Your stranger ร ก ไม ล ม สารบ ญ

หลงทาง..

กระทู้สนทนา

กลางบางกรวย ไล่ล้วยเลี้ยวลด ถิ่นเรือกสวน คลองลดแห้ง น้ำไม่ขัง น่างงงวย หรือจะรวยขายที่แล้วมีกิน

Your stranger ร ก ไม ล ม สารบ ญ

0

0

Your stranger ร ก ไม ล ม สารบ ญ

Stranger in your heart

Your stranger ร ก ไม ล ม สารบ ญ

▼ กำลังโหลดข้อมูล... ▼

แสดงความคิดเห็น

คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

ปอป้อง

สมาชิกหมายเลข 1174694

นกโก๊ก

สมาชิกหมายเลข 7304503

สมาชิกหมายเลข 2347554

สมาชิกหมายเลข 2693891

เด็กชายก้อง

สมาชิกหมายเลข 7131026

สมาชิกหมายเลข 2693891

bankxmen

"เมื่อคุณมีผลิตภัณฑ์ 1,200 ชิ้นออกมาในหนึ่งปี ครึ่งหนึ่งของทั้งหมด ผมกล้ารับประกันกับคุณ ถ้าคุณได้ลองเทสมัน มันจะมีกลิ่นแบบเดียวกันและไม่ใช่กลิ่นสุดท้ายเสียด้วย หาอะไรที่สร้างมาเพื่อคุณ อะไรที่เป็นของคุณและไม่ใช่ของคนอื่น ความหรูหราที่แท้จริงคือกลิ่นที่สร้างมาเพื่อคุณและสำหรับคุณเท่านั้น" อาเลสกล่าว

กฎข้อหนึ่งของรายการคือห้ามผู้เข้าร่วมรายการหลงรักกัน แต่การร่วมรายการในฐานะสามีภรรยาสมมตินั้น เขาและเธอจะห้ามใจตัวเองได้หรือไม่ แล้วรายการจะจบลงอย่างไร เขาและเธอจะยอมแหกกฎนั้นไหม?

ดงบังชินกิ tvxq ชางมิน ชิมชางมิน อาหารไทย รายการเกาหลี พระเอกเกาหลี นางเอกไทย wgm

ผู้เข้าชมรวม

19,510

ผู้เข้าชมเดือนนี้

7

ผู้เข้าชมรวม

19.51K

ความคิดเห็น

57

คนติดตาม

139

จำนวนตอน : 56 ตอน

อัปเดตล่าสุด : 21 ต.ค. 62 / 11:33 น.

แท็กนิยาย

ดงบังชินกิ tvxq ชางมิน ชิมชางมิน อาหารไทย รายการเกาหลี พระเอกเกาหลี นางเอกไทย wgm

StraTnhegeR คนนอก ARROW

คนนอก The Stranger

Albert Camus

อลั แบร์ กามูส์ : เขยี น กุลธิดา บณุ ยะกุล-ดันนากิน้ : แปล

คนนอก

The StrangeR

อลั แบร์ กามสู ์ : เขยี น กลุ ธิดา บณุ ยะกลุ -ดนั นากน้ิ : แปล พิมพ์ พ.ศ. 2565

จดั ทำ�โดย

สำ�นักพิมพ์แอร์โรว์ ในเครอื บริษทั แอรโ์ รว์ มลั ตมิ ีเดยี จำ�กดั เลขที่ 1 ถนนกำ�แพงเพชร 6 ซอย 5 แยก 6 (โกสุมนิเวศน์ ซ. 2) แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลกั สี่ กรงุ เทพฯ 10210 โทรศพั ท์ 0-2573-6584 ฝ่ายขาย 0-2573-6572 Email : [email protected] Line ID : @arrow11 hompage : www.arrowmultimedia.co.th CThoapiyLriagnhgt u©agbeyTAralbnesrltaCtiaomnucso.pyright © 2022 by Arrow Multimedia Co.,Ltd.

All rights reserved. © สงวนลขิ สิทธโ์ิ ดย บรษิ ทั แอรโ์ รว์ มัลติมีเดีย จ�ำกัด ห้ามน�ำสว่ นหนึ่งสว่ นใดของหนงั สอื เลม่ นไ้ี ปลอกเลียน ท�ำส�ำเนา ถ่ายเอกสาร หรือนำ� ไปเผยแพรใ่ นอินเทอรเ์ นต็ หรือส่อื ตา่ งๆ ไม่ว่าในรปู แบบใด นอกจากไดร้ บั อนุญาตเปน็ ลายลกั ษณ์อักษรเท่านนั้

ขอ้ มลู ทางบรรณานุกรม กามสู ,์ อลั แบร.์ คนนอก—กรงุ เทพฯ : แอร์โรว,์ 2565. 296 หนา้ . 1. วรรณกรรมแปล I. กุลธิดา บุณยะกุล-ดนั นากิน้ , แปล II. ช่อื เรอ่ื ง. ISBN 978-616-434-282-8

บรรณาธิการ : นคิ ม ชาวเรอื กองบรรณาธกิ าร : สภุ าภรณ์ สวา่ งจนั ทร,์ วลยั กร เตม็ ขันท,์ ปวนั รตั น์ เกยี รตธิ ีรชยั , อญั ญารตั น์ ออ่ นฤทธิ์ ผ้จู ดั การทวั่ ไป : เดือนนภา สรุ ามติ ร ศิลปกรรม : ชมพนู ุช ขอดคำ� พิสจู นอ์ กั ษร : ชญานี ขุนพิลึก จดั จำ�หน่ายทั่วประเทศโดย บริษทั อมรินทร์ บุ๊ค เซ็นเตอร์ จ�ำ กดั 108 หมทู่ ี่ 2 ถ.บางกรวย-จงถนอม ต.มหาสวสั ดิ์ อ.บางกรวย จ.นนทบรุ ี 11130 โทรศพั ท์ 0-2423-9999 โทรสาร 0-2449-9222, 0-2449-9500-6 hompage : www.naiin.com พมิ พท์ ี่ : บรษิ ทั ออฟเซ็ทพลัส จำ�กดั 95/39 หม ู่ 8 ซอย สุขสวสั ดิ์ 84 ตำ�บล ในคลองบางปลากด อำ�เภอพระสมุทรเจดยี ์ สมทุ รปราการ 10290 โทรศัพท ์ 0-2461-2161-4 โทรสาร 0-2461-2165 ทำ�เพลตและแยกสีโดย : [email protected] โทรศพั ท์ 0-2883-0360-1

ราคา 295 บาท

Albert Camus

อัลแบร์ กามสู ์ เกดิ วันท่ี 7 พฤศจกิ ายน ค.ศ. 1913 เปน็ นกั เขยี นและนักปรชั ญา ชาวฝร่ังเศส ได้รับรางวัลโนเบลจากนวนิยายเร่ืองคนนอกในปี ค.ศ. 1957 เขา เกิดท่เี มืองมอนโดวี ประเทศอลั จีเรยี บิดาเป็นกรรมกรไรอ่ งุ่นของครอบครัวชาว ฝรงั่ เศสทมี่ าตงั้ ถน่ิ ฐานทก่ี รงุ อลั เจยี รต์ ง้ั แตป่ ี ค.ศ. 1871 กามสู จ์ บการศกึ ษาระดบั มธั ยมทอ่ี ลั เจยี รใ์ นฐานะนกั เรยี นทนุ และไดท้ นุ เรยี นตอ่ ทม่ี หาวทิ ยาลยั อลั เจยี ร์ ทำ� วทิ ยานิพนธส์ ำ� หรับปรญิ ญาโท หลังจากส�ำเร็จการศึกษาด้านปรัชญา เขาท�ำงานหลายต�ำแหน่ง และ ลงเอยดว้ ยงานวารสารศาสตร์ เขาไดเ้ ปดิ บรษิ ทั การแสดงละครในชว่ งวยั สามสบิ ปี และในชว่ งสงครามไดเ้ ขา้ รว่ มกองกำ� ลงั ตอ่ ตา้ นฝรงั่ เศส โดยแกไ้ ขเอกสารใตด้ นิ ทสี่ ำ� คญั ชอื่ วา่ Combat ในบรรดาผลงานสำ� คญั ของเขามผี ลงานนวนยิ ายทไ่ี ดร้ บั การยกย่องอย่างกว้างขวางส่ีเรื่องได้แก่ The Stranger (1946), The Plague (1948), The Fall (1957) และ Exile and the Kingdom (1958) บทละคร คาลิกูลาและละครอีกสามเร่ือง (1958) หนังสือเรียงความเชิงปรัชญาสองเล่ม ไดแ้ ก่ The Rebel (1954) และ The Myth of Sisyphus (1955) ซง่ึ ทงั้ สองเล่ม มอี ยู่ใน Vintage series คนแปลกหน้า (L’etranger) พมิ พ์คร้งั แรกในปี 1942 ซึ่งเวลาน้ีเปน็ หนึ่งในนิยายท่ีอ่านกันอย่างแพร่หลายท่ีสุดของศตวรรษน้ี อีกท้ังยังได้รับการ ยกย่องอย่างสงู ในหมู่ปญั ญาชน อลั แบร์ กามูสไ์ ดร้ บั รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรมในปี 1957 และวนั ที่ 4 มกราคม 1960 เขาเสียชีวติ ในอุบตั เิ หตุรถยนต์

คำ� น�ำส�ำนกั พิมพ์

ค�ำว่า L’etranger ในภาษาฝรั่งเศสจะแปลว่า คนแปลกหน้า หรอื คนนอก ซงึ่ เนอื้ หาของเร่ือง โดยเฉพาะตัวเอกเป็นเหมอื น คนนอกของสังคมที่เขาอยู่ คือความรู้สึกนึกคิดไม่เหมือนคนอ่ืน ท�ำอะไรๆ ไม่เหมือนคนอ่ืน ไม่ค่อยจะยอมรับขนบธรรมเนียม ประเพณขี องสงั คม ผลงานช้ินเอกของ อัลแบร์ กามูส์ เล่มน้ีเนื้อหาเก่ียว กับเรื่องราวของผู้ชายธรรมดาๆ คนหน่ึง ซ่ึงถูกดึงเข้าไปสู่การ ฆาตกรรมอยา่ งไรส้ ติบนชายหาดอลั เจยี ร์ คนนอก ตน้ ฉบับเปน็ ภาษาฝร่ังเศส พมิ พ์ ค.ศ.1942 ได้ ชอื่ ว่าเป็นบทประพนั ธเ์ รอ่ื งเด่นของอลั แบร์ กามสู ์ ต่อมา Stuart Gilbert น�ำมาแปลใช้ช่ือเป็น The Stranger ในฉบับภาษา องั กฤษอเมรกิ นั และถกู แปลเปน็ The Outsider ในฉบบั องั กฤษ ไม่วา่ ช่อื เรือ่ งจะถกู แปลวา่ เป็น คนนอก หรอื คนแปลกหน้า แต่ กล็ ้วนส่อความหมายถึงตัวเอกของเรื่อง ซึง่ มีบุคลิกทโี่ ดดเด่นคือ ความตรงไปตรงมา ไมโ่ กหกหรอื เสแสรง้ ในสง่ิ ทผี่ ดิ ไปจากตวั เอง ในการพิมพ์ครั้งนี้ส�ำนักพิมพ์แอร์โรว์ได้แปลจากฉบับ ภาษาองั กฤษของ สจ๊วรต์ กลิ เบริ ์ต

ส�ำนักพมิ พ์แอร์โรว์

สารบญั

ภาคหน่ึง....................................................................9 I.............................................................9 II............................................................25 III..........................................................31 IV..........................................................40 V............................................................46 VI..........................................................53 ภาคสอง....................................................................66 I............................................................66 II............................................................75 III...........................................................85 IV..........................................................102 V............................................................112

ภาคหน่ึง I

แม่ตายวันน้ี หรือบางทีเม่ือวานน้ี ผมไม่แน่ใจ โทรเลขจากบ้านบอกว่า

“แม่ของคณุ ตาย งานศพวันพรุ่งนี้ ขอแสดงความเสยี ใจอยา่ งสดุ ซ้งึ ” ซงึ่ ท�ำใหเ้ รื่องน้นี า่ สงสัย มันอาจเปน็ เมือ่ วานน้ีกไ็ ด้ บา้ นสำ� หรบั คนชราอยทู่ มี่ าเรง็ โก หา่ งจากอลั เจยี รป์ ระมาณหา้ สบิ ไมล์ ผมควรไปถงึ ทนี่ นั่ กอ่ นมดื ดว้ ยรถรอบบา่ ยสองโมง จากนน้ั ผมกค็ า้ ง ทน่ี นั่ อยู่เฝ้าข้างๆ รา่ งผู้ตายตามปกติ แลว้ กลับมาทน่ี เ่ี ยน็ วันพรุ่งน้ี ผม ไดต้ กลงกบั นายจา้ งของผมไวแ้ ลว้ วา่ จะลาหยดุ งานสองวนั เหน็ ไดช้ ดั วา่ ใน สถานการณน์ เ้ี ขาปฏิเสธไม่ได้ แต่ถึงอย่างนั้นผมก็คิดว่าเขาดูไม่ชอบใจ และผมกบ็ อกโดยไมต่ อ้ งคดิ เลยวา่ “เสยี ใจครบั แตม่ นั ไมใ่ ชค่ วามผดิ ของ ผม คณุ กร็ ู”้ หลงั จากนน้ั ผมกฉ็ กุ คดิ ไดว้ า่ ผมไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งพดู อยา่ งนนั้ ผมไมม่ ี เหตุผลใดๆ ท่ีจะแก้ตัว มันข้ึนอยู่กับเขาที่จะแสดงความเสียใจและอะไร อ่ืนๆ บางทีเขาอาจจะท�ำแบบนั้นในวันมะรืนนี้ตอนท่ีเขาเห็นผมในชุดด�ำ ส�ำหรับเวลาน้ดี รู าวกับว่าแมไ่ มไ่ ด้ตายจรงิ ๆ งานศพท�ำใหผ้ มตระหนักถงึ ความเปน็ จรงิ เรยี กวา่ ตตี ราประทับอยา่ งเปน็ ทางการกไ็ ด…้ ผมข้ึนรถบัสรอบบ่ายสองโมง มันเป็นบ่ายท่ีร้อนจัด ผมกิน อาหารกลางวนั ทร่ี า้ นอาหารเซเลสตเ์ หมอื นเคย ทกุ คนเมตตาปรานอี ยา่ ง ท่ีสุด และเซเรสต์ก็บอกผมว่า “ไม่มีใครเหมือนแม่” ตอนท่ีผมออกมา พวกเขามาที่ประตูกับผม การปลีกตัวไปน้ันเป็นอะไรบางอย่างท่ีรีบเร่ง

คนนอก 9

ท้ายที่สุดผมต้องโทรศัพท์ไปท่ีท่ีพักของเอ็มมานูเอลเพื่อยืมเน็กไทสีด�ำ และแถบคาดไว้ทกุ ข์ เขาสญู เสยี ลุงไปเม่ือสองสามเดือนก่อน ผมตอ้ งวง่ิ ไปขนึ้ รถบสั นา่ จะเปน็ เพราะความรบี เรง่ ทง้ั แสงสวา่ ง ทสี่ ะทอ้ นขนึ้ มาจากถนนและจากทอ้ งฟา้ กลน่ิ เหมน็ ของนำ้� มนั และแรงสนั่ สะเทอื นทท่ี ำ� ใหผ้ มรสู้ กึ งว่ งนอนเอามากๆ อยา่ งไรกแ็ ลว้ แตผ่ มหลบั เกอื บ ตลอดทาง ตอนทต่ี นื่ ขึ้นมาผมก�ำลงั เอนพงิ ทหารคนหนงึ่ เขาย้ิมแล้วถาม ผมวา่ คณุ คงตอ้ งมาจากทหี่ า่ งไกลเลยใชไ่ หม และผมกเ็ พยี งพยกั หนา้ เพอื่ สรปุ ให้อะไรๆ สัน้ ลง ผมไมอ่ ยใู่ นอารมณ์ที่จะพูดคุย บา้ นอยหู่ ่างจากหมู่บา้ นออกไปกวา่ ไมล์ ผมเดินไปที่นน่ั ผมขอ อนุญาตดูแม่ในทันที แต่คนเฝ้าประตูบอกว่าผมต้องไปพบผู้อ�ำนวยการ บ้านพักเสียก่อน เขาไม่วา่ ง ผมกเ็ ลยต้องคอยนิดหน่อย คนเฝ้าประตคู ุย กับผมขณะที่คอย จากน้ันก็พาผมไปที่หอ้ งทำ� งาน ผอู้ �ำนวยการบ้านพัก เป็นผู้ชายตัวเล็กมาก ผมขาว และมีเหรียญตราลายดอกกุหลาบอยู่ใน รังดุมเสื้อ เขามองผมอยู่นานด้วยนัยน์ตาสีฟ้าเปียกช้ืน จากนั้นเราก็ จับมือกัน เขากุมมือผมไว้นานจนผมเร่ิมรู้สึกขัดเขิน หลังจากนั้นเขา ตรวจสอบสมดุ ลงทะเบยี นบนโตะ๊ ของเขาแลว้ บอก “มาดาม เมอร์โซลต์ เข้ามาอยู่ในบ้านพักเม่ือสามปีก่อน ท่าน ไม่มีทรพั ย์สมบัตสิ ว่ นตวั และพึง่ พาอาศัยคณุ ท้ังหมด” ผมมีความรู้สึกว่าเขาก�ำลังโทษผมในอะไรบางอย่าง และเริ่ม อธบิ าย แตเ่ ขาขดั จงั หวะผม “ไมจ่ ำ� เปน็ ตอ้ งขอโทษหรอกหนมุ่ นอ้ ย ฉนั คน้ ดรู ายงานทบ่ี นั ทกึ ไวแ้ ลว้ และเหน็ ไดช้ ดั วา่ เธอไมอ่ ยใู่ นฐานะทจี่ ะจดั การใหแ้ มไ่ ดร้ บั การดแู ล อยา่ งเหมาะสมได้ ท่านตอ้ งมใี ครคนหนง่ึ อย่ดู ้วยตลอดเวลา และคนหนุ่ม ทท่ี ำ� งานอยา่ งเธอยอ่ มไมม่ เี งนิ มากมายทจ่ี ะจา่ ยได้ อยา่ งไรกแ็ ลว้ แตท่ า่ น มคี วามสุขขน้ึ มากในบ้านน”ี้

10 The Stranger

ผมบอก “ครบั ผมแนใ่ จวา่ อย่างน้ัน” จากนนั้ เขากเ็ สรมิ “ทา่ นมเี พอื่ นดๆี ทนี่ ่ี เธอกร็ ู้ คนแกอ่ ยา่ งทา่ น และคนอยา่ งเราๆ มกั จะเขา้ กนั ไดด้ กี บั คนรนุ่ เดยี วกนั เธออายนุ อ้ ยเกนิ ไป เธอคงไม่สามารถคุยเปน็ เพอ่ื นกับท่านได้มากนัก” เปน็ อยา่ งนนั้ จรงิ ๆ ตอนทเ่ี ราอยดู่ ว้ ยกนั แมม่ กั เฝา้ ดผู ม แตเ่ ราแทบ ไมพ่ ดู กนั เลย สองสามอาทติ ยแ์ รกทอี่ ยบู่ า้ นพกั คนชรา ทา่ นเคยรอ้ งไหห้ นกั มาก แตน่ นั่ กเ็ พยี งเพราะทา่ นยงั ไมค่ นุ้ เคยกบั สถานท่ี หลงั สองสามเดอื น ผา่ นไปทา่ นคงรอ้ งไหถ้ า้ มคี นบอกใหไ้ ปจากบา้ นพกั เสยี เพราะนจ่ี ะเปน็ การ บบี บงั คบั อยา่ งรนุ แรง นน่ั คอื สาเหตวุ า่ ทำ� ไมในชว่ งปสี ดุ ทา้ ยผมจงึ ไมค่ อ่ ยได้ ไปเยยี่ มทา่ น ยงิ่ ไปกวา่ นนั้ มนั หมายถงึ ผมตอ้ งสญู เสยี วนั อาทติ ยข์ องผมไป อกี ดว้ ย—ไมต่ อ้ งพดู ถงึ ความยงุ่ ยากทตี่ อ้ งขน้ึ รถบสั ซอ้ื ตวั๋ และใชเ้ วลาสอง ชว่ั โมงในการเดนิ ทางแตล่ ะเทย่ี วเสยี ดว้ ยซำ�้ ผอู้ ำ� นวยการบา้ นพกั พดู ตอ่ แตผ่ มกไ็ มไ่ ดใ้ สใ่ จมากนกั จนในทสี่ ดุ เขาก็วา่ “คราวน้ี ฉนั คดิ วา่ เธอคงอยากไปดแู ม่ของเธอใช่ไหม” ผมลุกขนึ้ โดยไมต่ อบ และเขากน็ ำ� ไปทป่ี ระตู ตอนท่ีเราลงบนั ได เขาอธบิ ายว่า “ฉันให้ยา้ ยรา่ งไปท่หี ้องเกบ็ ศพเล็กๆ ของเรา—เพือ่ จะไมท่ ำ� ให้ คนแกอ่ ืน่ ๆ ไม่สบายใจ เธอเข้าใจนะ ทกุ คร้งั ท่มี ใี ครตายทน่ี ่ี พวกเขาจะ อยใู่ นสภาพกระวนกระวายอยสู่ องสามวนั ซง่ึ กห็ มายความวา่ แนน่ อนวา่ จะท�ำใหม้ ีงานและความกังวลเพ่มิ ข้ึนสำ� หรบั เจา้ หน้าท่ขี องเรา” เราข้ามลานบ้าน ท่ีซ่ึงชายแก่จ�ำนวนหนึ่งก�ำลังพูดคุยกันเป็น กลมุ่ เลก็ ๆ พวกเขาพากนั นงิ่ เงยี บเมอื่ เรามาถงึ จากนนั้ กเ็ รม่ิ คยุ กนั อกี ครง้ั เมื่อคล้อยหลังเรา เสียงของพวกเขาท�ำให้ผมคิดถึงนกแก้วในกรง เพียง

คนนอก 11

แต่เสียงไม่ค่อยเสียงดังมากนัก ผู้อ�ำนวยการบ้านพักหยุดหน้าทางเข้า ของอาคารหลงั เลก็ และเตีย้ หลงั หน่งึ “ฉนั ทงิ้ เธอไวท้ น่ี แี่ หละ เมอซเิ ออร์ เมอรโ์ ซลต์ ถา้ เธอตอ้ งการฉนั จะเพอ่ื อะไรกแ็ ลว้ แต่ เธอไปพบฉนั ไดใ้ นหอ้ งทำ� งานของฉนั เราเสนอใหม้ ี พธิ ศี พเชา้ วนั พรงุ่ น้ี นน่ั จะชว่ ยใหเ้ ธอไดใ้ ชเ้ วลากลางคนื อยขู่ า้ งหบี ศพของ แมข่ องเธอ ไมส่ งสยั เลยวา่ เธอตอ้ งการทำ� อยา่ งนนั้ มอี กี อยา่ ง ฉนั ไดเ้ รยี นรู้ จากเพอ่ื นของแมเ่ ธอวา่ ทา่ นตอ้ งการฝงั ดว้ ยพธิ กี รรมทางศาสนา ฉนั ไดจ้ ดั เตรยี มเรอื่ งนไี้ วแ้ ลว้ แตค่ ดิ วา่ ควรบอกใหเ้ ธอร”ู้ ผมบอกขอบคณุ เขา เทา่ ทร่ี ู้ แมว้ า่ แมข่ องผมจะไมแ่ สดงตวั วา่ เปน็ ผไู้ มน่ บั ถือในพระเจา้ แต่ก็ไมเ่ คยคิดถงึ เร่อื งศาสนาในชีวติ ของท่าน ผมเข้าไปในอาคารเก็บศพ มันเป็นห้องท่ีสว่าง สะอาดเอี่ยม มี ผนังสีขาว และช่องรบั แสงขนาดใหญ่บนหลังคา เฟอรน์ เิ จอรป์ ระกอบด้วย เกา้ อแ้ี ละขาหยง่ั ขาหยง่ั สองตวั กางอยทู่ กี่ ลางหอ้ ง และมหี บี ศพวางอยบู่ นนนั้ ฝาหีบอยู่กับที่เรียบร้อย แต่ไขสกรูไว้เพียงสองสามรอบ และหัวโลหะของ มนั กย็ นื่ ขนึ้ มาเหนอื ไมท้ ท่ี าสวี อลนตั เขม้ ผหู้ ญงิ อาหรบั คนหนงึ่ —ผมคดิ วา่ เปน็ พยาบาล—กำ� ลงั นงั่ อยขู่ า้ งๆ ทตี่ งั้ หบี ศพ หล่อนสวมเสอ้ื เอย๊ี มสนี ำ้� เงิน และมีผา้ พนั คอสคี อ่ นข้างฉดู ฉาดพันอย่รู อบเรือนผม ตอนนนั้ เองทค่ี นเฝา้ ประตูเขา้ มาขา้ งหลงั ผม เหน็ ไดช้ ดั วา่ วิ่งมา เพราะเขาหายใจหอบนดิ หน่อย “เราปิดฝาไว้ แต่ฉนั ถกู สง่ั ให้ไขสกรูขึน้ ตอนท่เี ธอมา เพือ่ ว่าเธอ จะได้ดูท่าน” ขณะทีเ่ ขาตรงไปทห่ี ีบศพ ผมบอกเขาวา่ อย่ายุ่งยากเลย “เอ?๋ อะไรนะ” เขาอุทาน “เธอไม่ตอ้ งการใหฉ้ นั …” “ไม”่ ผมวา่

12 The Stranger

เขาสอดไขควงกลับลงในกระเป๋าแล้วจ้องมองผม ผมตระหนัก ในตอนนน้ั เองว่าไม่ควรบอกว่า “ไม”่ และมนั กท็ �ำให้ผมอึดอัดนดิ หน่อย หลงั จากมองผมอยู่ครู่หน่งึ เขาก็ถาม “ทำ� ไมละ่ ” แตไ่ มไ่ ดฟ้ งั ดตู ำ� หนิติเตียนแต่อย่างใด เพยี งอยากรู้ “เอ่อ ผมบอกไม่ได้จริงๆ ” ผมตอบ เขาเรมิ่ หมนุ หนวดสขี าวของตวั เองเลน่ จากนนั้ กเ็ อย่ อยา่ งออ่ นโยน โดยไมม่ องผม “ฉันเขา้ ใจ” เขาเปน็ ผชู้ ายทดี่ เู ปน็ มติ ร มนี ยั นต์ าสฟี า้ และแกม้ แดงเรอ่ื เขาดงึ เก้าอมี้ าวางใกล้หีบศพให้ผม แล้วลงนั่งเยอื้ งไปข้างหลงั พยาบาลลกุ ขนึ้ แลว้ ไปทปี่ ระตู ตอนทหี่ ลอ่ นกำ� ลงั ผา่ นไป คนเฝา้ ประตกู ก็ ระซบิ ทหี่ ขู องผม “หล่อนมีเนอ้ื งอก น่าสงสาร” ผมมองดูหล่อนอย่างพินิจพิจารณาย่ิงขึ้น และสังเกตเห็นว่า หลอ่ นมผี า้ พนั อยรู่ อบศรี ษะ ใตต้ าลงมาไมม่ าก มนั วางราบอยบู่ นสนั จมกู และแทบไมเ่ ห็นอะไรอยา่ งอนื่ บนใบหน้าหลอ่ นนอกจากแถบขาวๆ นัน่ ทันทีทหี่ ล่อนออกไปจากห้อง คนเฝา้ ประตูลุกขน้ึ “ฉนั จะทง้ิ เธอไวต้ ามลำ� พงั ” ผมไมร่ วู้ า่ เพราะตวั เองทำ� กริ ยิ าทา่ ทอี ะไรหรอื เปลา่ แตแ่ ทนทจ่ี ะ ไปเสยี เขากลับหยุดอย่หู ลังเก้าอ้ขี องผม ความรสู้ ึกที่วา่ มใี ครคนหนึ่งปัก หลกั อยขู่ า้ งหลงั ทำ� ใหผ้ มอดึ อดั ดวงอาทติ ยก์ ำ� ลงั คลอ้ ยตำ่� ลง และทงั้ หอ้ ง กอ็ าบดว้ ยแสงสวา่ งสบายตานา่ รนื่ รมย์ แตนสองตวั กำ� ลงั สง่ เสยี งหงึ่ ๆ อยู่ ท่ีช่องรบั แสงบนเพดานเหนือศีรษะ ผมงว่ งจนแทบถ่างตาไว้ไมไ่ หว ถาม คนเฝา้ ประตโู ดยไมม่ องไปรอบๆ วา่ เขาอยทู่ บ่ี า้ นคนชรานมี้ านานแคไ่ หน แล้ว “ห้าป”ี ค�ำตอบทต่ี รงไปตรงมาเสียจนชวนให้คดิ วา่ เขาคงคาดว่าจะ ไดร้ บั ค�ำถามจากผมอย่กู อ่ นแล้ว

คนนอก 13

นนั่ เปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ของเขา และเขากก็ ลายเปน็ คนคอ่ นขา้ งชา่ งพดู ชา่ งคยุ ถา้ คนๆ หนงึ่ บอกเมอื่ สบิ ปกี อ่ นวา่ เขาจะสน้ิ สดุ วนั เวลาของตวั เอง ในฐานะคนเฝ้าประตูของบ้านท่ีมาเร็งโก เขาจะไม่มีวันเชื่อเด็ดขาด เขา บอกว่าตัวเองอายุหกสิบส่ปี ี และมาจากปารีส ตอนท่ีเขาบอกว่าอยา่ งน้ันผมก็แทรกข้ึน “อา! คณุ ไมใ่ ชค่ นที่นี่” ตอนนนั้ ผมจำ� ไดว้ า่ กอ่ นพาผมไปหาผอู้ ำ� นวยการบา้ นพกั คนชรา เขาบอกอะไรบางอย่างเกี่ยวกับแม่ เขาบอกว่าต้องฝังท่านอย่างเร็วมาก เพราะความร้อนของแถบนี้ โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ บนที่ราบต�่ำลงไปนัน่ “ที่ ปารีสพวกเขาเกบ็ รา่ งคนตายไว้สามวนั บางครัง้ ส่ีวนั ” หลงั จากนั้นเขาก็ เท้าความวา่ เขาใช้เวลาดที ส่ี ดุ ในชีวิตท่ปี ารสี และไมเ่ คยลมื มนั ได้ “ทีน่ ”่ี เขาวา่ “อะไรๆ ตอ้ งเร่งรบี คุณแทบไม่มเี วลาได้ทำ� ความคุ้นเคยกบั ความ คิดท่ีว่าใครคนหนึ่งตายก่อนที่คุณจะถูกขนไปงานศพ” “น่ันพอแล้ว” ภรรยาของเขาขัดขึ้น “คุณไม่ควรพูดอะไรแบบนั้นกับสุภาพบุรุษหนุ่ม ผนู้ า่ สงสาร” ชายแกห่ นา้ แดงแลว้ เรมิ่ ขอโทษ ผมบอกเขาวา่ ไมเ่ ปน็ ไรเลย จรงิ ๆ แลว้ ผมพบวา่ มนั นา่ สนใจทีเดียว สิ่งท่ีเขาบอกผม ผมไมเ่ คยคิดถงึ สงิ่ นัน้ มาก่อน คราวนเ้ี ขาเลา่ ตอ่ วา่ เขามาทบี่ า้ นพกั นใ้ี นฐานะผอู้ ยอู่ าศยั ธรรมดาๆ แต่เขายังคงกระชุ่มกระชวยและแข็งแรงทีเดียว แล้วตอนที่งานคนเฝ้า ประตวู า่ งลง เขาเสนอท่ีจะท�ำหน้าท่นี ้นั ผมชใี้ หเ้ หน็ วา่ แมถ้ งึ อยา่ งนน้ั เขากเ็ ปน็ ผอู้ ยอู่ าศยั ทแ่ี ทจ้ รงิ เหมอื น คนอ่ืนๆ แต่เขาไม่ยอมรับฟัง เขาเป็น “เหมือนเจ้าหน้าท่ีคนหน่ึง” ผม เคยสะดุดใจกบั นิสัยการเรียก “พวกเขา” หรือทนี่ ้อยคร้ังกว่าก็ “คนแก่ๆ พวกนั้น” ของเขาเวลาที่พูดถึงผู้อยู่อาศัยซึ่งไม่ได้แก่กว่าตัวเขาเองเลย แตก่ ระนั้นผมกย็ งั คงมองเหน็ ทศั นคติของเขา ในฐานะคนเฝ้าประตเู ขามี สถานะบางอยา่ ง และมีอ�ำนาจเหนอื คนอ่ืนๆ อย่บู า้ ง

14 The Stranger

ในตอนนน้ั พยาบาลกก็ ลบั มา กลางคนื มาถงึ อยา่ งรวดเรว็ ดเู หมอื น วา่ ทอ้ งฟา้ เหนอื ชอ่ งรบั แสงบนหลงั คากลายเปน็ สดี ำ� ไปในทนั ทที นั ใด คนเฝา้ ประตกู ดสวติ ชบ์ นตะเกยี ง และผมกแ็ ทบมองอะไรไมเ่ หน็ เพราะความจดั จา้ ของแสง เขาแนะนำ� วา่ ผมควรไปทโ่ี รงอาหารเพอื่ กนิ อาหารเยน็ แตผ่ มไมห่ วิ จากนนั้ เขากเ็ สนอวา่ จะเอากาแฟใสน่ มมาใหผ้ มถว้ ยหนง่ึ ในเมอื่ ผมไมม่ อี คติ อะไรมากนกั กบั กาแฟใสน่ ม ผมกเ็ ลยบอกวา่ “ขอบคณุ ครบั ” และสองสาม นาทีต่อมาเขาก็กลับมาพร้อมกับถาดใบหน่ึง ผมด่ืมกาแฟ แล้วจากน้ันก็ อยากบหุ ร่ี แตไ่ มแ่ นใ่ จวา่ ควรสบู หรอื ไมใ่ นสถานการณแ์ บบน—ี้ ตอ่ หนา้ แม่ ผมคดิ ทบทวน จรงิ ๆ แลว้ มนั ดไู มส่ ำ� คญั อะไร ดงั นนั้ ผมกเ็ ลยยน่ื บหุ รใ่ี หค้ น เฝา้ ประตู และเราทง้ั คกู่ ส็ บู บหุ รกี่ นั คร่หู นง่ึ ผา่ นไปเขาเร่ิมพูดคุยอกี คร้ัง “รู้ไหม เพื่อนแม่ของเธอจะมาถึงในไม่ช้าเพ่ือเฝ้าข้างๆ ศพกับ เธอ เรามกั จะมี ‘การเฝ้ายาม’ ที่นเ่ี วลาทใ่ี ครตาย ฉนั ควรไปขนเกา้ อี้กับ กาแฟด�ำสักกามาดีกวา่ ” แสงสะทอ้ นจากผนังสีขาวก�ำลงั ท�ำให้ตาของผมเสียวแปลบ ผม ถามว่าเขาจะปิดตะเกียงสักดวงได้ไหม “ท�ำอย่างน้ันไม่ได้หรอก” เขา ตอบ พวกเขาจัดแสงไว้อย่างน้ัน เปิดตะเกียงดวงเดียวหรือทั้งหมดหรือ ไม่เปิดเลยสักดวง หลังจากนั้นผมก็ไม่ให้ความสนใจเขาอีก เขาออกไป ข้างนอก ยกเอาเก้าอ้ีมา วางมันลงรอบๆ หีบศพ วางกาใส่กาแฟและ ถว้ ยกาแฟสบิ หรอื สบิ สองใบลงบนโตะ๊ ตวั หนง่ึ จากนน้ั เขากล็ งนงั่ หนั หนา้ มาทางผม ท่ีอกี ฟากหนึ่งของแม่ พยาบาลอยทู่ ่สี ดุ ปลายอีกดา้ นของหอ้ ง หนั หลงั ใหผ้ ม ผมมองไมเ่ หน็ ว่าหล่อนก�ำลงั ท�ำอะไร แตใ่ นลักษณะทแ่ี ขน ของหล่อนเคลื่อนไหว ผมเดาว่าหล่อนก�ำลังถักไหมพรม ผมก�ำลังรู้สึก

คนนอก 15

สบายเอามากๆ กาแฟท�ำให้ผมอบอุ่น มีกล่ินดอกไม้ และผมสูดอากาศ เยน็ ๆ ยามคำ�่ คืนทผ่ี ่านเข้ามาทางประตูท่เี ปดิ ไว้ ผมคิดวา่ ตัวเองงีบหลับ ไปครหู่ นงึ่ ผมตนื่ ขนึ้ มาดว้ ยเสยี งกรอบแกรบแปลกๆ ในหู หลงั จากหลบั ตา ลงแลว้ ผมมคี วามรสู้ กึ วา่ แสงสวา่ งจดั จา้ ขน้ึ กวา่ กอ่ นเสยี อกี ไมม่ รี อ่ งรอย ของเงาท่ไี หน สรรพสิ่งตา่ งๆ แต่ละโคง้ มมุ ดูเหมือนจะสร้างเสน้ โครงรา่ ง ของมนั ลงบนดวงตาของเรา คนแก่ เพื่อนของแม่ก�ำลังเข้ามาขา้ งใน ผม นับได้ทั้งหมดสิบคน คนเหล่าน้ันเคลื่อนผ่านแสงสีขาวเย็นเยียบเข้ามา แบบแทบไม่มีเสียงใดๆ ไม่มีเก้าอี้ตัวใดส่งเสียงเอ๊ียดอ๊าดตอนท่ีพวกเขา ลงนั่ง ไม่เคยมีครั้งใดในชีวิตของผมท่ีเห็นใครชัดเจนเท่าเห็นคนเหล่านี้ ไม่มีรายละเอียดใดบนเส้ือผ้าหรือรูปพรรณสัณฐานของพวกเขารอดพ้น จากสายตาผม แตถ่ งึ อยา่ งนน้ั ผมกย็ งั ไมไ่ ดย้ นิ เสยี งของพวกเขา และยาก จะเช่อื ว่าพวกเขามอี ยูจ่ ริง ผู้หญิงเกือบทั้งหมดสวมผ้ากันเปื้อน มีสายผูกไว้แน่นรอบเอว ท�ำให้ท้องใหญ่ๆ ของพวกหล่อนย่ิงป่องข้ึนไปอีก ผมไม่เคยสังเกตเห็น ว่าผู้หญิงแก่ๆ มักมีพุงพลุ้ยๆ กันอย่างน้ันมาก่อน แต่ผู้ชายส่วนใหญ่ ผอมพอๆ กบั คราด และทกุ คนถอื ไมเ้ ทา้ ทส่ี ะดดุ ตาผมมากทส่ี ดุ เกย่ี วกบั ใบหน้าของพวกเขาก็คือ ผมมองไม่เห็นดวงตาของพวกเขา มีเพียงแสง​ มวั ๆ ในกลุม่ ของรอยยน่ ตอนทีน่ ง่ั ลงพวกเขามองผมแลว้ แกวง่ หวั ไปมาอย่างเงอะงะ ริม ฝปี ากของพวกเขาบมุ๋ ลงไประหวา่ งเหงือกทีไ่ ม่มฟี นั ผมตกลงใจไม่ไดว้ า่ พวกเขาทกั ทายผมหรือกำ� ลังพยายามพูดอะไรบางอย่าง หรอื เปน็ เพราะ ความทุพพลภาพของวัย ผมออกจะคิดว่าพวกเขาก�ำลังทักทายผมตาม แบบของเขา แตม่ ันกลบั แปลกทีเ่ ห็นคนแกเ่ หลา่ นัน้ รวมตัวอยู่รอบๆ คน เฝา้ ประตู มองดผู มอยา่ งเครง่ ขรมึ แลว้ แกวง่ ศรี ษะจากดา้ นหนง่ึ ไปอกี ดา้ น ชัว่ ขณะหนึง่ ผมมคี วามคิดโง่ๆ วา่ พวกเขามานงั่ พพิ ากษาผม

16 The Stranger

Albert Camus ™ THE STRANGER

THE

Stranger

By ALBERT CAMUS

Translated from the French by Stuart Gilbert

VINTAGE BOOKS A Division of Random House

NEW YORK

132 The Stranger

Part One I

MOTHER died today. Or, maybe, yesterday; I can’t be sure. The telegram from the Home says: YOUR MOTHER PASSED AWAY. FUNERAL TOMORROW. DEEP SYMPATHY. Which leaves the matter doubtful; it could have been yesterday.

The Home for Aged Persons is at Marengo, some fifty miles from Algiers. With the two o’clock bus I should get there well before nightfall. Then I can spend the night there, keeping the usual vigil beside the body, and be back here by tomorrow evening. I have fixed up with my employer for two days’ leave; obviously, under the circumstances, he couldn’t refuse. Still, I had an idea he looked annoyed, and I said, without thinking: “Sorry, sir, but it’s not my fault, you know.”

Afterwards it struck me I needn’t have said that. I had no reason to excuse myself; it was up to him to express his sympathy and so forth. Probably he will do so the day after tomorrow, when he sees me in black. For the present, it’s almost as if Mother weren’t really dead. The funeral will bring it home to me, put an official seal on it, so to speak....

คนนอก 133

I took the two-o’clock bus. It was a blazing hot afternoon. I’d lunched, as usual, at Céleste’s restaurant. Everyone was most kind, and Céleste said to me, “There’s no one like a mother.” When I left they came with me to the door. It was something of a rush, getting away, as at the last moment I had to call in at Emmanuel’s place to borrow his black tie and mourning band. He lost his uncle a few months ago.

I had to run to catch the bus. I suppose it was my hur- rying like that, what with the glare off the road and from the sky, the reek of gasoline, and the jolts, that made me feel so drowsy. Anyhow, I slept most of the way. When I woke I was leaning against a soldier; he grinned and asked me if I’d come from a long way off, and I just nodded, to cut things short. I wasn’t in a mood for talking.

The Home is a little over a mile from the village. I went there on foot. I asked to be allowed to see Mother at once, but the doorkeeper told me I must see the warden first. He wasn’t free, and I had to wait a bit. The doorkeeper chatted with me while I waited; then he led me to the office. The warden was a very small man, with gray hair, and a Legion of Honor rosette in his buttonhole. He gave me a long look with his watery blue eyes. Then we shook hands, and he held mine so long that I began to feel embarrassed. After that he consulted a register on his table, and said:

“Madame Meursault entered the Home three years ago. She had no private means and depended entirely on you.”

I had a feeling he was blaming me for something, and

134 The Stranger

started to explain. But he cut me short. “There’s no need to excuse yourself, my boy. I’ve looked

up the record and obviously you weren’t in a position to see that she was properly cared for. She needed someone to be with her all the time, and young men in jobs like yours don’t get too much pay. In any case, she was much happier in the Home.”

I said, “Yes, sir; I’m sure of that.” Then he added: “She had good friends here, you know, old folks like herself, and one gets on better with people of one’s own generation. You’re much too young; you couldn’t have been much of a companion to her.” That was so. When we lived together, Mother was always watching me, but we hardly ever talked. During her first few weeks at the Home she used to cry a good deal. But that was only because she hadn’t settled down. After a month or two she’d have cried if she’d been told to leave the Home. Because this, too, would have been a wrench. That was why, during the last year, I seldom went to see her. Also, it would have meant losing my Sunday—not to mention the trouble of going to the bus, getting my ticket, and spending two hours on the journey each way. The warden went on talking, but I didn’t pay much at- tention. Finally he said: “Now, I suppose you’d like to see your mother?” I rose without replying, and he led the way to the door. As we were going down the stairs he explained: “I’ve had the body moved to our little mortuary—so as

คนนอก 135

not to upset the other old people, you understand. Every time there’s a death here, they’re in a nervous state for two or three days. Which means, of course, extra work and worry for our staff.”

We crossed a courtyard where there were a number of old men, talking amongst themselves in little groups. They fell silent as we came up with them. Then, behind our backs, the chattering began again. Their voices reminded me of parakeets in a cage, only the sound wasn’t quite so shrill. The warden stopped outside the entrance of a small, low building.

“So here I leave you, Monsieur Meursault. If you want me for anything, you’ll find me in my office. We propose to have the funeral tomorrow morning. That will enable you to spend the night beside your mother’s coffin, as no doubt you would wish to do. Just one more thing; I gathered from your mother’s friends that she wished to be buried with the rites of the Church. I’ve made arrangements for this; but I thought I should let you know.”

I thanked him. So far as I knew, my mother, though not a professed atheist, had never given a thought to religion in her life.

I entered the mortuary. It was a bright, spotlessly clean room, with whitewashed walls and a big skylight. The furniture consisted of some chairs and trestles. Two of the latter stood open in the center of the room and the coffin rested on them. The lid was in place, but the screws had been given only a few turns and their nickeled heads stuck out above the wood, which

136 The Stranger

was stained dark walnut. An Arab woman—a nurse, I supposed— was sitting beside the bier; she was wearing a blue smock and had a rather gaudy scarf wound round her hair.

Just then the keeper came up behind me. He’d evi- dently been running, as he was a little out of breath.

“We put the lid on, but I was told to unscrew it when you came, so that you could see her.”

While he was going up to the coffin I told him not to trouble.

“Eh? What’s that?” he exclaimed. “You don’t want me to...?”

“No,” I said. He put back the screwdriver in his pocket and stared at me. I realized then that I shouldn’t have said, “No,” and it made me rather embarrassed. After eying me for some moments he asked: “Why not?” But he didn’t sound reproachful; he simply wanted to know. “Well, really I couldn’t say,” I answered. He began twiddling his white mustache; then, without looking at me, said gently: “I understand.” He was a pleasant-looking man, with blue eyes and ruddy cheeks. He drew up a chair for me near the coffin, and seated himself just behind. The nurse got up and moved toward the door. As she was going by, the keeper whispered in my ear: “It’s a tumor she has, poor thing.”

คนนอก 137

I looked at her more carefully and I noticed that she had a bandage round her head, just below her eyes. It lay quite flat across the bridge of her nose, and one saw hardly anything of her face except that strip of whiteness.

As soon as she had gone, the keeper rose. “Now I’ll leave you to yourself.” I don’t know whether I made some gesture, but instead of going he halted behind my chair. The sensation of someone posted at my back made me uncomfortable. The sun was getting low and the whole room was flooded with a pleasant, mellow light. Two hornets were buzzing overhead, against the skylight. I was so sleepy I could hardly keep my eyes open. Without looking round, I asked the keeper how long he’d been at the Home. “Five years.” The answer came so pat that one could have thought he’d been expecting my question. That started him off, and he became quite chatty. If anyone had told him ten years ago that he’d end his days as doorkeeper at a home at Marengo, he’d never have believed it. He was sixty-four, he said, and hailed from Paris. When he said that, I broke in. “Ah, you don’t come from here?” I remembered then that, before taking me to the warden, he’d told me something about Mother. He had said she’d have to be buried mighty quickly because of the heat in these parts, especially down in the plain. “At Paris they keep the body for three days, sometimes four.” After that he had mentioned that he’d spent the best part of his life in Paris, and could never man-

138 The Stranger

age to forget it. “Here,” he had said, “things have to go with a rush, like. You’ve hardly time to get used to the idea that some- one’s dead, before you’re hauled off to the funeral.” “That’s enough,” his wife had put in. “You didn’t ought to say such things to the poor young gentleman.” The old fellow had blushed and begun to apologize. I told him it was quite all right. As a matter of fact, I found it rather interesting, what he’d been tell- ing me; I hadn’t thought of that before.

Now he went on to say that he’d entered the Home as an ordinary inmate. But he was still quite hale and hearty, and when the keeper’s job fell vacant, he offered to take it on.

I pointed out that, even so, he was really an inmate like the others, but he wouldn’t hear of it. He was “an official, like.” I’d been struck before by his habit of saying “they” or, less often, “them old folks,” when referring to inmates no older than himself. Still, I could see his point of view. As doorkeeper he had a certain standing, and some authority over the rest of them.

Just then the nurse returned. Night had fallen very quickly; all of a sudden, it seemed, the sky went black above the skylight. The keeper switched on the lamps, and I was almost blinded by the blaze of light.

He suggested I should go to the refectory for dinner, but I wasn’t hungry. Then he proposed bringing me a mug of café au lait. As I am very partial to café au lait I said, “Thanks,” and a few minutes later he came back with a tray. I drank the coffee, and then I wanted a cigarette. But I wasn’t sure if I should smoke, under the circumstances—in Mother’s presence. I thought it over;

คนนอก 139

really, it didn’t seem to matter, so I offered the keeper a cigarette, and we both smoked.

After a while he started talking again. “You know, your mother’s friends will be coming soon, to keep vigil with you beside the body. We always have a ‘vigil’ here, when anyone dies. I’d better go and get some chairs and a pot of black coffee.” The glare off the white walls was making my eyes smart, and I asked him if he couldn’t turn off one of the lamps. “Noth- ing doing,” he said. They’d arranged the lights like that; either one had them all on or none at all. After that I didn’t pay much more attention to him. He went out, brought some chairs, and set them out round the coffin. On one he placed a coffeepot and ten or a dozen cups. Then he sat down facing me, on the far side of Mother. The nurse was at the other end of the room, with her back to me. I couldn’t see what she was doing, but by the way her arms moved I guessed that she was knitting. I was feeling very comfortable; the coffee had warmed me up, and through the open door came scents of flowers and breaths of cool night air. I think I dozed off for a while. I was wakened by an odd rustling in my ears. After hav- ing had my eyes closed, I had a feeling that the light had grown even stronger than before. There wasn’t a trace of shadow any- where, and every object, each curve or angle, seemed to score its outline on one’s eyes. The old people, Mother’s friends, were coming in. I counted ten in all, gliding almost soundlessly through the bleak white glare. None of the chairs creaked when they sat

140 The Stranger

down. Never in my life had I seen anyone so clearly as I saw these people; not a detail of their clothes or features escaped me. And yet I couldn’t hear them, and it was hard to believe they really existed.

Nearly all the women wore aprons, and the strings drawn tight round their waists made their big stomachs bulge still more. I’d never yet noticed what big paunches old women usually have. Most of the men, however, were as thin as rakes, and they all carried sticks. What struck me most about their faces was that one couldn’t see their eyes, only a dull glow in a sort of nest of wrinkles.

On sitting down, they looked at me, and wagged their heads awkwardly, their lips sucked in between their toothless gums. I couldn’t decide if they were greeting me and trying to say something, or if it was due to some infirmity of age. I inclined to think that they were greeting me, after their fashion, but it had a queer effect, seeing all those old fellows grouped round the keeper, solemnly eying me and dandling their heads from side to side. For a moment I had an absurd impression that they had come to sit in judgment on me.

A few minutes later one of the women started weeping. She was in the second row and I couldn’t see her face because of another woman in front. At regular intervals she emitted a little choking sob; one had a feeling she would never stop. The others didn’t seem to notice. They sat in silence, slumped in their chairs, staring at the coffin or at their walking sticks or any ob- ject just in front of them, and never took their eyes off it. And

คนนอก 141

คำ� ศพั ท์

PART I บทที่ 1 งานศพ Funeral ฟยเู นอะแรล็ เห็นอกเห็นใจ, Sympathy ซมิ พะธี สงสาร สงสยั , ข้องใจ Doubtful เดาทฺฟุล เฝา้ , ระวัง Vigil วจิ ิล นายจา้ ง Employer เอม็ พลอยเออะ เหน็ ได้ชัด Obviously ออบเวยี ซลิ เหตุการณ์, สภาพ Circumstance เซอคัมสแท็นซ ฺ ปฏิเสธ Refuse เรฟยซู โกรธ, ทำ� ใหร้ ำ� คาญ, รบกวน Annoy แอน็ นอย ประทบั ตรา, ปิดผนึก Seal ซีล ร้อนมาก, โกรธ Blazing เบลสซิง ไวท้ ุกข์ Mourning โมนิง แสง Glare แกล กลิน่ เหม็น Reek รีค กระแทก, แล่นเขย่า Jolt โจลท ฺ ง่วง Drowsy เดราสิ ผดู้ แู ล, พัศดี Warden วอเดนิ คุย Chat แช็ท ดอกกหุ ลาบ Rosette โระเสท รงั ดุม Buttonhole บทั เทนิ โฮล ขวยเขนิ , อาย Embarrass เอ็มแบแร็ซ

คนนอก 151

Consult ค็อนซัลท ฺ ดู, พิจารณา, ปรกึ ษา Means มีนส ฺ รายได,้ พาหนะ Blame เบลม โทษ, กล่าวโทษ Properly พรอเพอะลิ อยา่ งเหมาะสม Folk โฟค ประชาชน, ชาวบา้ น Companion คอ็ มแพนยนั เพ่อื น Wrench เรน็ ช ฺ คีม, ไข, บิด Journey เจอน ิ เดนิ ทาง, ระยะทาง Attention แอทเทน็ ชนั สนใจ, เอาใจใส่ Stair ซแท บันได Mortuary มอชิวเอริ เกยี่ วกบั การฝงั ศพ, ทฝี่ งั ศพ Nervous เนอวัซ ประสาท, กระวนกระวาย Parakeet แพระคที นกแกว้ เล็ก Shrill ชริล เสยี งแหลม Coffin คอฟฟนิ หีบศพ Rite ไรท ฺ พิธีในศาสนา Profess โพระเฟซ แสดงตวั Atheist เอธิอสิ ท ฺ ผู้ที่ไมเ่ ชอ่ื ว่ามีพระเจ้า Religion รีลิจนั ศาสนา Consist คอ็ นซซี ท ฺ ประกอบดว้ ย, เกดิ จาก Trestle เทรสเซิล ขาหยงั่ Stain ซเทน แต้มส,ี ยอ้ มสี, รอยดา่ ง Bier เบีย ทีต่ งั้ ศพ, รถบรรทกุ ศพ Smock ซม็อค เสอื้ กนั เปอ้ื นส�ำหรับเด็ก, เสอื้ เอยี๊ ม

152 The Stranger