Vanishing point คร สต น เอล ซ ม กคาร ท

ทฤษฎกี ารวาดเขยี น

1.ความหมายความสำคญั และประวัตขิ องการวาดเขียน

ความหมายของการวาดเขยี น การวาดเขียน คอื ผลงานสร้างสรรค์ของมนุษย์ โดยการวาดหรือเขยี นเครื่องมือลงบนพ้ืนระนาบ

รองรับด้วยวีธีการขดี เขยี น ปาด ระบาย ฯลฯ โดยใชส้ เี พยี งสเี ดียว แตอ่ าจทำให้เกดิ น้ำหนักต่าง ๆ เป็น 3 มิติ ได้ การวาดเขยี น คือ การเขียนรูปภาพตา่ ง ๆ คำวา่ "วาด" หมายถึง เขียนหรือลากเสน้ เป็นลวดลายหรอื รปู ภาพ การวาดเขยี น คือ วิธกี ารสร้างงานศลิ ปะวธิ ีหน่งึ ในจำนวนหลาย ๆ วธิ ี ผลงานของการวาดเขียนก็คือ ศลิ ปกรรมประเภทหนง่ึ ท่ีจดั อยใู่ นประเภททัศนศิลป์ ศลิ ปะ คอื การเลียนแบบธรรมชาติ การวาดเขียนกเ็ ป็น การเลียนแบบธรรมชาติเชน่ กัน ความสำคญั ของการวาดเขียน

1. เปน็ พืน้ ฐานเบ้ืองต้นท่ีสำคัญและสมั พันธก์ ับงานศลิ ปะทุกแขนง 2.เปน็ วิธีการหนึ่งทท่ี ำให้เกดิ ภาพเขยี นและเป็นวธิ ีที่สะดวกทำให้เกดิ คุณคา่ ในงานสรา้ งสรรคศ์ ิลปะ 3. เปน็ เคร่อื งมือในการถา่ ยทอดความคดิ ได้ให้มองเหน็ ได้ในการสรา้ งสรรค์สง่ิ ต่าง ๆ อยา่ งมี กระบวนการโดยเริ่มต้นจากความคดิ ในสมองของมนุษย์ซงึ่ ไมส่ ามารถมองเหน็ จงึ มีการเขียนตามความคิด นน้ั ออกมาใหเ้ ป็นรูปร่าง รูปทรงของสง่ิ ที่คิดขึ้น ต่อจากนัน้ จงึ ลงมือปฏบิ ัติตามรูปแบบทเ่ี ขียนไว้ 4. สามารถบันทึกความประทับใจได้อย่างฉับพลัน 5.เป็นผลงานทีเ่ กิดจากความคิดสร้างสรรค์ของผ้วู าด ดดยมุง่ หมายถา่ ยทอดอารมณ์ ความร้สู ึกและ ความคิดของตนไปยงั ผู้อืน่ วาดเสน้ เพอื่ อะไร

ประวติ แิ ละความเปน็ มาของการวาดเขียน Drawingเปน็ พื้นฐานในการสรา้ งสรรคง์ านทางศิลปะ คือ พูดงา่ ยๆกอ่ นลงสเี ราตอ้ งมีการวาดเขยี น

ก่อนน่นั เอง การวาดเขียนเปน็ การถา่ ยทอดความคดิ และจินตนาการของผูว้ าดได้เป็นอยา่ งดี เราจะเห็นวา่ มนษุ ยเ์ รานเ้ี ร่มิ มกี ารวาดเขียนมาตงั้ แต่สมัยก่อนประวตั ศิ าสตร์ ภาพวาดจะแสองใหเ้ ห็นส่ิงที่เขาคุน้ เคยใน ชีวติ ประจำวนั วฒั นธรรม และอารยธรรมในสมัยนั้นไดเ้ ป็นอยา่ งดี เทคนิคการวาอภาพในสมัยโบรานเรมิ่ จาก การ ขดู ขีดลงบนผนังแสดงใหเ้ ห็นถึงความคิดสร้างสรรคและความเชื่อในพิธีศักดิ์สิทธิต์ า่ งๆต่อมามนุษย์เริ่มมี ความก้าวหนา้ มากข้นึ รู้จักสรา้ งสัญลกั ษณ์และรูปทรงตา่ งๆมากขึ้น มีการประดิษฐ์เครื่องมืออปุ กรณ์ที่ใช้ในการ วาดภาพทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เน้นโครงสรา้ งและรายละเอยี ด ซ่งึ เปน็ จดุ หมายสำคัญของการวาดเขียนในปัจจุบัน

2.รปู แบบศลิ ปะและการจดั องคป์ ระกอบ

รปู แบบของงานทศั นศิลป์ แบ่งเปน็ 3 รปู แบบ

1.1 รปู แบบเหมอื นจรงิ (Realistic) หมายถึง การสร้างงานท่เี หมือนจรงิ ดงั ทป่ี รากฏอยใู่ นธรรมชาติ โดยยึดหลกั การสรา้ งสรรค์ และการนำเสนอ ดังท่ีตามองเหน็ เช่น การเขียนภาพคนเหมอื น ภาพสตั ว์ ภาพทวิ ทศั น์ ภาพหุ่นนง่ิ ใน งานจติ รกรรม การป้ัน การแกะสลัก และ การหลอ่ รูปบุคคลสำคัญที่ทำเป็นอนสุ าวรียใ์ นงานประตมิ ากรรม

1.2 รูปแบบแบบตัดทอน (Distortion) หมายถงึ การสร้างสรรค์งานศิลปะในลกั ษณะบดิ เบอื นไปจากของจริง โดยจะใหค้ วามสำคัญกับรูปแบบที่ เหมือนจรงิ น้อยลง แตใ่ หค้ วามสำคัญกับรูปแบบจากความคิดของศลิ ปนิ มากขึ้น

1.3 รูปแบบตามความรสู้ ึก (Abstraction) หมายถึง การสรา้ งสรรคง์ านศิลปะท่ไี ม่มีรปู แบบและเร่ืองราวเหมอื นจริง แต่มงุ่ แสดงอารมณ์ความรสู้ กึ ของ ศลิ ปนิ ทถ่ี า่ ยทอดลงในผลงาน การสร้างสรรคง์ านทัศนศิลป์รปู แบบตามความรู้สึก เปน็ การนำทัศนธาตมุ าใช้ใน การจดั องคป์ ระกอบศลิ ปแ์ ละกระตนุ้ ให้เกิดอารมณ์ความรสู้ ึก

หลกั การจดั องค์ประกอบทางทัศนศลิ ป์

หลกั การจัดองคป์ ระกอบทางทศั นศลิ ป์ (Composition) คือ การนำเอาทัศนะธาตุ ได้แก่ จดุ เส้น รปู ร่าง รูปทรง น้ำหนักอ่อนแก่ บริเวณว่าง สี และพื้นผวิ มาจดั ประกอบเข้าด้วยกนั จนเกิดความพอดี เหมาะสม ทำให้งานศลิ ปะชิ้นนั้นมคี ณุ ค่าอย่างสูงสุด ประกอบดว้ ยหลักเกณฑต์ ่อไปนี้

1.เอกภาพ (Unity) การรวมกลมุ่ ก้อน ไมแ่ ตกแยกกระจดั กระจายไปคนละทศิ ทางจนทำให้ขาดความ สมั พนั ธ์กนั ในทางทัศนศลิ ปเ์ อกภาพยงั เปน็ สว่ นทแ่ี สดงให้เห็นถึงเน้อื หาเรื่องราวทีต่ ้อง การแสดงอยา่ งชัดเจน ด้วย

2.ความสมดลุ (Balance) 2.1 ความสมดลุ ของสง่ิ ท่ีซ้ำหรือเหมือนกัน (Symmetrical) คอื เปน็ การนำเอาสว่ นประกอบที่

มีรปู ลักษณะเหมือนกัน มาจดั องคป์ ระกอบรวมเข้าดว้ ยกันให้ประสานกลมกลนื

2.2 ความสมดลุ ของสง่ิ ท่ีขัดแย้งหรอื ตา่ งกัน (Asymmetrical) เป็นการนำเอาส่วนประกอบทีม่ ี รูปลักษณะท่ีต่างกนั หรือขัดแยง้ กัน มาจัดองคป์ ระกอบเข้าด้วยกันใหป้ ระสานกลมกลนื กัน เกดิ การถว่ งน้ำหนัก ขององค์ประกอบส่วนต่าง

3.จดุ สนใจหรอื การเน้น (Emphasis) ส่วนที่สำคัญทส่ี ุดของภาพที่ตอ้ งการ แสดง ซง่ึ นำไปสูก่ ารบอก เล่าเนื้อหาของภาพทัง้ หมดหรือเป็นจดุ ท่ดี งึ ดูดความสนใจให้ มอง ในทางทัศนศิลป์จดุ สนใจควรมีเพียงจดุ เดยี ว ซ่ึงอาจเป็นสว่ นท่แี สดงความสำคัญหรอื มสี สี นั สดใสที่สดุ นอกจากน้นั ยังเน้นให้เกดิ จุดสนใจด้วยการสรา้ งความ แตกตา่ งขนึ้ ในภาพ จดุ สนใจไม่จำเปน็ จะต้องอยู่จดุ กงึ่ กลางเสมอไป อาจอยสู่ ว่ นใดส่วนหนึ่งของภาพก็ได้

4.ความกลมกลืน(Harmony) ความกลมกลืนมี 2 แบบ คอื 4.1 ความกลมกลืนแบบคล้อยตามกนั 4.2 ความกลมกลนื แบบขัดแยง้

5.จงั หวะ (Rhythm) ระยะในการจัดภาพหรือการวางของวัตถุ ซ้ำไปซ้ำมา อย่างสม่ำเสมอ เช่น ลาย ไทย การปูกระเบื้อง หรือการแปรอกั ษร เป็นต้น

3.วสั ดเุ บื้องตน้ ในการวาดเขียน

3.1. กระดานรองเขียน (DRAWING BOARD) 3.2. กระดาษ (PAPER)

3.3. ตัวหนีบกระดาษ (BUILDING CLIP) 3.4. มดี เหลาดินสอ (CUTTER)

3.5. ดินสอ (PENCILS) 3.6. ท่ีต่อดนิ สอ (PENCIL EXTENTION)

4. การวาดเขียนประเภทแหง่

แห้งบนเปียก หมายถงึ การระบายนำ้ ลงบนกระดาษนแล้ว แลว้ ใช้พกู่ ันจ่มุ นอ้ ย แลพระบายอย่าง รวดเรว็ ใช้มากใน การระบายสตี ้นไม้ หรือ เขาให้กลมกลืนกับทอ้ งฟา้

5. ส่อื การวาดเขียนประเภทเปียก

การระบายสแี บบเปียกบนเปียก หมายถึง การระบายนำ้ ลงบนกระดาษก่อนแลว้ จงึ ระบายสตี ามท่ี ต้องการลงไป การระบายแบบเปยี กบนเปียกน้ี จะช่วยให้ทา่ นระบายสตี ิดบนกระดาษทุกสว่ น เพราะ กระดาษ บางชนิดระบายสีติดยาก เนือ่ งจากมีความมั่นหรอื ความหยาบขรุขระ การระบายแบบเปยี กบน เปียก มี ประโยชนม์ ากเมื่อจะระบายทอ้ งฟ้า หรือผิววัตถุท่มี ีมนั เพราะจะให้ความรสู้ ึกกลมกลนื ของสี เด่นชัด เทคนคิ ของการระบายแบบเปยี กบนเปียกท่ีสําคัญ มี 2 ประเภท คือ

1. การไหลซมึ 2. การไหลย้อน

6. ความออ่ นแก่

น้ำหนกั ออ่ นแกข่ องแสงและเงา ที่ปรากฎบนวัตถุน้ันเป็นผลมาจาก แสงสวา่ ง ในธรรมชาติหรอื แสงสวา่ งทมี่ นษุ ย์ ประดิษฐข์ ึน้ เมื่อใดทีแ่ สง ตกกระทบวตั ถุจะเกิด เปน็ บริเวณ สวา่ งและบริเวณมดื โดยบริเวณสวา่ ง และบรเิ วณมืดจะค่อย ๆ กระจาย คา่ น้ำหนกั ความอ่อนแก่ได้อย่างกลมกลนื นำ้ หนัก เปน็ การตอบสนองทางการเห็นจากการเกิดของแสงสวา่ ง และเงามืด ท่ปี รากฎบนวัตถุ

ค่านำ้ หนัก คือ คา่ ความอ่อนแก่ของบรเิ วณทถ่ี ูกแสงสว่าง และบรเิ วณที่เป็นเงาของวตั ถหุ รอื ความออ่ น- ความเขม้ ของสีหน่ึง ๆ หรือหลายสี เชน่ สีแดง มคี วามเข้มกว่าสีชมพู หรอื สแี ดงอ่อนกว่าสีนำ้ เงนิ เปน็ ตน้

ค่าของแสงเงาทตี่ กกระทบพ้นื ผิวใด ๆ ก็จะเกดิ ค่าน้ำหนัก ความอ่อนแก่ ทำให้พืน้ ผวิ น้ัน มลี กั ษณะต่างกนั ออกไป เชน่ มีความเรยี บ แบน มีความกลมหรือความเปน็ เหลยี่ ม นูนออกมา เป็น 3 มิติ สรา้ งสี

สีทุกสี เมื่อถูกแสงเงาตกกระทบ กจ็ ะมคี ่าของสี และค่านำ้ หนัก ทีแ่ ตกต่างกัน สร้างความตดั กัน

เกดิ จากความสมั พันธร์ ะหวา่ งความมืด ความสว่าง ความอ่อน ความแก่ ท่อี ยูใ่ นตำแหน่ง ใกล้เคียงกัน คา่ น้ำหนักแสงเงา (Chiaroscuro)

เปน็ เทคนิคของการเขยี นภาพ ท่ีกำหนด ให้มแี สง ส่องมายังวัตถุในภาพ เกดิ เป็น ค่านำ้ หนัก ของแสงเงา เป็นท่ีนิยม ของศลิ ปินหลายคน เช่น Michelangelo,Titian เปน็ ต้น

7. การวาดภาพหุน้ นงิ่

การวาดภาพหุ่นนง่ิ น้นั นบั วา่ เปน็ จดุ เร่มิ ตน้ พ้ืนฐาน ของการเริ่มวาดภาพ Drawing อย่างจริงจัง เนื่องจากเป็น การเรมิ่ ฝึกขบวนการทง้ั หมดท่ีจะพัฒนาไปสูก่ ารวาดภาพ ประเภทอนื่ ผลงานการฝึกวาดเส้นชิ้นแรก ๆ ของชวี ติ นกั ศึกษาศิลปะแทนทกุ คนน้ันก็นา่ จะเปน็ ภาพหุ่น นง่ิ สามเหล่ียม สี่เหลย่ี ม วงกลม แทบทง้ั สิน้

หุ่นนิง่ แบ่งออกเปน็ 4 ประเภทคอื 1. หนุ่ นิ่งจากธรรมชาติ เช่น ดอกไม้ ผลไม้ ฯลฯ 2. หุ่นนง่ิ จากวัตถสุ ่งิ ของ เช่น ขวดแก้ว ไห ฯลฯ 3. หนุ่ นิ่งจากรูปทรงทางวัฒนธรรม เชน่ เครอ่ื งแตง่ กาย หวั โขน ฯลฯ 4. หนุ่ นง่ิ จากวตั ถุทางเทคโนโลยี เชน่ โลหะ เครือ่ งจักรฯลฯ ขนั้ ตอนการวาดเส้นภาพหนุ่ น่ิง 1. กำหนดพ้นื ทหี่ รือขอบเขตทั้งหมดของห่นุ ใหเ้ หมาะสมกับหนา้ กระดาษ 2. กำหนดตำแหน่งของวัตถุภายในโดยให้มวี ัตถุหลกั 1 ชนิ้ ไว้คอยกำหนดสดั สว่ นกับวัตถุช้ินอ่นื 3. รา่ งภาพครา่ วๆ 4. ดูตำแหนง่ สดั ส่วนใหถ้ กู ต้อง ปรบั ปรุงแกไ้ ขโดยเปรยี บเทยี บกับวตั ถุหลักวา่ ใหญไ่ ป เลก็ ไปหรอื ตำแหนง่ สูง ต่ำถูกต้องหรือไม่ 5. ใหน้ ้ำหนกั แสงเงาแบบรวมๆ ภาพห่นุ นิ่งนน้ั มีความสัมพันธเ์ กี่ยวขอ้ งกับเร่ืองของพ้ืนหลงั ฉะนั้นหากต้องการ ใหว้ ตั ถโุ ดยรวมเป็นนำ้ หนกั อ่อน พ้ืนหลงั กค็ วรจะเปน็ น้ำหนักเข้ม หรือหากวตั ถเุ ขม้ พนื้ หลงั กค็ วรจะอ่อน ทงั้ น้ี

กข็ ้นึ อยู่กับความเหมาะสมของเรอื่ งราวท่ีจะนำเสนอ ดูวา่ ลงน้ำหนักไปแล้วงานดูมีบรรยากาศหรือไม่ เพอื่ ให้ งานท่อี อกมามีอารมณค์ วามรู้สึก 6. ขัน้ ตอนต่อมา คือการเพ่ิมรายละเอียดของวัตถุ แสงเงา 7. ปรบั ปรงุ แกไ้ ขจนภาพเสร็จสมบรู ณ์

8.การวาดภาพทวิ ทศั น์

หลกั การเขียนภาพ PERSPECTIVE หลกั การพืน้ ฐานของภาพ PERSPECTIVE จะประกอบด้วย องคป์ ระกอบหลกั 2 ส่วนทส่ี ำคัญ ทีก่ ำหนดในการ ลากเส้น คือ 1).เสน้ ระดับสายตา หรือทเี่ รียกวา่ Horizon Line ใช้ตวั ยอ่ HL เปน็ เสน้ ระดับแนวนอน หรอื แนวระดับนำ้ จะ ข้ึน-ลง สงู -ตำ่ อยูใ่ นระดับสายตา ซึง่ จะเป็นเสน้ ท่สี ำคัญในการกำหนดของการมองวัตถุหรือ ส่ิงก่อสร้างทั้งหมด 2).จดุ รวมสายตาหรอื เรยี กว่า Vanishing point ใช้ตวั ย่อ VP จะเปน็ จุดรวมสายตาท่ีอยใู่ นเสน้ ระดับสายตา เป็นตำแหนง่ ทล่ี ากเส้นส่ิงของต่างๆไปรวมกันมีต้ังแต่1 จดุ ข้ึนไป แลว้ แตต่ ำแหน่งของวตั ถุทีจ่ ดั วาง หรอื ต้องการวาดใหม้ คี วามหลากหลายซับซ้อน PERSPECTIVE ทม่ี ีจุดรวมสายตา 1 จุด

PERSPECTIVE ที่มจี ุดรวมสายตา 2 จุด

PERSPECTIVE ท่ีมจี ดุ รวมสายตา 3 จุด อยใู่ น

PERSPECTIVE ท่ีมจี ดุ รวมสายตา 3 จดุ อย่ใู นลักษณะของการมองจากล่างขึน้ บน)

PERSPECTIVE ที่มีจดุ รวมสายตา 3 จดุ อยใู่ นลกั ษณะของการมองจากบนลงล่าง

9. การวาดภาพคนเหมอื น (Portrait)

การวาดภาพคนเหมอื นนัน้ คือการวาดตง้ั แต่บริเวณสว่ นศีรษะจนถงึ เอวเป็นการทผี่ ู้เรมิ่ ตน้ ควรฝึกวาด ใหเ้ กิดความชำนาญเพราะใบหนา้ เปน็ ส่วนทีม่ ีรายละเอยี ด คอ่ นข้างเยอะ เช่น ตา หู จมูก ปาก ดังนัน้ ผ้เู ริ่มตน้ ควรฝกึ ฝนใหเ้ ข้าใจการวาดภาพคนเหมอื นนนั้ แบ่งสัดสว่ น ออกเป็นทั้งหมด 3สว่ นครึ่ง ส่วนที่ 1 จากปลายคางถึงปลายจมกู สว่ นที่ 2 จากปลายจมูกถึงค้ิว สว่ นท่ี 3 จากคิ้วถงึ โคนผม สว่ นท่ี 4 1/2จากโคนผมจนถึงส่วนบนของศีรษะ การวาดภาพคนเหมอื นควรแบ่งสดั ส่วนให้ถกู ต้องชัดเจนเพราะสดั ส่วนบนใบหนา้ ของคนนนั้ หากเราเขยี นด้วย ความไม่เข้าใจถงึ จะวาดออกมาสวยแต่ สดั สว่ น ไมถ่ กู ต้องก็จะทำให้ภาพนัน้ ดูผดิ เพ้ียนไป ดงั นัน้ ตอ้ งคำนึงถึง เร่อื งสดั ส่วนเป็นสำคัญแต่ถ้าฝึกฝนจนชำนาญผู้วาดไมต่ ้องกำหนดสัดส่วนตามกฎเกณฑก์ ็ได้อาจจะกำหนด สดั สว่ นข้ึนมาเองโดยที่ไม่ต้องลากเส้นแบง่ สัดส่วนแต่ใชก้ ารกะหาระยะดว้ ยสายตาเอา ก็ขึ้นอย่กู บั การฝึกฝน และความชำนาญของแตล่ ะคน

10. การวาดทรวดทรงคน

11. การวาดภาพสัตว์

ขนั้ ตอนการวาดรูปสตั วน์ ่ารัก ๆ แบบง่าย ๆ

12. การวาดเส้นแสดงทรง

การวาดเสน้ แสดงทรง เป็นการวาดทผี่ ู้วาดใชต้ ามองที่เสน้ ขอบ ของวัตถุหรอื สง่ิ ทีจ่ ะวาดแล้วลากเสน้ แสดงทรงตามท่ีรูปร่างท่ีมองเห็นอยา่ งชา้ ๆ โดยไมย่ กปลายดินสอ จากกระดาษและไมม่ องกระดาษที่ก าลัง วาดเลย ตาของผู้วาดจะเคล่อื นไปตามเสน้ ขอบรอบนอก ของวตั ถอุ ย่างชา้ ๆ ขณะทมี่ ือกล็ ากเสน้ ไปตามที่ตา เหน็ อย่างช้าไปพร้อม ๆ กนั อาจละสายตามาดู กระดาษขณะทีจ่ ะเร่ิมวาดเสน้ ของส่วนท่อี ยภู่ ายในและเม่ือวาด เส้นต่อผูว้ าดจะไมม่ องที่กระดาษ ท่ีวาดอกี

13. การวาดเสน้ ท่าทาง

การวาดเส้นทา่ ทาง หมายถงึ การวาดเส้นทา่ ทาง การเคลื่อนไหว แสดงอารมณ์ แรงกระตุน้ ภายใน ใช้ เสน้ รวดเร็วหวดั ๆ อย่างฉบั พลัน (อารี สทุ ธิพนั ธ์ุ, 2528) การวาด เส้นทา่ ทางมหี ลายลกั ษณะ

วาดเสน้ (Drawing) เปน็ วธิ กี ารสรา้ งภาพโดยวิธีท่ีง่ายและรวดเร็ว เพือ่ สือ่ ความหมายทางการเหน็ ขั้นเร่มิ แรก ของมนุษย์ดว้ ย ปจั จัยข้นั พ้ืนฐาน คอื ร่องรอยต่าง ๆ และเคร่อื งมืองา่ ย ๆ ท่ีอยูใ่ กล้ตวั เชน่ ถา่ น เศษไม้ หรอื แมแ้ ตน่ ้วิ มือของตนเอง ซง่ึ มนุษยต์ ้องการแสดงออกในบางอย่างทเ่ี ป็นส่วนตนออกมาให้ปรากฏ ไม่ว่าจะเปน็ เรอ่ื งของความเชอ่ื ความนึกคิด อารมณ์ความร้สู ึก หรือแม้แต่ร่องรอยง่าย ๆ ทที่ ำข้ึนมาเอง

14. กลวิธีการวาดภาพ

วาดเสน้ เป็นพื้นฐานของงานทัศนศลิ ป์และออกแบบ เชน่ จิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพมิ พ์ สถาปตั ยกรรม ออกแบบตกแตง่ ศิลปะไทย ลายรดน้ำ เป็นตน้ ก่อนที่จะสรา้ งสรรค์งานศิลปะแขนงต่าง ๆ ดงั ท่ี ยกตัวอยา่ งมาข้างต้น จำเป็นจะต้องมีความชำนาญทางการวาดเส้นใหแ้ มน่ ยำเสยี ก่อน เม่ือมีความชำนาญ ทางการวาดเสน้ แลว้ กจ็ ะทำให้การทำงานศิลปะต่าง ๆ งา่ ยข้ึน

ส่งิ ที่ควรฝกึ ตนเองก่อนเรม่ิ ลงมือวาดรูป