ข าว ด นโคลนถล ม อ.ปาย 13 ต ลาคม 2562

Page 76 - การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 สค32032 (ม.ปลาย)

  1. 76

จากการส ารวจเก็บข้อมูลทางธรณีวิทยาโดยกรมทรัพยากรทางธรณี พบว่า พื้นที่เสี่ยงภัย
               ดินโคลนถล่มใน 51 จังหวัด 323 อ าเภอ 1,056 ต าบล 6,450 หมู่บ้านทั่วประเทศและพื้นที่เสี่ยง
               ภัยในระดับสูงสุด 17 จังหวัดเป็นจังหวัดที่อยู่ในพื้นที่ภาคใต้ 7 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดระนอง ชุมพร
               กระบี่ สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พัทลุง ตรัง และภาคเหนือ 10 จังหวัด ได้แก่ จังหวัด
               แม่ฮ่องสอน เชียงราย เชียงใหม่ น่าน ล าพูน ล าปาง พะเยา แพร่ อุตรดิตถ์ และตาก
               เรื่องที่ 3 สถานการณ์ดินโคลนถล่มในประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ในโลก
                         3.1 สถานการณ์ดินโคลนถล่มในประเทศไทย
                            ส าหรับในประเทศไทยการเกิดเหตุการณ์ดินถล่มนั้นส่วนใหญ่มีตัวกลางส าคัญ
               ในการเคลื่อนย้ายมวลของดิน คือ น้ า โดยมากแล้วจะมีสาเหตุหลักมาจากการเกิดฝนตกหนักและ
               น้ าท่วม ท าให้ดินไม่สามารถอุ้มน้ าไว้ได้ ประเทศไทยเกิดเหตุการณ์ดินโคลนถล่มรุนแรง ดังนี้
                            22 พฤศจิกายน 2531 บ้านกะทูนเหนือ อ าเภอพิปูน จังหวัดนครศรีธรรมราช
               ผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตประมาณ 230 คน บ้านเรือนเสียหายประมาณ 1,500 หลัง พื้นที่การเกษตร
               เสียหาย 6,150 ไร่ คิดเป็นมูลค่าประมาณ 1,000 ล้านบาท
                            11 กันยายน 2543 บ้านธารทิพย์ อ าเภอหล่มสัก และบ้านโพธิ์เงิน อ าเภอเมือง
               จังหวัดเพชรบูรณ์ ผู้เสียชีวิต 10 คน สูญหาย 2 คน บ้านเรือนเสียหาย 363 หลัง การปศุสัตว์และ
               พื้นที่การเกษตรได้รับความเสียหาย
                            4 พฤษภาคม 2544 อ าเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่ ผู้เสียชีวิต 43 คน สูญหาย 4 คน
               บ้านเรือนเสียหาย 18 หลัง คิดเป็นมูลค่าประมาณ 100 ล้านบาท
                            11 สิงหาคม 2544 ต าบลน้ าก้อ อ าเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์ ผู้บาดเจ็บ 109
               คน เสียชีวิต 136 คน สูญหาย 4 คน บ้านเรือนเสียหาย 188 หลัง เสียหายบางส่วน 441 หลัง
               คิดเป็นมูลค่าประมาณ 645 ล้านบาท
                            22 พฤษภาคม 2547 บ้านสบโขง หมู่ 10 ต าบลแม่สวด อ าเภอสบเมย จังหวัด
               แม่ฮ่องสอน ผู้ประสบภัย 400 คน 120 ครัวเรือน บ้านเรือนเสียหาย 100 หลัง
                            17 ตุลาคม 2547 ต าบลอ่าวนาง อ าเภอเมือง จังหวัดกระบี่ เกสเฮาส์ 14 หลัง
               เสียหาย ดินทับหลังคา รั้ว และผนังห้อง 10 หลังเสียหาย รวมมูลค่ากว่า 10 ล้านบาท
                                              ชุดวิชา การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3 - 66

วันนี้ (3 ส.ค.2566) นายพงษ์พิพัฒน์ มีเบญจมาศ นายก อบต.แม่สามแลบ อ.สบเมย จ.แม่ฮ่องสอน เปิดเผยว่า ขณะนี้ในพื้นที่เขต ต.แม่สามแลบ เกิดน้ำป่าไหลหลากและดินโคลนถลมพัดบ้านเรือนเสียหาย บริเวณบ้านแม่ตอละ หมู่ 2 ต.แม่สามแลบ ทำให้ชาวบ้านเสียชีวิต 1 คน บาดเจ็บอีกหลายคน

นอกจากนี้ยังมีบ้านเรือนถูกน้ำป่าพัด 12 หลัง สัญญาณโทรศัพท์ถูกตัดขาดเนื่องจากไฟฟ้าดับมาแล้ว 4 วัน โดยต้องอพยพประชาชนอีกนับร้อยคนไปอยู่ในที่ปลอดภัย ขณะที่ถนนถูกดินสไลด์ปิดทุกเส้นทาง ตั้งแต่ถนนทางหลวงแขวงการทางแม่สะเรียง-แม่สามแลบ และทางหลวงชนบทจากแม่สามแลบ-แม่ตอละ จึงเรียกร้องให้หน่วยงานที่เกี่ยวเร่งเข้าช่วยเหลือ

ข าว ด นโคลนถล ม อ.ปาย 13 ต ลาคม 2562

ส่วนบริเวณบ้านหมู่ 8 ต.แม่สวด อ.สบเมย นายอัครพันธุ์ พูลศิริ นายอำเภอสบเมย สั่งการให้ปลัดอำเภอนำ อส.ร่วมกับเจ้าหน้าที่จากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อ.สบเมย เร่งเคลียร์ถนนบริเวณด่านตรวจแม่สวดใหม่ เนื่องจากมีดินและหินไหลลงมาทับถมปิดเส้นทางการจราจร

สำหรับ อ.สบเมย ได้รับผลกระทบจากฝนตกหนักหลายพื้นที่ ทำให้นายอำเภอสบเมย ต้องจัดกำลังพล อส.ที่ 7 อ.สบเมย เข้าช่วยเหลือประชาชนที่เดือดร้อนจากอุทกภัยตลอด 24 ชั่วโมงในช่วงฝนตกหนัก พร้อมแจ้งเตือนประชาชนเพิ่มความระมัดระวังในการเดินทาง เพราะหินใหญ่ที่ไหลตกลงมาอาจกระเด็นถูกยานพาหนะได้