ทดสอบการอ าน ป.3 ป ม ถ นายน2562 คร งท 1

ด้านการอ่านออกเสียงระดับเขตพื้นที่สูงกว่าระดับประเทศ มีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 1.75 คิดเป็นร้อยละ 2.31 ผล

การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านรเู้ ร่ืองระดับเขตพื้นทสี่ ูงกวา่ ระดบั ประเทศ มีค่าเฉลยี่ เพิ่มขึน้ 1.84 คิดเป็น

ร้อยละ 2.50 เมื่อเปรียบเทียบผลการประเมินในภาพรวมทั้ง 2 ด้าน มีค่าเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่สูงกว่า

ระดบั ประเทศ เพ่มิ ข้ึน 1.79 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 2.39 แสดงกราฟที่ 3 ดังนี้

25

ผลการพฒั นาควาสามารถด้านการอา่ นของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2563

77 คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ คะแนนเฉลยี่ ร้อยละ 76 การอ่านรู้เรื่อง รวม 2 สมรรถนะ 75 74 73 72 71 70 69

คะแนนเฉลย่ี ร้อยละ

การอา่ นออกเสยี ง

เปรียบเทยี บระดบั เขตพนื ้ ท่ี ระดบั เขต เปรียบเทียบระดบั เขตพนื ้ ท่ี ประเทศ

กราฟที่ 3 เปรียบเทียบผลการพัฒนาความสามารถด้านการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 ระดับเขตพนื้ ทก่ี บั ระดับประเทศ

ตอนที่ 4 เปรียบเทียบผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

ปีการศกึ ษา 2562-2563 ระดับเขตพ้ืนที่

ปี 2563 เปรยี บเทยี บระดบั เขตพ้นื ที่

ท่ี ดา้ น คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละจำแนกตามสงั กัด ปี 2562 ปี 2563 เพ่ิม/ เพิ่ม/ลด ระดบั เขต จงั หวดั ศธภ. สพฐ. ประเทศ ลด ร้อยละ

1 การอา่ น คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ 75.89 73.70 68.58 74.13 74.14 70.95 75.89 4.94 6.96 ออกเสยี ง S.D. 12.82 13.43 14.36 13.29 13.60 14.41 12.82 -1.59 -11.03

2 การอ่านรู้ คะแนนเฉลี่ยรอ้ ยละ 73.70 70.37 67.43 72.23 71.86 75.14 73.70 -1.44 -1.92 เรื่อง S.D. 9.00 9.10 9.64 9.28 9.45 9.72 9.00 -0.72 -7.41

รวม 2 ด้าน คะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ 74.81 72.02 68.04 73.20 73.02 73.05 74.81 1.76 2.41 S.D. 20.22 21.00 22.31 20.72 21.18 22.63 20.22 -2.41 -10.65

จากตารางที่ 4 พบว่า ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกเสียง ของนักเรียนชั้น

ประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 มีค่าเฉลยี่ สูงกว่าปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉลย่ี เพ่ิมข้ึน 4.94 คิดเป็นร้อย

ละ 6.96 และ ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านรู้เรื่องของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ปีการศึกษา

2563 มีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉลี่ยลดลง -1.44 คิดเป็นร้อยละ -1.92 เมื่อเปรียบเทียบผล

การประเมินในภาพรวมทั้ง 2 ด้าน ปีการศึกษา 2563 มีค่าเฉลี่ยสูงกว่าปีการศึกษา 2562 มีค่าเฉลี่ยเพิ่มข้ึน

วิธีปฏบิ ตั ิทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice)

ด้านการส่งเสรมิ พัฒนาการอา่ นออกเขยี นได้ของนักเรียน การพัฒนาทกั ษะการอา่ นออกเสียงโดยใช้รปู แบบการเรียนการสอน ของการเรียนรู้แบบรว่ มมอื CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition)

โดย ป.1

นางสาวณิชมน ทองแผ่น

ตาแหนง่ ครู

โรงเรียนบ้านถนนชยั อาเภอกาบเชิง จังหวดั สรุ นิ ทร์

สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต 3

คำนำ

นวัตกรรม “การส่งเสริม พัฒนาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 : การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียง โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนของการเรียนรู้แบบร่วมมือ CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition)” เป็นนวัตกรรมท่ีพัฒนานักเรียนให้ได้รับ การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงท่ีเหมาะสมอย่างเต็มศักยภาพ และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รวมถงึ พัฒนาทกั ษะการอ่านภาษาไทยให้สูงขึน้

ขอขอบคุณ ผู้บริหาร และบุคลากรโรงเรียนบ้านถนนชัยและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน ท่ีให้ความ ร่วมมือ ในการขับเคล่ือนนวัตกรรมจนประสบผลสาเร็จ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า นวัตกรรม “การส่งเสริม พัฒนาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียน ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 : การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียง โดย ใช้รูปแบบการเรียนการสอนของการเรียนรู้แบบร่วมมือ CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition)” จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ เพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการอ่านออกเสียง ของผเู้ รยี นต่อไป

นางสาวณชิ มน ทองแผน่

ผู้จดั ทา

สำรบญั หน้ำ ก เรอ่ื ง ข คานา 1 สารบัญ 2 ความเป็นมา 3 วัตถุประสงค์และเป้าหมาย 6 กระบวนการผลิตผลงานหรือขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน 7 ผลการดาเนินการผลสัมฤทธ์ิและประโยชนท์ ี่จะไดร้ บั 7 ปจั จัยความสาเร็จ 8 บทเรยี นที่ไดร้ ับ 9 การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวัลทีไ่ ด้รบั 10 บรรณานุกรม 11 ข้อมูลเจา้ ของผลงาน 15 ภาคผนวก 15 16 ตารางเปรียบเทียบแบบสรปุ ผลการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอน 20 แผนภมู ิเปรียบเทียบแบบสรุปผลการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน แบบสรุปผลการพฒั นาการจัดการเรียนการสอน ภาพการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน

วธิ ปี ฏิบัติทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 1

วิธปี ฏบิ ตั ทิ ่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) “การสง่ เสริม พฒั นาการอ่านออกเขียนได้ของนักเรยี น

ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรียนบ้านถนนชยั สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 3”

ผลงาน การพฒั นาทักษะการอา่ นออกเสยี ง โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนของการเรียนรู้ แบบรว่ มมอื CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition)

ผเู้ สนอผลงาน นางสาวณชิ มน ทองแผ่น โรงเรยี น บ้านถนนชยั เครือข่าย การจัดการศึกษาเขาแหลมพนมซอร์ (กาบเชิง 3) สังกดั สานกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 3

1. ความเป็นมา

ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ของชาติ เป็นสมบัติทางวัฒนธรรม อันก่อใหเ้ กดิ ความเป็นเอกภาพ และเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็นไทย เป็นเคร่ืองมือในการติดต่อส่ือสารเพ่ือ สร้างความเขา้ ใจ และความสมั พนั ธท์ ่ีดตี ่อกนั ทาให้สามารถประกอบกิจธรุ ะ การงานและดาเนนิ ชวี ิต ร่วมกันในสังคมประชาธปิ ไตยได้อย่างสันติสุขและเป็นเครอ่ื งมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ เพื่อพัฒนาความรู้ กระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และ สร้างสรรค์ ให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงทางสังคมและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป็นส่ือแสดงภูมิ ปัญญาของบรรพบุรุษด้านวัฒนธรรม ประเพณี สุนทรียภาพเป็นสมบัติล้าค่าควรแก่การเรียนรู้ อนุรกั ษ์และสืบสานให้คงอยู่คชู่ าตไิ ทยตลอดไป (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 : 37)

ด้วยความสาคัญดังกล่าว หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้ กาหนดให้ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การ เรียนรอู้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและเพอ่ื นาไปใช้ในชีวิตจรงิ (กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2551 : 37)

ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พ้ื น ฐ า น ได้ ก า ห น ด ก ล ยุ ท ธ์ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ และมาตรฐานการศึกษาเพื่อเร่งรัด ส่งเสริมและพัฒนาให้สถานศึกษาพัฒนาการอ่านและการเขียน ดังน้ันการอ่าน และการเขียนภาษาไทย จึงถือเป็นนโยบายสาคัญ เพราะการอ่านและการเขียน เปรียบเสมือนเคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้ ฉะนั้นหากเครื่องมือท่ีครูผู้สอนสร้างขึ้นไม่สามารถ ตอบสนองความต้องการหรือไม่สามารถตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ ก็ย่อมส่งผลเสีย กับผ้เู รยี นโดยตรง

วธิ ีปฏบิ ตั ิท่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) 2

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ได้กาหนดจุดเน้นและดาเนินการ ขับเคลื่อนการพัฒ นาคุณ ภาพการศึกษาด้านการเรียนรู้ อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น เพ่ือเป็นการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนและเป็นการจัดการเรียนการสอน อย่างมคี ุณภาพ

โรงเรียนบ้านถนนชัย ในปีการศึกษา 2562 มีผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่าน (RT) ของชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 ผลการทดสอบดา้ นการอา่ นออกเสยี ง มี ค ะ แ น น เฉ ลี่ ย 4 8 .5 7 ตามลาดับ พบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิต่ากว่าระดับประเทศ มีผลการอ่านออกเสียงคา การอ่านออก เสียงประโยคและการอ่านออกเสียงข้อความไม่ถูกต้อง จึงทาให้ผลการทดสอบความสามารถ ด้านการอ่าน (RT) ในภาพรวมอยู่ในระดับต่ากว่าระดับชาติ จากข้อมูลดังกล่าวครูผู้สอนเล็งเห็นเป็น ปัญหาท่ีต้องเร่งแก้ไข เพ่ือให้นักเรียนมีพัฒนาการทางด้านการอ่าน การเขียนที่สูงขึ้นและมี ผลสัมฤทธิ์เป็นที่พอใจ ครูผู้สอนจึงได้ดาเนินการการพัฒนาการอ่านออกเสียง โดยใช้รูปแบบการ เรียนการสอนของการเรียนรู้แบบร่วมมือ CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition)

2. วัตถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมาย

2.1 วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือพัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษาการอ่านออก เขียนได้ และความสามารถ

ด้านการอ่านของนักเรยี น (Reading Test : RT) ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 ดา้ นการ อา่ นออกเสียงให้สงู ขนึ้ และมีคะแนนเฉล่ียสงู กว่าระดบั ประเทศ

2.2 เป้าหมาย เชิงปริมาณ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนบ้านถนนชัย จานวน 22 คน

ปกี ารศกึ ษา 2563 เชงิ คณุ ภาพ นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบา้ นถนนชัย จานวน 22 คน มีผลการ

ทดสอบความสามารถด้านการอ่าน (RT) ด้านการอ่านออกเสียงสูงข้ึน และมีคะแนนเฉล่ียสูงกว่า ระดับประเทศ

2.3 ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั ผลการทดสอบความสามารถด้านการอ่าน (RT) ของช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน

บ้านถนนชัย สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 ในปีการศึกษา 2563 มกี ารพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงของนักเรียนสงู ขนึ้

วิธีปฏิบัติทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practice) 3

3. กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน

วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) “การพัฒนาและส่งเสริมความสามารถด้านภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนบ้านถนนชยั สานกั งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สุรินทร์ เขต 3” เรื่อง การพัฒนาการอ่านออกเสียง โดยใช้ชุดกิจกรรมหรรษานานาสาระภาษา ในการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาของนักเรียนโดยใช้หลักการจัดการคุณภาพตามกระบวนการ PDCA ตามแนวคิดของ ดร.วิลเลียม เอ็ดเวิดส์ เดมม่ิง (Dr.William Edward Deming) ซ่ึงสามารถ อธิบายข้อมูลรวมถึงขั้นตอนวิธีการและนวัตกรรมที่เป็นเลิศของการพัฒนาตาม Flow chart จาก ภาพท่ี 1.1 การพฒั นาตาม Flow chart ดงั ตอ่ ไปน้ี

Flow chart

จากภาพท่ี 1.1 การพัฒนาตาม Flow chart การพัฒนาการอา่ นออกเสียง โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนของการเรียนรูแ้ บบรว่ มมือ CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition)

กระบวนการผลิตผลงานและนวัตกรรมวิธปี ฏิบัติที่เป็นเลศิ (Best Practice) การพัฒนาการ อ่านออกเสียง โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนของการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Integrated Reading and Composition) ซ่ึงถูกพัฒนาขึ้นโดยอาศัยหลักการเรียนรูปแบบรว่ มมือ ของจอห์นสนั และจอห์นสัน ( Johnson & Johnson, 1974 : 213 – 240 ) ซ่งึ ได้ช้ีให้เห็นวา่ ผเู้ รียน ควรร่วมมือกันในการเรียนรู้มากกว่าการแข่งขันกันเพราะการแข่งขันก่อให้เกิดสภาพการณ์ของการ แพ้-ชนะ ต่างจากการร่วมมือกัน ซ่ึงก่อให้เกิดสภาพการณ์ของการชนะ-ชนะ อันเป็นสภาพการณ์ ท่ีดีกว่าทัง้ ทางดา้ นจิตใจและสตปิ ญั ญาหลักการเรยี นรแู้ บบรว่ มมือ 5 ประการ ประกอบดว้ ย

วิธีปฏบิ ตั ิทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) 4

(1) การเรียนรู้ต้องอาศยั หลกั การพึ่งพากัน (positive interdependence) โดยถือวา่ ทกุ คน มคี วามสาคัญเทา่ เทียมกันและจะต้องพ่ึงพากนั เพอ่ื ความสาเร็จร่วมกัน

(2) การเรียนรู้ที่ดีต้องอาศัยการหันหน้าเข้าหากัน มีปฏิสัมพันธ์กัน (face to face interaction) เพื่อแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ขอ้ มูล และการเรยี นรู้ต่าง ๆ

(3 ) ก ารเรีย น รู้ร่ว ม กั น ต้ อ งอ าศั ย ทั ก ษ ะ ท างสั งค ม (social skills) โด ย เฉ พ าะ ทักษะในการทางานร่วมกัน

(4) การเรียนรู้ร่วมกันควรมีการวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม (group processing) ท่ใี ชใ้ นการทางาน

(5) การเรียนรู้ร่วมกันจะต้องมีผลงานหรือผลสัมฤทธ์ิทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มที่สามารถ ตรวจสอบและวัดประเมินได้ (individual accountability) หากผู้เรียนมีโอกาสได้เรียนรู้ แบบรว่ มมือกนั

นอกจากจะช่วยให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ทางด้านเนื้อหาสาระตา่ ง ๆ ไดก้ ว้างขึ้นและลกึ ซึ้งขึ้น แล้ว ยังสามารถช่วยพัฒนาผู้เรียนทางด้านสังคมและอารมณ์มากข้ึนด้วย รวมทั้งมีโอกาสได้ฝึกฝน พัฒนาทักษะกระบวนการต่าง ๆ ทจ่ี าเป็นต่อการดารงชวี ติ อกี มาก

วตั ถุประสงค์ของรปู แบบ รูปแบบนี้มุ่งช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เน้ือหาสาระต่าง ๆ ด้วยตนเองและด้วยความร่วมมือ

และความช่วยเหลือจากเพ่ือน ๆรวมทั้งได้พัฒนาทักษะทางสังคมต่าง ๆ เช่น ทักษะการส่ือสาร ทักษะ การทางานร่วมกับผู้อ่ืนทักษะการสร้างความสัมพันธ์ รวมทั้งทักษะการแสวงหาความรู้ ทกั ษะการคดิ การแกป้ ญั หาและอ่ืน ๆ

กระบวนการเรียนการสอนของรปู แบบ รูปแบบการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้แบบร่วมมือมีหลายรูปแบบ ซ่ึงแต่ละรูปแบบ

จะมีวิธีการดาเนินการหลัก ๆ ซ่ึงได้แก่ การจัดกลุ่ม การศึกษาเน้ือหาสาระ การทดสอบ การคิดคะแนน และระบบการให้รางวลั แตกต่างกันออกไปเพ่ือสนองวัตถปุ ระสงคเ์ ฉพาะ แต่ไม่ว่าจะ เป็นรูป แบบใด ต่างก็ใช้ห ลักการเดียวกัน คือหลักการเรียนรู้แบบ ร่วมมือ 5 ป ระการ และมีวัตถุประสงค์มุ่งตรงไป ในทิศทางเดียวกันคือเพ่ือช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในเรื่องที่ศึกษา อย่างมากที่สุดโดยอาศัย การร่วมมือกัน ช่วยเหลือกันและแลกเปล่ียนความรู้กันระหว่างกลุ่มผู้เรียน ด้วยกัน ความแตกต่างของรูปแบบแต่ละรูป จะอยู่ที่เทคนิคในการศึกษาเน้ือหาสาระ และวิธกี ารเสรมิ แรงและการให้รางวลั เป็นประการสาคญั

กระบวนการเรยี นการสอนของรปู แบบ ซี. ไอ. อาร์. ซ.ี (CIRC) รู ป แ บ บ CIRC ห รื อ “ Cooperative Integrated Reading and Composition”

เป็นรูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือที่ใช้ในการสอนอ่านและเขียนโดยเฉพาะ รูปแบบนี้ ประกอบด้วย กิจกรรมหลัก 3 กิจกรรมคือ กิจกรรมการอ่านแบบเรียน การสอนการอ่านเพื่อความ เข้าใจ แ ละก ารบู ร ณ าก ารภ าษ ากับ การเรีย น โด ย มี ข้ัน ต อ น ใน ก ารด าเนิ น ก ารดั งนี้

วิธปี ฏิบัติทีเ่ ป็นเลศิ (Best Practice) 5

(Slavin, 1995: 104-110) 1. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนตามระดับความสามารถในการอ่าน นักเรียนในแต่ละกลุ่มจับคู่

2 คน หรอื 3 คน ทากิจกรรมการอา่ นแบบเรียนรว่ มกัน 2. ครูจัดทีมใหม่โดยให้นักเรียนแต่ละทีมต่างระดับความสามารถอย่างน้อย 2 ระดับ

ทีมทากิจกรรมร่วมกัน เช่น เขียนรายงาน แต่งความ ทาแบบฝึกหัดและแบบทดสอบต่าง ๆ และมีการให้ คะแนนของแต่ละทีม ทีมใดได้คะแนน 90% ขึ้นไป จะได้รับประกาศนียบัตรเป็น “ซุปเปอรท์ ีม” หากไดค้ ะแนนตัง้ แต่ 80-89% ก็จะไดร้ ับรางวัลรองลงมา

3. ครูพบกลุ่มการอ่านประมาณวันละ 20 นาที แจง้ วัตถุประสงค์ในการอา่ น แนะนาคาศพั ท์ ใหม่ ๆ ทบทวนศัพท์เก่า ต่อจากน้ันครูจะกาหนดและแนะนา เรื่องที่อ่านแล้วให้ผู้เรียน ทากิจกรรมต่าง ๆ ตามท่ีผู้เรียนจัดเตรียมไว้ให้ เช่นอ่านเร่ืองในใจแล้วจับคู่อ่านออกเสียงให้เพื่อนฟัง และช่วยกันแก้ จุดบกพร่อง หรือครูอาจจะให้นักเรียนช่วยกันตอบคาถาม วิเคราะห์ตัวละคร วเิ คราะหป์ ญั หาหรือ ทานายว่าเร่อื งจะเปน็ อยา่ งไรตอ่ ไปเป็นต้น

4. หลังจากกิจกรรมการอ่าน ครูนาอภิปรายเร่ืองที่อ่าน โดยครูจะเน้นการฝึกทักษะต่าง ๆ ในการอ่าน เชน่ การจบั ประเดน็ ปญั หา การทานาย เป็นต้น

5. นักเรียนรับการทดสอบการอ่านเพ่ือความเข้าใจ นักเรียนจะได้รับคะแนนเป็นท้ัง รายบุคคลและทมี

6. นักเรียนจะได้รับการสอนและฝึกทักษะการอ่านสัปดาห์ละ 1 วัน เช่น ทักษะ การจบั ใจความสาคัญ ทักษะการอ้างองิ ทกั ษะการใช้เหตุผล เปน็ ตน้

7. นักเรียนจะได้รับชุดการเรียนการสอนเขียน ซึ่งผู้เรียนสามารถเลือกหัวข้อการเขียนได้ ตามความสนใจ นักเรยี นจะช่วยกนั วางแผนเขียนเรอื่ งและช่วยกันตรวจสอบความถกู ต้องและในท่ีสุด ตพี มิ พผ์ ลงานออกมา

8. นักเรียนจะได้รับการบ้านให้เลือกอ่านหนังสือที่สนใจ และเขียนรายงานเรื่องที่อ่าน เป็น รายบุคคล โดยให้ผู้ปกครองช่วยตรวจสอบพฤติกรรมการอ่านของนักเรียนท่ีบ้าน โดยมีแบบฟอร์มให้

ผลทผ่ี เู้ รียนจะไดร้ บั จากการเรยี นตามรูปแบบ ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้เนื้อหาสาระด้วยตนเองและด้วยความร่วมมือและช่วยเหลือ

จากเพื่อน ๆ รวมทั้งได้พัฒนาทักษะกระบวนการต่าง ๆ จานวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ทักษะการทางาน ร่วมกับผู้อ่ืน ทักษะการประสานสัมพันธ์ ทักษะการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ ทกั ษะการแกป้ ัญหา ฯลฯ

วิธปี ฏิบตั ทิ ่เี ปน็ เลิศ (Best Practice) 6

การสอนอา่ นตามแนวการเรียนการสอนของรูปแบบ ซ.ี ไอ. อาร.์ ซ.ี (CIRC)

ขนั้ ตอนการสอน กิจกรรม

ขน้ั ที่ 1 ครูแบ่งกลุ่มนักเรยี นตามระดบั สนทนา อภิปรายซักถาม

ความสามารถในการอา่ น อา่ นแบบเรยี นรว่ มกัน

ข้นั ท่ี 2 ครูจัดทีมใหมโ่ ดยใหน้ ักเรียนแต่ละทมี สนทนา เขียนรายงาน แต่งความ ทาแบบฝึกหัด

ตา่ งระดับความสามารถอยา่ งน้อย 2 ระดบั และแบบทดสอบตา่ งๆ

ขน้ั ท่ี 3 ครูพบกลุ่มการอ่านประมาณวนั ละ 20 แนะนาคาศัพท์ ใหม่ ๆ ทบทวนศัพทเ์ ก่า

นาที อ่านเรื่องในใจ อ่านออกเสยี ง ตอบคาถาม

วเิ คราะหต์ ัวละคร วเิ คราะหป์ ัญหา

ขั้นที่ 4 ครูนาอภปิ รายเรอ่ื งที่อา่ น อภิปรายซักถาม จับประเดน็ ปัญหา การทานาย

ขั้นท่ี 5 ทดสอบการอ่านเพื่อความเข้าใจ ทาแบบทดสอบ

ขั้นท่ี 6 นักเรียนจะได้รบั การสอนและฝึกทกั ษะ ฝกึ ทกั ษะการจบั ใจความสาคัญ ทกั ษะการอ้างองิ

การอ่านสปั ดาห์ละ 1 วัน ทกั ษะการใช้เหตุผล

ขน้ั ที่ 7 นักเรยี นจะชว่ ยกนั วางแผนเขยี นเรือ่ ง วางแผนเขยี นหัวข้อตามความสนใจ

ข้ันท่ี 8 นักเรียนจะได้รับการบ้านให้เลือกอ่าน เขียนรายงานเร่ืองที่อ่านเป็น รายบุคคล

หนงั สอื ที่สนใจ

ตารางที่ 1.1 การพัฒนาความสามารถในการอา่ นออกเสียง

4. ผลการดาเนนิ การ ผลสมั ฤทธ์ิ และประโยชน์ทีจ่ ะไดร้ บั

ตารางเปรียบเทียบการประเมินความสามารถด้านการอ่านออกเสียง นักเรียน

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบา้ นถนนชยั

ความสามารถ ปีการศกึ ษา พฒั นาการ การอ่านออกเสียง 2562 2563 +26.88 48.57 75.45

วธิ ปี ฏบิ ตั ิทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) 7

แผนภมู ิแสดงการเปรยี บเทยี บการประเมนิ ความสามารถดา้ นการอา่ น (RT) นกั เรียน ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนบา้ นถนนชยั

การประเมินความสามารถดา้ นการอ่าน (RT) นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีที่ 1

80 2562 2563 60 75.45 40 48.57

20 0

การอา่ นออกเสียง

5. ปจั จัยความสาเร็จ

บทบาทของผูเ้ รยี น นักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1 มีความต้ังใจ กล้าแสดงออกอย่างเปิดเผย ให้ความร่วมมือ ในการจัดกิจกรรม บทบาทของครผู ้สู อน 1. ครูผู้สอนคัดกรองนักเรียนด้านการอ่าน โดยใช้เครื่องมือท่ีพัฒนาข้ึน เป็นรายบุคคล ตามตวั ช้ีวดั ของหลักสตู ร 2. ครผู ้สู อนวิเคราะห์นกั เรยี นท่ีอ่านไมอ่ อก เขียนไม่ได้ เพอื่ วนิ ิจฉัยปัญหาด้านใด 3. ครูผู้สอนจะใช้เวลากับผู้เรียนพยายามสังเกตพฤติกรรมของผ้เู รียนแตล่ ะคนจัดบรรยากาศ ในห้องเรยี นใหส้ วยงามและน่าสนใจ การตรวจสอบผู้เรยี นโดยสงั เกตจากทาแบบทดสอบ และครูเสริมแรงจูงใจให้กับผู้เรียน และอาจมีเงื่อนไขในการมอบรางวัลสาหรับผู้เรียนที่ผลการ ทดสอบอยูใ่ นระดับดีเยี่ยมหรือนกั เรยี นที่มีคะแนนการทดสอบสงู กว่าเดิม

6. บทเรยี นทไี่ ดร้ บั

6.1 ผู้เรียนมีพ้ืนฐานการใช้ภาษาไทยไม่เท่ากัน และผู้เรียนมีความแตกต่างกัน แม้ว่าจะเป็น อปุ สรรคในการเรยี นร้แู ต่กม็ ีวธิ แี กไ้ ขโดย การนากิจกรรมที่นาเสนอข้างตน้ มาแก้ไขปัญหาดังกล่าว

วธิ ปี ฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลศิ (Best Practice) 8

6.2 เมื่อผู้เรียนมีความพร้อมในเรื่องของการใช้ภาษาไทย ในการทากิจกรรมดังกล่าว เป็นประจาส่งผลให้นักเรียนสามารถวิเคราะห์ และมีความสามารถทางด้านการอ่านการเขียนเพ่มิ ขึ้น

6.3 โรงเรียนได้รับการยอมรับจากชุมชนและพัฒนากิจกรรมในการเรียนการสอนและการ จัดการเรียนรใู้ ห้เกิดทักษะการเรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย

7. การเผยแพร/่ การได้รบั การยอมรบั /รางวลั ทไ่ี ด้รับ

การเผยแพร่ ไดเ้ ผยแพร่ผลงานทางเว็บไซตข์ องโรงเรียน จดั นิทรรศการ/งานวชิ าการ/ประชุมผู้ปกครอง ท่โี รงเรยี นจดั ขึ้น การไดร้ บั การยอมรับ/รางวัลทีไ่ ด้รบั เอกสารอ้างอิงจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รายงานผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านของผูเ้ รยี น

วธิ ปี ฏบิ ัตทิ เ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) 9

บรรณานกุ รม

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2561). พระราชบัญญัตกิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และท่ีแก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พช์ ุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทย. 2562.

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.(2561) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ฉบับปรบั ปรุง พุทธศักราช 2561. กรงุ เทพมหานคร : ชุมชนสหกรณก์ ารเกษตรประเทศไทย.

ทิศนา แขมมณี . (2548). ศาสตร์การสอน. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรงุ เทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั .

พรี ญา เพยี รกลุ .(2559). การพัฒนาทกั ษะการอ่านของนกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี น บา้ นซอย2. สุราษฎรธ์ าน.ี สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี เขต 1

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาชน้ั พืน้ ฐาน.(2562). รายงานประเมินผลดา้ นการอ่านของผเู้ รยี น (Reading Test : RT) ศนู ยส์ ารสนเทศการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน. กรงุ เทพมหานคร : ชมุ ชน สหกรณ์การเกษตรประเทศไทย.

วิธีปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลิศ (Best Practice) 10

ข้อมูลเจา้ ของผลงาน

ช่อื - สกลุ นางสาวณชิ มน ทองแผน่ วัน เดือน ปี เกดิ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2537 ภูมิลาเนา จงั หวัดสรุ นิ ทร์ ที่อยู่ปจั จบุ นั 74 หมู่ 6 บ้านปราสาทเบง ตาบลกาบเชิง อาเภอกาบเชงิ จังหวดั สุรินทร์ ประวัตกิ ารศกึ ษา โรงเรยี นสรุ วิทยาคาร อาเภอเมือง จงั หวัดสุรินทร์ มธั ยมศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สุรินทร์ คณะครศุ าสตร์ วชิ าเอกภาษาอังกฤษ ปรญิ ญาตรี ตาแหนง่ ครู โรงเรยี นบา้ นถนนชยั สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา ตาแหน่ง ประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 3

วธิ ปี ฏบิ ตั ิท่ีเปน็ เลิศ (Best Practice) 11

ภาคผนวก

วธิ ปี ฏบิ ัติที่เปน็ เลิศ (Best Practice) 12

ตารางเปรยี บเทยี บการประเมินความสามารถด้านการอา่ นออกเสยี ง นักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนบา้ นถนนชยั

ความสามารถ ปกี ารศึกษา พฒั นาการ การอ่านออกเสียง 2562 2563 +26.88 48.57 75.45

แผนภูมิแสดงการเปรยี บเทียบการประเมินความสามารถด้านการอา่ น (RT) นักเรียนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรียนบา้ นถนนชัย

การประเมินความสามารถด้านการอ่าน (RT) นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 1 2562 2563

80

60 75.45 40 48.57

20 0

การอ่านออกเสยี ง

วธิ ปี ฏบิ ัตทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practice) 13

วธิ ปี ฏบิ ัตทิ ี่เปน็ เลศิ (Best Practice) 14

วิธีปฏิบตั ทิ ีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) 15

ตารางเปรียบเทยี บแบบสรุปผลการพัฒนาทกั ษะการอา่ นออกเสยี ง โดยใช้รปู แบบการเรียนการสอนของการเรียนรูแ้ บบร่วมมอื CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition)

ครัง้ ที่ คะแนน ระดบั คณุ ภาพ

1 9.45 พอใช้ 2 10.50 ดี 3 12.60 ดี 4 15.87 ดมี าก

แผนภูมแิ สดงการเปรยี บเทียบแบบสรุปผลผลการพัฒนาทักษะการอ่านออกเสยี ง โดย ใชร้ ปู แบบการเรียนการสอนของการเรยี นรู้แบบร่วมมือ CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition) คร้ังที่ 1 – 4

พฒั นาทกั ษะการอ่านออกเสียง โดยใช้รูปแบบการเรยี นการสอน ของการเรยี นรแู้ บบร่วมมือ CIRC

(Cooperative Integrated Reading and Composition)

คะแนน

20 10.5 12.6 15.87

10 9.45

0 คร้ังที่ 2 ครงั้ ท่ี 3 คร้ังที่ 4

ครง้ั ที่ 1

วธิ ปี ฏิบัติทเี่ ป็นเลิศ (Best Practice) 16

แบบสรปุ ผลการพัฒนาการอ่านออกเสียง

โดยใช้รปู แบบการเรียนการสอนของการเรยี นรู้แบบรว่ มมอื CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition) ครง้ั ที่ 1

คา ชื่อ นามสกลุ ผลการทดสอบ เลขท่ี นาหนา้ อา่ นคา(20) ระดบั คุณภาพ ชอ่ื

1 เดก็ ชาย มงคล ชชู ื่นบญุ 5 พอใช้

2 เด็กชาย สทิ ธพิ ล ปันตะยัง 7 พอใช้

3 เด็กชาย พีรวชิ ญ์ พศิ พันธุ์ 11 ดี

4 เด็กชาย สิทธพิ ฒั น์ มะพารัมย์ 5 พอใช้

5 เด็กชาย ภัทรพล แก้วปลงั่ 13 ดี

6 เด็กชาย ศภุ รตั น์ แลสูง 2 ปรับปรงุ

7 เด็กชาย ก้องกดิ ากร มสี กุล 13 ดี

8 เด็กชาย ธนพัฒน์ สายรัตน์ 10 พอใช้

9 เด็กชาย เสฎฐวุฒิ สเี ขียว 12 ดี

10 เด็กชาย เกริกเกยี รติ ปนั ตะยงั 13 ดี

11 เด็กชาย กติ ตคิ ุณ โสภานา้ 12 ดี

12 เด็กชาย พจชคินทร์ นา่ ชม 1 ปรบั ปรุง

13 เดก็ หญิง เกษสดุ า ศรกุพนั ธ์ 12 ดี

14 เด็กหญิง สโรชา คงอุตสา่ ห์ 13 ดี

15 เดก็ หญงิ ศุภสิ รา ศริ ิมว่ ง 12 ดี

16 เด็กหญิง กญั กณษิ ์ นา่ ชม 7 พอใช้

17 เดก็ หญิง ศศภิ า น่าชม 8 พอใช้

18 เด็กหญิง ณฐั ธชิ า หอมดอกพทุ ธ 9 พอใช้

19 เด็กหญงิ ญาณศิ า ศรวี ิชา 11 ดี

20 เดก็ หญิง สิริวมิ ล จันดี 12 ดี

21 เด็กหญงิ โชติกา วโิ รจน์รัตน์ 9 พอใช้

22 เด็กหญิง วิลาสินีย์ แรงจบ 11 ดี

รวมเฉล่ีย 9.45 พอใช้

วธิ ีปฏบิ ัติที่เป็นเลศิ (Best Practice) 17

แบบสรปุ ผลการพัฒนาการอา่ นออกเสยี ง

โดยใช้รปู แบบการเรียนการสอนของการเรียนรแู้ บบร่วมมอื CIRC (Cooperative Integrated Reading and Composition) คร้ังที่ 2

คา ชื่อ นามสกลุ ผลการทดสอบ เลขท่ี นาหน้า อา่ นคา(20) ระดับคุณภาพ ช่อื

1 เดก็ ชาย มงคล ชูชืน่ บญุ 5 พอใช้

2 เด็กชาย สทิ ธพิ ล ปันตะยัง 9 พอใช้

3 เด็กชาย พีรวชิ ญ์ พิศพันธุ์ 13 ดี

4 เด็กชาย สิทธพิ ฒั น์ มะพารัมย์ 7 พอใช้

5 เด็กชาย ภทั รพล แกว้ ปลงั่ 14 ดี

6 เด็กชาย ศุภรตั น์ แลสูง 2 ปรับปรุง

7 เด็กชาย กอ้ งกดิ ากร มสี กลุ 15 ดีมาก

8 เด็กชาย ธนพัฒน์ สายรตั น์ 11 ดี

9 เด็กชาย เสฎฐวุฒิ สีเขยี ว 13 ดี

10 เด็กชาย เกริกเกยี รติ ปนั ตะยงั 13 ดี

11 เด็กชาย กติ ตคิ ุณ โสภานา้ 14 ดี

12 เด็กชาย พจชคินทร์ นา่ ชม 1 ปรบั ปรุง

13 เดก็ หญงิ เกษสดุ า ศรกุพนั ธ์ 12 ดี

14 เด็กหญงิ สโรชา คงอุตสา่ ห์ 14 ดี

15 เดก็ หญิง ศุภสิ รา ศิริม่วง 12 ดี

16 เด็กหญิง กญั กณษิ ์ นา่ ชม 7 พอใช้

17 เดก็ หญงิ ศศภิ า น่าชม 9 พอใช้

18 เด็กหญิง ณฐั ธชิ า หอมดอกพทุ ธ 9 พอใช้

19 เด็กหญงิ ญาณศิ า ศรีวชิ า 13 ดี

20 เดก็ หญิง สริ วิ มิ ล จนั ดี 13 ดี

21 เด็กหญงิ โชติกา วิโรจน์รัตน์ 11 ดี

22 เด็กหญิง วลิ าสินยี ์ แรงจบ 14 ดี

รวมเฉลยี่ 10.50 ดี

วธิ ีปฏบิ ตั ิท่เี ปน็ เลศิ (Best Practice) 18

แบบสรปุ ผลการพฒั นาการอ่านออกเสยี ง

โดยใช้รูปแบบการเรยี นการสอนของการเรยี นร้แู บบร่วมมือ CIRC

(Cooperative Integrated Reading and Composition) ครั้งท่ี 3

คา ช่อื นามสกลุ ผลการทดสอบ เลขที่ นาหน้า อา่ นคา(20) ระดับคุณภาพ ชื่อ

1 เดก็ ชาย มงคล ชชู ื่นบุญ 9 พอใช้

2 เดก็ ชาย สิทธิพล ปันตะยัง 12 ดี

3 เดก็ ชาย พรี วชิ ญ์ พิศพันธ์ุ 14 ดี

4 เด็กชาย สิทธิพัฒน์ มะพารมั ย์ 10 พอใช้

5 เด็กชาย ภทั รพล แก้วปลง่ั 14 ดี

6 เด็กชาย ศภุ รตั น์ แลสูง 1 ปรบั ปรุง

7 เด็กชาย กอ้ งกดิ ากร มีสกุล 16 ดีมาก

8 เด็กชาย ธนพฒั น์ สายรตั น์ 12 ดี

9 เดก็ ชาย เสฎฐวุฒิ สเี ขยี ว 16 ดีมาก

10 เด็กชาย เกรกิ เกยี รติ ปนั ตะยัง 15 ดีมาก

11 เด็กชาย กิตตคิ ุณ โสภาน้า 15 ดมี าก

12 เดก็ ชาย พจชคินทร์ นา่ ชม 2 ปรบั ปรงุ

13 เดก็ หญิง เกษสุดา ศรกพุ ันธ์ 13 ดี

14 เด็กหญิง สโรชา คงอตุ ส่าห์ 16 ดมี าก

15 เดก็ หญิง ศภุ ิสรา ศริ ิม่วง 15 ดีมาก

16 เดก็ หญิง กญั กณิษ์ น่าชม 10 พอใช้

17 เด็กหญิง ศศภิ า นา่ ชม 14 ดี

18 เดก็ หญิง ณฐั ธชิ า หอมดอกพุทธ 13 ดี

19 เด็กหญงิ ญาณิศา ศรีวชิ า 16 ดีมาก

20 เด็กหญิง สิรวิ ิมล จันดี 15 ดมี าก

21 เด็กหญงิ โชติกา วิโรจน์รตั น์ 14 ดี

22 เดก็ หญงิ วลิ าสนิ ีย์ แรงจบ 15 ดมี าก

รวมเฉล่ยี 12.60 ดี

วิธีปฏิบตั ิท่ีเป็นเลศิ (Best Practice) 19

แบบสรปุ ผลการพฒั นาการอ่านออกเสียง

โดยใช้รปู แบบการเรียนการสอนของการเรยี นรแู้ บบรว่ มมือ CIRC

(Cooperative Integrated Reading and Composition) ครั้งท่ี 4

คา ชื่อ นามสกลุ ผลการทดสอบ เลขที่ นาหนา้ อา่ นคา(20) ระดบั คณุ ภาพ ชือ่

1 เดก็ ชาย มงคล ชชู ืน่ บุญ 15 ดมี าก

2 เด็กชาย สทิ ธิพล ปนั ตะยัง 17 ดมี าก

3 เด็กชาย พีรวิชญ์ พิศพนั ธ์ุ 18 ดีมาก

4 เด็กชาย สิทธพิ ัฒน์ มะพารัมย์ 13 ดี

5 เด็กชาย ภัทรพล แก้วปลงั่ 14 ดี

6 เดก็ ชาย ศุภรัตน์ แลสูง 2 ปรับปรงุ

7 เดก็ ชาย ก้องกิดากร มสี กุล 20 ดีมาก

8 เด็กชาย ธนพฒั น์ สายรตั น์ 16 ดีมาก

9 เด็กชาย เสฎฐวฒุ ิ สีเขียว 20 ดมี าก

10 เด็กชาย เกรกิ เกียรติ ปนั ตะยงั 18 ดีมาก

11 เด็กชาย กิตตคิ ุณ โสภาน้า 17 ดมี าก

12 เด็กชาย พจชคินทร์ นา่ ชม 2 ปรับปรงุ

13 เด็กหญิง เกษสดุ า ศรกุพนั ธ์ 15 ดมี าก

14 เดก็ หญงิ สโรชา คงอตุ สา่ ห์ 16 ดมี าก

15 เดก็ หญิง ศภุ ิสรา ศริ มิ ว่ ง 19 ดมี าก

16 เด็กหญิง กัญกณษิ ์ นา่ ชม 15 ดมี าก

17 เดก็ หญงิ ศศภิ า น่าชม 17 ดมี าก

18 เดก็ หญงิ ณัฐธิชา หอมดอกพุทธ 15 ดีมาก

19 เดก็ หญิง ญาณิศา ศรีวชิ า 20 ดมี าก

20 เด็กหญิง สริ วิ ิมล จันดี 20 ดีมาก

21 เด็กหญงิ โชตกิ า วโิ รจนร์ ตั น์ 20 ดีมาก

22 เด็กหญงิ วิลาสินีย์ แรงจบ 20 ดีมาก

รวมเฉลีย่ 15.87 ดีมาก

วธิ ีปฏิบัติทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 20

ภาพการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน

วธิ ีปฏิบัติทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 21

ภาพการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน

วธิ ีปฏิบัติทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 22

ภาพการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน

วธิ ีปฏิบัติทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 23

ภาพการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน

วธิ ีปฏิบัติทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 24

ภาพการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน

วธิ ีปฏิบัติทีเ่ ปน็ เลิศ (Best Practice) 25

ภาพการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน

โรงเรียนบา้ นถนนชัย อาเภอกาบเชงิ จังหวัดสรุ ินทร์ สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสุรินทร์ เขต 3

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร