต่ผู้ป่วยก็ไม่ควรนิ่งนอนใจ เพราะว่าหากปล่อยไว้เรื้อรังอาจทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร หรือมีเลือดไหลในกระเพาะอาหาร จนเกิดภาวะแทรกซ้อน อีกทั้งยังเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคมะเร็งกระเพาะอาหารได้อีกด้วย!!!

สาเหตุของโรคกระเพาะอาหารอักเสบ

สาเหตุการเกิดโรคกระเพาะอาหารอักเสบยังไม่ทราบได้อย่างชัดเจน แต่พบว่าส่วนใหญ่มักมีปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรค ดังนี้

  • การติดเชื้อแบคทีเรียนเอชไพโลไร (H.pylori)
  • การรับประทานยากลุ่มยาต้านการอักเสบหรือยาแก้ปวด เช่น แอสไพริน ไอบูโพรเฟน เป็นต้น
  • สาเหตุอื่นๆ เช่น การสูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอล์ เป็นต้น

นอกจากปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวแล้ว ยังพบว่าพฤติกรรมต่างๆ ในการใช้ชีวิตก็มีส่วนกระตุ้นให้เกิดโรคกระเพาะอาหารอักเสบมากขึ้น เช่น การรับประทานอาหารไม่เป็นเวลา การรับประทานอาหารอย่างเร่งรีบ ภาวะความเครียด ความวิตกกังวล การรับประทานอาหารที่ส่งผลให้เกิดการระคายเคืองต่อกระเพาะและลำไส้

อาการโรคกระเพาะอาหารอักเสบ

อาการแสดงของผู้ป่วยแต่ละรายอาจแตกต่างกัน แม้ว่าจะมีอาการไม่ร้ายแรง แต่หากเกิดขึ้นนานเป็นสัปดาห์หรือมากกว่านั้น ควรรีบพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัย

  • ปวด เสียด ตื้อ จุก และแน่นบริเวณใต้ลิ้นปี่
  • ปวดท้อง รู้สึกไม้สบายช่องท้องส่วนบน
  • ท้องอืด ท้องเฟ้อ เรอบ่อย
  • ปวดท้องก่อนและหลังรับประทานอาหาร
  • ปวดท้องตอนท้องว่างหรือปวดท้องกลางดึก
  • มีอาการปวดแบบเป็นๆ หายๆ
  • คลื่นไส้หรืออาเจียนหลังรับประทานอาหาร
  • อาเจียนหรือถ่ายเป็นเลือด เนื่องจากมีเลือดออกในกระเพาะอาหาร
  • ไม่มีความอยากอาหาร เบื่ออาหาร และอาจผอมลง

ก นอาหารท ม รสห นน ำม นมากๆทำให หายได ย งไง

การรักษาโรคกระเพาะอาหารอักเสบ

โรคกระเพาะอาหารอักเสบสามารถรักษาให้หายได้ หากได้รับการดูแลรักษาที่ดี และผู้ป่วยมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตของตนเอง แต่หากปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองแล้ว อาการยังไม่ดีขึ้นควรพบแพทย์เพื่อเข้ารับการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติท เช่น การตรวจโดยการส่องกล้องระบบทางเดินอาหาร (Gastroscope: EGD) เพื่อหาสาเหตุและรับการรักษาอย่างถูกวิธี

อย่างไรก็ตามในเบื้องต้นแล้ว สิ่งสำคัญที่สุดในการรักษาโรคกระเพาะอาหารอักเสบ ผู้ป่วยควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันของตนเอง ดังนี้

ปวดศีรษะไมเกรน (Migraine headache) เป็นการปวดศีรษะที่รบกวนชีวิตประจำวัน โดยมีลักษณะการปวดแบบตุบๆ เป็นจังหวะ มักจะเกิดข้างเดียวของศีรษะ แต่ก็สามารถเป็นทั้งสองข้างได้ โดยอาการปวดในช่วงแรกมักมีความรุนแรงเพียงเล็กน้อย และจะค่อยๆ เพิ่มความรุนแรงขึ้น ในผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการอื่นร่วมด้วย เช่น คลื่นไส้ อาเจียน อ่อนแรง และไวต่อแสง เสียง หรือกลิ่นมากขึ้น

อาการปวดศีรษะไมเกรนเป็นอย่างไร

สาเหตุของการปวดศีรษะไมเกรนคืออะไร

ปัจจุบันยังไม่ทราบแน่ชัดว่าการปวดศีรษะไมเกรนเกิดจากอะไร แต่ปัจจัยที่สามารถกระตุ้นให้เกิดการปวดศีรษะไมเกรนมีหลายประการ ได้แก่

  • การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในผู้หญิง
  • ความเครียด
  • สภาพแวดล้อม เช่น แสงจ้าหรือแสงแฟลช เสียงดัง กลิ่นที่รุนแรง หรือการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศแบบฉับพลัน
  • การใช้ยาบางชนิด
  • การนอนหลับไม่เพียงพอ หรือมากเกินไป
  • ออกกำลังกายอย่างหักโหม หรือทำกิจกรรมที่ต้องเคลื่อนไหวร่างกายมากเกินไป
  • การสูบบุหรี่
  • อาการถอนคาเฟอีน
  • การอดอาหาร หรือการรับประทานอาหารไม่เพียงพอ

เราสามารถจัดการกับการปวดศีรษะไมเกรนได้อย่างไร

ปัจจุบันการปวดศีรษะไมเกรนยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ การรักษาจึงเน้นไปที่การบรรเทาอาการและป้องกันการปวดศีรษะไมเกรน

การใช้ยาบรรเทาอาการปวดศีรษะไมเกรน

การรับประทานยาทันทีเมื่อมีอาการปวดศีรษะไมเกรน จะช่วยให้ผลของยาในการบรรเทาอาการปวดมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

ยาบรรเทาปวด สำหรับการปวดแบบไม่รุนแรง

ยาสามัญประจำบ้าน ได้แก่ Paracetamol

ยาลดการอักเสบที่ไม่ไช่สเตียรอด์ (NSAIDs) ได้แก่ Ibuprofen, Naproxen, Celecoxib, Etoricoxib

ยาบรรเทาปวด สำหรับการปวดที่รุนแรงมากขึ้น (จำเพาะเจาะจงกับการปวดศีรษะไมเกรน)

ยากลุ่ม Triptans ได้แก่ Sumatriptan, Eletriptan

ยาที่มีส่วนผสมของ Ergotamine ได้แก่ Ergotamine + Caffeine

ยาบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน

ได้แก่ Metoclopramide, Domperidone

การใช้ยาป้องกันอาการปวดศีรษะไมเกรน

ยาที่สามารถใช้ป้องกันอาการปวดศีรษะไมเกรน ได้แก่

กลุ่มยาลดความดัน

Propranolol, Metoprolol tartrate, Verapamil

กลุ่มยาต้านอาการซึมเศร้า

Amitriptyline

กลุ่มยากันชัก

Valproate, Topiramate

กลุ่มยา Calcitonin gene-related peptide (CGRP) monoclonal antibodies

Erenumab เป็นยากลุ่มใหม่ที่ใช้ป้องกันอาการปวดศีรษะไมเกรนทั้งแบบที่มีอาการนำ (aura) หรือไม่มีอาการนำ สามารถลดจำนวนวันที่ปวดศีรษะไมเกรนลงจากเดิมได้อย่างมีนัยสำคัญ สามารถบริหารยาเองได้โดยการฉีดเข้าใต้ผิวหนัง เดือนละ 1 ครั้ง

วิธีอื่นๆ ที่สามารถช่วยบรรเทาอาการและป้องกันการปวดศีรษะไมเกรน

  • ทำกิจกรรมที่ช่วยให้ผ่อนคลาย
  • หลีกเลี่ยงปัจจัยที่สามารถกระตุ้นให้เกิดการปวดศีรษะไมเกรน
  • นอนพักในที่มืดและเงียบสงบ
  • ประคบเย็นบริเวณศีรษะ
  • ปรับพฤติกรรมการนอน และการรับประทานอาหาร
  • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

อาการปวดศีรษะไมเกรนสามารถบรรเทาและป้องกันได้โดยไม่จำเป็นต้องใช้ยา อย่างไรก็ดี การเริ่มรับประทานยาบรรเทาปวดทันทีหลังจากที่มีอาการปวดศีรษะไมเกรน จะช่วยให้ผลของยาในการบรรเทาอาการปวดมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการใช้ยานั้นควรอยู่ภายใต้คำแนะนำของแพทย์และเภสัชกร เนื่องจากปัจจัยที่แตกต่างกันในผู้ป่วยแต่ละราย เช่น อายุ โรคประจำตัว และความรุนแรงของโรค จะส่งผลต่อการเลือกใช้ยาและขนาดยาที่ควรได้รับนั่นเอง

หากท่านต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อได้ที่ศูนย์ข้อมูลยาโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ตลอด 24 ชั่วโมง

แผลในกระเพาะอาหาร หายเองได้ไหม

ภาวะแทรกซ้อนโรคแผลในกระเพาะอาหาร โดยทั่วไปพบว่าผู้ป่วยอาการจะค่อยๆ ทุเลาและหายไปเองโดยไม่ต้องรับการรักษา แต่โอกาสที่จะกลับมาเป็นอีกมีอัตราสูงถึงแม้ว่าจะได้รับการรักษาดีเพียงใดก็ตาม และที่สำคัญโรคแผลในกระเพาะอาหาร หากปล่อยไว้แล้วไม่ได้รับการรักษาจะทำให้อาการรุนแรงมากขึ้น และเกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ตามมา ได้แก่

กินอะไรช่วยลดแก๊สในกระเพาะ

มีอาหารที่ควรหลีกเลี่ยงแล้ว มาดูอาหารแก้ท้องอืดกันบ้าง ท้องอืดกินอะไรดี เพื่อแก้อาการอาหารไม่ย่อย น้ำมะนาว : กรดมะนาวจะช่วยกระตุ้นระบบย่อยอาหารให้ทำงานได้ดีขึ้น มะละกอสุก : ในมะละกอมีน้ำย่อยที่ช่วยย่อยอาหารและโปรตีน บรรเทาอาการแน่นท้องได้ น้ำขิง : ให้กินขิงสดหรือดื่มน้ำขิงก่อนนอนจะช่วยบรรเทาอาการท้องอืด

นวดตรงไหนแก้ท้องอืด

วิธีนวดทำได้โดยนวดถูเป็นวงกลมตามเข็มนาฬิกาบริเวณหน้าท้อง เริ่มจากวางมือบริเวณด้านขวาล่างใกล้กับกระดูกเชิงกราน ค่อย ๆ นวดถูเป็นวงกลมขึ้นไปจนถึงบริเวณใต้ซี่โครง จากนั้นนวดไปทางซ้ายและลงมาที่ด้านซ้ายล่างบริเวณเหนือสะโพก แล้วนวดวนไปทางสะดือ ทำซ้ำขั้นตอนต่าง ๆ ประมาณ 10 นาที อาจช่วยให้อาการท้องอืดหรือมีลมในท้องดีขึ้น

ทำยังไงให้แก๊สในกระเพาะหาย

ท้องอืดและแก๊ส : เราจะหยุดมันได้อย่างไร.

1. กินอาหารแบบ Low FODMAPS. ... .

2. เคี้ยวอาหารอย่างละเอียด และไม่ควรรีบกลืนลงไป ... .

3. หลีกเลี่ยง การเคี้ยวหมากฝรั่ง การสูบบุหรี่ และการดื่มน้ำผ่านหลอด ... .

4. ควรกินอาหารที่มีไฟเบอร์ ... .

5. ดื่มน้ำเป็นประจำ ... .

6. ออกกำลังกาย ... .

7. การบริโภคยาที่เหมาะสม ... .

8. การพบแพทย์.