สำน กงานปราบผ ส ดป วน ภาค 2 ม อสอง 1-9

การแบ่งท้องที่ของตำรวจไทย กำหนดการแบ่งท้องที่ตามประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหน่วยงานและเขตอำนาจการรับผิดชอบหรือเขตพื้นที่การปกครองของส่วนราชการ ประกอบไปด้วย

ตำรวจนครบาล[แก้]

สำน กงานปราบผ ส ดป วน ภาค 2 ม อสอง 1-9
ท้องที่ของสถานีตำรวจนครบาลในกรุงเทพมหานคร

กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีเขตอำนาจการรับผิดชอบอยู่ภายในเขตกรุงเทพมหานคร ครอบคลุมพื้นที่ 1,568.737 ตารางกิโลเมตร สามารถแบ่งย่อยลงมาได้เป็นพื้นที่รับผิดชอบของ 9 กองบังคับการ ประกอบไปด้วย

กองบังคับการตำรวจนครบาล 1 (บก.น.1)[แก้]

กองบังคับการตำรวจนครบาล 1 (บก.น.1) มีเขตรับผิดชอบทั้งหมด 9 สถานี และ 1 กองกำกับการสืบสวน ครอบคลุมพื้นที่ 38.77 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย

  1. สถานีตำรวจนครบาลดุสิต
  2. สถานีตำรวจนครบาลสามเสน
  3. สถานีตำรวจนครบาลนางเลิ้ง
  4. สถานีตำรวจนครบาลชนะสงคราม
  5. สถานีตำรวจนครบาลพญาไท
  6. สถานีตำรวจนครบาลมักกะสัน
  7. สถานีตำรวจนครบาลดินแดง
  8. สถานีตำรวจนครบาลห้วยขวาง
  9. สถานีตำรวจนครบาลบางโพ
  10. กองกำกับการสืบสวน กองบังคับการตำรวจนครบาล 1

กองบังคับการตำรวจนครบาล 2 (บก.น.2)[แก้]

กองบังคับการตำรวจนครบาล 2 (บก.น.2) มีเขตรับผิดชอบทั้งหมด 11 สถานี และ 1 กองกำกับการสืบสวน ประกอบไปด้วย

  1. สถานีตำรวจนครบาลดอนเมือง
  2. สถานีตำรวจนครบาลคันนายาว
  3. สถานีตำรวจนครบาลบางเขน
  4. สถานีตำรวจนครบาลสายไหม
  5. สถานีตำรวจนครบาลโคกคราม
  6. สถานีตำรวจนครบาลประชาชื่น
  7. สถานีตำรวจนครบาลทุ่งสองห้อง
  8. สถานีตำรวจนครบาลเตาปูน
  9. สถานีตำรวจนครบาลบางซื่อ
  10. สถานีตำรวจนครบาลพหลโยธิน
  11. สถานีตำรวจนครบาลสุทธิสาร
  12. กองกำกับการสืบสวน กองบังคับการตำรวจนครบาล 2

กองบังคับการตำรวจนครบาล 3 (บก.น.3)[แก้]

กองบังคับการตำรวจนครบาล 3 (บก.น.3) มีเขตรับผิดชอบทั้งหมด 11 สถานี และ 1 กองกำกับการสืบสวน ครอบคลุมพื้นที่ 562.59 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย

  1. สถานีตำรวจนครบาลมีนบุรี
  2. สถานีตำรวจนครบาลหนองจอก
  3. สถานีตำรวจนครบาลร่มเกล้า
  4. สถานีตำรวจนครบาลฉลองกรุง
  5. สถานีตำรวจนครบาลลาดกระบัง
  6. สถานีตำรวจนครบาลจรเข้น้อย
  7. สถานีตำรวจนครบาลนิมิตรใหม่
  8. สถานีตำรวจนครบาลลำผักชี
  9. สถานีตำรวจนครบาลสุวินทวงศ์
  10. สถานีตำรวจนครบาลประชาสำราญ
  11. สถานีตำรวจนครบาลลำหิน
  12. กองกำกับการสืบสวน กองบังคับการตำรวจนครบาล 3

กองบังคับการตำรวจนครบาล 4 (บก.น.4)[แก้]

กองบังคับการตำรวจนครบาล 4 (บก.น.4) มีเขตรับผิดชอบทั้งหมด 8 สถานี และ 1 กองกำกับการสืบสวน ครอบคลุมพื้นที่ 183.985 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย

  1. สถานีตำรวจนครบาลหัวหมาก
  2. สถานีตำรวจนครบาลโชคชัย
  3. สถานีตำรวจนครบาลบางชัน
  4. สถานีตำรวจนครบาลบึงกุ่ม
  5. สถานีตำรวจนครบาลประเวศ
  6. สถานีตำรวจนครบาลลาดพร้าว
  7. สถานีตำรวจนครบาลวังทองหลาง
  8. สถานีตำรวจนครบาลอุดมสุข
  9. กองกำกับการสืบสวน กองบังคับการตำรวจนครบาล 4

กองบังคับการตำรวจนครบาล 5 (บก.น.5)[แก้]

กองบังคับการตำรวจนครบาล 5 (บก.น.5) มีเขตรับผิดชอบทั้งหมด 9 สถานี และ 1 กองกำกับการสืบสวน ประกอบไปด้วย

  1. สถานีตำรวจนครบาลวัดพระยาไกร
  2. สถานีตำรวจนครบาลบางโพงพาง
  3. สถานีตำรวจนครบาลทุ่งมหาเมฆ
  4. สถานีตำรวจนครบาลลุมพินี
  5. สถานีตำรวจนครบาลทองหล่อ
  6. สถานีตำรวจนครบาลคลองตัน
  7. สถานีตำรวจนครบาลพระโขนง
  8. สถานีตำรวจนครบาลบางนา
  9. สถานีตำรวจนครบาลท่าเรือ
  10. กองกำกับการสืบสวน กองบังคับการตำรวจนครบาล 5

กองบังคับการตำรวจนครบาล 6 (บก.น.6)[แก้]

กองบังคับการตำรวจนครบาล 6 (บก.น.6) มีเขตรับผิดชอบทั้งหมด 8 สถานี และ 1 กองกำกับการสืบสวน ครอบคลุมพื้นที่ 18.027 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย

  1. สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน
  2. สถานีตำรวจนครบาลจักรวรรดิ
  3. สถานีตำรวจนครบาลบางรัก
  4. สถานีตำรวจนครบาลพระราชวัง
  5. สถานีตำรวจนครบาลพลับพลาไชย 1
  6. สถานีตำรวจนครบาลพลับพลาไชย 2
  7. สถานีตำรวจนครบาลสำราญราษฎร์
  8. สถานีตำรวจนครบาลยานนาวา
  9. กองกำกับการสืบสวน กองบังคับการตำรวจนครบาล 6

กองบังคับการตำรวจนครบาล 7 (บก.น.7)[แก้]

กองบังคับการตำรวจนครบาล 7 (บก.น.7) มีเขตรับผิดชอบทั้งหมด 11 สถานี และ 1 กองกำกับการสืบสวน ประกอบไปด้วย

  1. สถานีตำรวจนครบาลบางเสาธง
  2. สถานีตำรวจนครบาลบางขุนนนท์
  3. สถานีตำรวจนครบาลศาลาแดง
  4. สถานีตำรวจนครบาลบวรมงคล
  5. สถานีตำรวจนครบาลบางยี่ขัน
  6. สถานีตำรวจนครบาลธรรมศาลา
  7. สถานีตำรวจนครบาลตลิ่งชัน
  8. สถานีตำรวจนครบาลบางพลัด
  9. สถานีตำรวจนครบาลบางกอกใหญ่
  10. สถานีตำรวจนครบาลบางกอกน้อย
  11. สถานีตำรวจนครบาลท่าพระ
  12. กองกำกับการสืบสวน กองบังคับการตำรวจนครบาล 7

กองบังคับการตำรวจนครบาล 8 (บก.น.8)[แก้]

กองบังคับการตำรวจนครบาล 8 (บก.น.8) มีเขตรับผิดชอบทั้งหมด 11 สถานี และ 1 กองกำกับการสืบสวน ประกอบไปด้วย

  1. สถานีตำรวจนครบาลบางยี่เรือ
  2. สถานีตำรวจนครบาลตลาดพลู
  3. สถานีตำรวจนครบาลบุปผาราม
  4. สถานีตำรวจนครบาลบุคคโล
  5. สถานีตำรวจนครบาลสำเหร่
  6. สถานีตำรวจนครบาลสมเด็จเจ้าพระยา
  7. สถานีตำรวจนครบาลราษฎร์บูรณะ
  8. สถานีตำรวจนครบาลบางมด
  9. สถานีตำรวจนครบาลทุ่งครุ
  10. สถานีตำรวจนครบาลปากคลองสาน
  11. สถานีตำรวจนครบาลบางคอแหลม
  12. กองกำกับการสืบสวน กองบังคับการตำรวจนครบาล 8

กองบังคับการตำรวจนครบาล 9 (บก.น.9)[แก้]

กองบังคับการตำรวจนครบาล 9 (บก.น.9) มีเขตรับผิดชอบทั้งหมด 10 สถานี และ 1 กองกำกับการสืบสวน ประกอบไปด้วย

  1. สถานีตำรวจนครบาลท่าข้าม
  2. สถานีตำรวจนครบาลแสมดำ
  3. สถานีตำรวจนครบาลเทียนทะเล
  4. สถานีตำรวจนครบาลบางขุนเทียน
  5. สถานีตำรวจนครบาลภาษีเจริญ
  6. สถานีตำรวจนครบาลหลักสอง
  7. สถานีตำรวจนครบาลเพชรเกษม
  8. สถานีตำรวจนครบาลหนองแขม
  9. สถานีตำรวจนครบาลหนองค้างพลู
  10. สถานีตำรวจนครบาลบางบอน
  11. กองกำกับการสืบสวน กองบังคับการตำรวจนครบาล 9

ตำรวจภูธร[แก้]

สำน กงานปราบผ ส ดป วน ภาค 2 ม อสอง 1-9
การแบ่งท้องที่ของตำรวจภูธรในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 9 ภาค

การแบ่งท้องที่ของตำรวจภูธร เป็นการแบ่งท้องที่เขตอำนาจในการสืบสวนสอบสวนแต่ละเขตทั่วประเทศไทย ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ 509,321.263 ตารางกิโลเมตร (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) ประกอบไปด้วย

ตำรวจภูธรภาค 1[แก้]

ตำรวจภูธรภาค 1 มีที่ตั้งอยู่ที่กรุงเทพมหานคร ดูแลพื้นที่ครอบคลุม 9 จังหวัด เนื้อที่ 19,747.663 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย

  1. จังหวัดนนทบุรี
  2. จังหวัดปทุมธานี
  3. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  4. จังหวัดสระบุรี
  5. จังหวัดลพบุรี
  6. จังหวัดอ่างทอง
  7. จังหวัดสิงห์บุรี
  8. จังหวัดชัยนาท
  9. จังหวัดสมุทรปราการ

ตำรวจภูธรภาค 2[แก้]

ตำรวจภูธรภาค 2 มีที่ตั้งอยู่ที่จังหวัดชลบุรี ดูแลพื้นที่ครอบคลุม 8 จังหวัด เนื้อที่ 36,502.798 กิโลเมตร ประกอบไปด้วย

  1. จังหวัดชลบุรี
  2. จังหวัดระยอง
  3. จังหวัดฉะเชิงเทรา
  4. จังหวัดจันทบุรี
  5. จังหวัดตราด
  6. จังหวัดปราจีนบุรี
  7. จังหวัดนครนายก
  8. จังหวัดสระแก้ว

ตำรวจภูธรภาค 3[แก้]

ตำรวจภูธรภาค 3 มีที่ตั้งอยู่ที่จังหวัดนครราชสีมา ดูแลพื้นที่ครอบคลุม 8 จังหวัด เนื้อที่ 90,616 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย

  1. จังหวัดนครราชสีมา
  2. จังหวัดอุบลราชธานี
  3. จังหวัดอำนาจเจริญ
  4. จังหวัดสุรินทร์
  5. จังหวัดศรีสะเกษ
  6. จังหวัดชัยภูมิ
  7. จังหวัดบุรีรัมย์
  8. จังหวัดยโสธร

ตำรวจภูธรภาค 4[แก้]

ตำรวจภูธรภาค 4 มีที่ตั้งอยู่ที่จังหวัดขอนแก่น ดูแลพื้นที่ครอบคลุม 12 จังหวัด เนื้อที่ 85,228.411 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย

  1. จังหวัดขอนแก่น
  2. จังหวัดอุดรธานี
  3. จังหวัดเลย
  4. จังหวัดมหาสารคาม
  5. จังหวัดกาฬสินธุ์
  6. จังหวัดร้อยเอ็ด
  7. จังหวัดมุกดาหาร
  8. จังหวัดนครพนม
  9. จังหวัดสกลนคร
  10. จังหวัดหนองคาย
  11. จังหวัดหนองบัวลำภู
  12. จังหวัดบึงกาฬ

ตำรวจภูธรภาค 5[แก้]

ตำรวจภูธรภาค 5 มีที่ตั้งอยู่ที่จังหวัดเชียงใหม่ ดูแลพื้นที่ครอบคลุม 8 จังหวัด เนื้อที่ 85,852.258 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย

  1. จังหวัดเชียงใหม่
  2. จังหวัดเชียงราย
  3. จังหวัดลำปาง
  4. จังหวัดแม่ฮ่องสอน
  5. จังหวัดลำพูน
  6. จังหวัดแพร่
  7. จังหวัดน่าน
  8. จังหวัดพะเยา

ตำรวจภูธรภาค 6[แก้]

ตำรวจภูธรภาค 6 มีที่ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิษณุโลก ดูแลพื้นที่ครอบคลุม 8 จังหวัด เนื้อที่ 83,792.030 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย

  1. จังหวัดพิษณุโลก
  2. จังหวัดสุโขทัย
  3. จังหวัดตาก
  4. จังหวัดกำแพงเพชร
  5. จังหวัดอุตรดิตถ์
  6. จังหวัดพิจิตร
  7. จังหวัดเพชรบูรณ์
  8. จังหวัดนครสวรรค์
  9. จังหวัดอุทัยธานี

ตำรวจภูธรภาค 7[แก้]

ตำรวจภูธรภาค 7 มีที่ตั้งอยู่ที่จังหวัดนครปฐม ดูแลพื้นที่ครอบคลุม 8 จังหวัด เนื้อที่ 46,087.757 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย

  1. จังหวัดนครปฐม
  2. จังหวัดสุพรรณบุรี
  3. จังหวัดราชบุรี
  4. จังหวัดกาญจนบุรี
  5. จังหวัดสมุทรสาคร
  6. จังหวัดสมุทรสงคราม
  7. จังหวัดเพชรบุรี
  8. จังหวัดประจวบคีรีขันธ์

ตำรวจภูธรภาค 8[แก้]

ตำรวจภูธรภาค 8 มีที่ตั้งอยู่ที่จังหวัดภูเก็ต ดูแลพื้นที่ครอบคลุม 7 จังหวัด เนื้อที่ 41,568.31 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย

  1. จังหวัดสุราษฎร์ธานี
  2. จังหวัดนครศรีธรรมราช
  3. จังหวัดชุมพร
  4. จังหวัดระนอง
  5. จังหวัดพังงา
  6. จังหวัดภูเก็ต
  7. จังหวัดกระบี่

ตำรวจภูธรภาค 9[แก้]

ตำรวจภูธรภาค 9 มีที่ตั้งอยู่ที่จังหวัดสงขลา ดูแลพื้นที่ครอบคลุม 7 จังหวัด เนื้อที่ 29,731.727 ตารางกิโลเมตร ประกอบไปด้วย

  1. จังหวัดสงขลา
  2. จังหวัดพัทลุง
  3. จังหวัดตรัง
  4. จังหวัดสตูล
  5. จังหวัดปัตตานี
  6. จังหวัดยะลา
  7. จังหวัดนราธิวาส

ตำรวจตระเวนชายแดน[แก้]

สำน กงานปราบผ ส ดป วน ภาค 2 ม อสอง 1-9
การแบ่งท้องที่ของตำรวจตระเวนชายแดน เป็นการแบ่งท้องที่โดยแบ่งตามภูมิภาค

การแบ่งท้องที่ของกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ครอบคลุมพื้นที่บนแผ่นดินทั้งประเทศไทย 510,890 ตารางกิโลเมตร เป็นการแบ่งท้องที่ตามภูมิภาค ประกอบไปด้วย

กองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดน ภาค 1[แก้]

กองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดน ภาค 1 มีที่ตั้งอยู่ที่อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ดูแลพื้นที่ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก โดยแบ่งเขตอำนาจการรับผิดชอบตามกองกำกับการ ประกอบไปด้วย

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 11 ค่ายเจ้าพระยาบดินทรเดชา ตั้งอยู่ที่อำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี ดูแลพื้นที่ 5 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดจันทบุรี
  2. จังหวัดระยอง
  3. จังหวัดชลบุรี
  4. จังหวัดตราด
  5. จังหวัดสมุทรปราการ

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 12 ค่ายเจ้าพระยาราชสุภาวดี (สิงห์ สิงหเสนี) ตั้งอยู่ที่อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ดูแลพื้นที่ 8 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดปทุมธานี
  2. จังหวัดสระแก้ว
  3. จังหวัดปราจีนบุรี
  4. จังหวัดนครนายก
  5. จังหวัดสระบุรี
  6. จังหวัดลพบุรี
  7. จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  8. จังหวัดฉะเชิงเทรา

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 13 ค่ายพระพุทธยอดฟ้า ตั้งอยู่ที่อำเภอพนมทวน จังหวัดกาญจนบุรี ดูแลพื้นที่ 9 จังหวัด คือ

  1. กรุงเทพมหานคร
  2. จังหวัดนนทบุรี
  3. จังหวัดกาญจนบุรี
  4. จังหวัดสุพรรณบุรี
  5. จังหวัดนครปฐม
  6. จังหวัดชัยนาท
  7. จังหวัดสิงห์บุรี
  8. จังหวัดอ่างทอง
  9. จังหวัดราชบุรี

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 14 ค่ายพระมงกุฎเกล้า ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองประจวบคีรีขันธ์ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ดูแลพื้นที่ 4 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
  2. จังหวัดเพชรบุรี
  3. จังหวัดสมุทรสงคราม
  4. จังหวัดสมุทรสาคร

กองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดน ภาค 2[แก้]

กองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดน ภาค 2 มีที่ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ดูแลพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยแบ่งเขตอำนาจการรับผิดชอบตามกองกำกับการ ประกอบไปด้วย

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 21 ค่ายสุรินทรภักดี ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ดูแลพื้นที่ 4 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดสุรินทร์
  2. จังหวัดมหาสารคาม
  3. จังหวัดนครราชสีมา
  4. จังหวัดบุรีรัมย์

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 22 ค่ายสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี ดูแลพื้นที่ 5 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดอุบลราชธานี
  2. จังหวัดอำนาจเจริญ
  3. จังหวัดยโสธร
  4. จังหวัดร้อยเอ็ด
  5. จังหวัดศรีสะเกษ

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 23 ค่ายศรีสกุลวงศ์ ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองสกลนคร จังหวัดสกลนคร ดูแลพื้นที่ 4 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดสกลนคร
  2. จังหวัดมุกดาหาร
  3. จังหวัดนครพนม
  4. จังหวัดกาฬสินธุ์

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 24 ค่ายเสนีย์รณยุทธ ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ดูแลพื้นที่ 7 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดอุดรธานี
  2. จังหวัดขอนแก่น
  3. จังหวัดหนองคาย
  4. จังหวัดชัยภูมิ
  5. จังหวัดหนองบัวลำภู
  6. จังหวัดเลย
  7. จังหวัดบึงกาฬ

กองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดน ภาค 3[แก้]

กองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดน ภาค 3 มีที่ตั้งอยู่ที่อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ดูแลพื้นที่ภาคเหนือ โดยแบ่งเขตอำนาจการรับผิดชอบตามกองกำกับการ ประกอบไปด้วย

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 31 ค่ายเจ้าพระยาจักรี ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก ดูแลพื้นที่ 5 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดพิษณุโลก
  2. จังหวัดเพชรบูรณ์
  3. จังหวัดพิจิตร
  4. จังหวัดอุตรดิตถ์
  5. จังหวัดสุโขทัย

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 32 ค่ายพญางำเมือง ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา ดูแลพื้นที่ 4 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดพะเยา
  2. จังหวัดแพร่
  3. จังหวัดน่าน
  4. จังหวัดเชียงราย

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 33 ค่ายสมเด็จพระบรมราชชนนี ตั้งอยู่ที่อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ ดูแลพื้นที่ 4 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดเชียงใหม่
  2. จังหวัดแม่ฮ่องสอน
  3. จังหวัดลำพูน
  4. จังหวัดลำปาง

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 34 ค่ายพระเจ้าตาก ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองตาก จังหวัดตาก ดูแลพื้นที่ 4 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดตาก
  2. จังหวัดกำแพงเพชร
  3. จังหวัดนครสวรรค์
  4. จังหวัดอุทัยธานี

กองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดน ภาค 4[แก้]

กองบังคับการตำรวจตระเวนชายแดน ภาค 4 มีที่ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ดูแลพื้นที่ภาคใต้ โดยแบ่งเขตอำนาจการรับผิดชอบตามกองกำกับการ ประกอบไปด้วย

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 41 ค่ายอาภากรเกียรติวงศ์ ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองชุมพร จังหวัดชุมพร ดูแลพื้นที่ 3 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดชุมพร
  2. จังหวัดระนอง
  3. จังหวัดสุราษฎร์ธานี

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 42 ค่ายศรีนครินทรา ตั้งอยู่ที่อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ดูแลพื้นที่ 4 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดนครศรีธรรมราช
  2. จังหวัดภูเก็ต
  3. จังหวัดกระบี่
  4. จังหวัดพังงา

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 43 ค่ายรามคำแหง ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ดูแลพื้นที่ 4 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดสงขลา
  2. จังหวัดพัทลุง
  3. จังหวัดสตูล
  4. จังหวัดตรัง

กองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 44 ค่ายพญาลิไท ตั้งอยู่ที่อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา ดูแลพื้นที่ 3 จังหวัด คือ

  1. จังหวัดยะลา
  2. จังหวัดนราธิวาส
  3. จังหวัดปัตตานี

ท้องที่ตามเขตอำนาจ[แก้]

กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง[แก้]

กองบังคับการปฏิบัติการพิเศษ[แก้]

กองบังคับการปฏิบัติการพิเศษ (บก.ปพ.) มีเขตอำนาจ ดังนี้

  • กองกำกับการ 1 (กก.1 บก.ปพ.) มีเขตอำนาจความรับผิดชอบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
  • กองกำกับการ 2 (กก.2 บก.ปพ.) มีเขตอำนาจความรับผิดชอบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตำรวจภูธรภาค 1 และตำรวจภูธรภาค 2
  • กองกำกับการ 3 (กก.3 บก.ปพ.) มีเขตอำนาจความรับผิดชอบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตำรวจภูธรภาค 3 และตำรวจภูธรภาค 4
  • กองกำกับการ 4 (กก.4 บก.ปพ.) มีเขตอำนาจความรับผิดชอบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตำรวจภูธรภาค 5 และตำรวจภูธรภาค 6
  • กองกำกับการ 5 (กก.5 บก.ปพ.) มีเขตอำนาจความรับผิดชอบในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ตำรวจภูธรภาค 7 ตำรวจภูธรภาค 8 และตำรวจภูธรภาค 9
  • กองกำกับการ 6 (กก.6 บก.ปพ.) ดูแลงานด้านการฝึกอบรมและจิตอาสาพระราชทาน มีเขตอำนาจความรับผิดชอบทั่วราชอาณาจักร
  • กองกำกับการวิเคราะห์ข่าวและเครื่องมือพิเศษ มีเขตอำนาจความรับผิดชอบทั่วราชอาณาจักร
  • กองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย มีเขตอำนาจความรับผิดชอบทั่วราชอาณาจักร
  • กองกำกับการสายตรวจ มีเขตอำนาจความรับผิดชอบทั่วราชอาณาจักร

กองบังคับการตำรวจทางหลวง[แก้]

กองบังคับการตำรวจทางหลวง (บก.ทล.) มีเขตอำนาจความรับผิดชอบในเขตทางหลวงแผ่นดินภายนอกเขตกรุงเทพฯ ที่เป็นทางหลวงหมายเลข 1 - 3 หลัก และทางหลวงพิเศษ แบ่งพื้นที่ความรับผิดชอบดังนี้

  • กองกำกับการ 1 (กก.1 บก.ทล.)
    • สถานีตำรวจทางหลวง 1 พระนครศรีอยุธยา ดูแลพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา นนทบุรี และปทุมธานี
    • สถานีตำรวจทางหลวง 2 สระบุรี ดูแลพื้นที่จังหวัดสระบุรี และนครนายก
    • สถานีตำรวจทางหลวง 3 ลพบุรี ดูแลพื้นที่จังหวัดลพบุรี
    • สถานีตำรวจทางหลวง 4 นครสวรรค์ ดูแลพื้นที่จังหวัดนครสวรรค์และอุทัยธานี
    • สถานีตำรวจทางหลวง 5 เพชรบูรณ์ ดูแลพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ และพิจิตร
    • สถานีตำรวจทางหลวง 6 สิงห์บุรี ดูแลพื้นที่จังหวัดสิงห์บุรี อ่างทอง และชัยนาท
  • กองกำกับการ 2 (กก.2 บก.ทล.)
    • สถานีตำรวจทางหลวง 1 นครปฐม ดูแลพื้นที่จังหวัดนครปฐม สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม
    • สถานีตำรวจทางหลวง 2 เพชรบุรี ดูแลพื้นที่จังหวัดเพชรบุรี และราชบุรี
    • สถานีตำรวจทางหลวง 3 ประจวบคีรีขันธ์ ดูแลพื้นที่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
    • สถานีตำรวจทางหลวง 4 ชุมพร ดูแลพื้นที่จังหวัดชุมพร และระนอง
    • สถานีตำรวจทางหลวง 5 สุราษฎร์ธานี ดูแลพื้นที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี
    • สถานีตำรวจทางหลวง 6 กาญจนบุรี ดูแลพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี และสุพรรณบุรี
  • กองกำกับการ 3 (กก.3 บก.ทล.)
    • สถานีตำรวจทางหลวง 1 ฉะเชิงเทรา ดูแลพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา และสมุทรปราการ
    • สถานีตำรวจทางหลวง 2 ชลบุรี ดูแลพื้นที่จังหวัดชลบุรี
    • สถานีตำรวจทางหลวง 3 ระยอง ดูแลพื้นที่จังหวัดระยอง
    • สถานีตำรวจทางหลวง 4 จันทบุรี ดูแลพื้นที่จังหวัดจันทบุรีและตราด
    • สถานีตำรวจทางหลวง 5 ปราจีนบุรี ดูแลพื้นที่จังหวัดปราจีนบุรี และสระแก้ว
  • กองกำกับการ 4 (กก.4 บก.ทล.)
    • สถานีตำรวจทางหลวง 1 ร้อยเอ็ด ดูแลพื้นที่จังหวัดร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ และมหาสารคาม
    • สถานีตำรวจทางหลวง 2 ขอนแก่น ดูแลพื้นที่จังหวัดขอนแก่น
    • สถานีตำรวจทางหลวง 3 อุดรธานี ดูแลพื้นที่จังหวัดอุดรธานี หนองคาย และบึงกาฬ
    • สถานีตำรวจทางหลวง 4 เลย ดูแลพื้นที่จังหวัดเลย และหนองบัวลำภู
    • สถานีตำรวจทางหลวง 5 สกลนคร ดูแลพื้นที่จังหวัดสกลนคร และนครพนม
  • กองกำกับการ 5 (กก.5 บก.ทล.)
    • สถานีตำรวจทางหลวง 1 ตาก ดูแลพื้นที่จังหวัดตาก และกำแพงเพชร
    • สถานีตำรวจทางหลวง 2 ลำปาง ดูแลพื้นที่จังหวัดลำปาง และลำพูน
    • สถานีตำรวจทางหลวง 3 พิษณุโลก ดูแลพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก และสุโขทัย
    • สถานีตำรวจทางหลวง 4 เชียงใหม่ ดูแลพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ และแม่ฮ่องสอน
    • สถานีตำรวจทางหลวง 5 พะเยา ดูแลพื้นที่จังหวัดเชียงราย และพะเยา
    • สถานีตำรวจทางหลวง 6 แพร่ ดูแลพื้นที่จังหวัดแพร่ อุตรดิตถ์ และน่าน
  • กองกำกับการ 6 (กก.6 บก.ทล.)
    • สถานีตำรวจทางหลวง 1 นครราชสีมา ดูแลพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา
    • สถานีตำรวจทางหลวง 2 บุรีรัมย์ ดูแลพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์
    • สถานีตำรวจทางหลวง 3 สุรินทร์ ดูแลพื้นที่จังหวัดสุรินทร์
    • สถานีตำรวจทางหลวง 4 อุบลราชธานี ดูแลพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี และศรีสะเกษ
    • สถานีตำรวจทางหลวง 5 อำนาจเจริญ ดูแลพื้นที่จังหวัดอำนาจเจริญ มุกดาหาร และยโสธร
    • สถานีตำรวจทางหลวง 6 ชัยภูมิ ดูแลพื้นที่จังหวัดชัยภูมิ
  • กองกำกับการ 7 (กก.7 บก.ทล.)
    • สถานีตำรวจทางหลวง 1 พังงา ดูแลพื้นที่จังหวัดพังงา ภูเก็ต และกระบี่
    • สถานีตำรวจทางหลวง 2 ตรัง ดูแลพื้นที่จังหวัดตรัง และพัทลุง
    • สถานีตำรวจทางหลวง 3 สงขลา ดูแลพื้นที่จังหวัดสงขลา และสตูล
    • สถานีตำรวจทางหลวง 4 นครศรีธรรมราช ดูแลพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช
    • สถานีตำรวจทางหลวง 5 ปัตตานี ดูแลพื้นที่จังหวัดปัตตานี ยะลา และนราธิวาส
  • กองกำกับการ 8 (กก.8 บก.ทล.)
    • สถานีตำรวจทางหลวง 1 อ่อนนุช ตลอดเส้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 7
    • สถานีตำรวจทางหลวง 2 รามอินทรา ตลอดเส้นทางหลวงพิเศษหมายเลข 9

หมายเหตุ[แก้]

  1. เกิดจากการนำ (www.cia.gov) ลบด้วยพื้นที่กรุงเทพมหานคร (bangkokgis.com)
  2. คำนวนจากข้อมูลในหน้ารายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่ และนำพื้นที่ทั้ง 8 จังหวัดในตำรวจภูธรภาค 2 มารวมกัน
  3. คำนวนจากข้อมูลในหน้ารายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่ และนำพื้นที่ทั้ง 12 จังหวัดในตำรวจภูธรภาค 4 มารวมกัน
  4. คำนวนจากข้อมูลในหน้ารายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่ และนำพื้นที่ทั้ง 8 จังหวัดในตำรวจภูธรภาค 5 มารวมกัน
  5. คำนวนจากข้อมูลในหน้ารายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่ และนำพื้นที่ทั้ง 8 จังหวัดในตำรวจภูธรภาค 6 มารวมกัน
  6. คำนวนจากข้อมูลในหน้ารายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่ และนำพื้นที่ทั้ง 8 จังหวัดในตำรวจภูธรภาค 7 มารวมกัน
  7. คำนวนจากข้อมูลในหน้ารายชื่อจังหวัดของประเทศไทยเรียงตามพื้นที่ และนำพื้นที่ทั้ง 9 จังหวัดในตำรวจภูธรภาค 9 มารวมกัน

อ้างอิง[แก้]

  • กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2563." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [1] 2564. สืบค้น 18 มีนาคม 2564. ราชกิจจานุเบกษา. ประกาศสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหน่วยงานและเขตอำนาจการรับผิดชอบหรือเขตพื้นที่การปกครองของส่วนราชการ (ฉบับที่ 30) พ.ศ. 2564 เก็บถาวร 2022-03-26 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. เล่ม 138 ตอนพิเศษ 155 ง, วันที่ 12 กรกฎาคม 2564, หน้า 61