Union solid sketchup น ว ม ลล เมตร

  • 1. โดยโปรแกรม Revit Architecture อ. ปิยะบุญ นิลแก้ว Autodesk Education Partnership Faculty of Architecture, Chiang Mai University, Chiang Mai 50200. Thailand. All Rights Reserved. Tel 66 53 942841 Fax 66 53 942838
  • 2. การจัดทาคูมือการใช้งานโปรแกรม Revit Architecture เป็นการทางานภายใต้ระบบการทางานแบบใหม่ ซึ่ง ่ ณ ปัจจุบันกาลังเป็นที่รู้จกและใช้งานกันอย่างกว้างขวางในหน่วยงานต่างๆ รวมถึงบริษัทอีกหลายแห่งทั่วโลก อัน ั เนื่องมาจากระบบการออกแบบทีเ่ รียกว่างาน BIM (Building Information Modeling) เป็นการทางานบนระบบข้อมูล อาคารตั้งแต่เริ่มแรกทาให้ผู้ออกแบบสามารถควบคุมตัวแปร และ ปัจจัยต่างๆทีจะเกิดขึ้นกับอาคารได้ ทาให้อาคาร ่ อาคารที่ออกแบบมีความผิดพลาดและใช้ระยะเวลาในการดาเนินงานขั้นการออกแบบและเอกสาร ที่น้อยลง ในฐานะของวิทยากรหวังว่าคู่มือเล่มนี้เมื่อผู้เข้าอบรมนากลับไปใช้ทบทวนจะสามารถใช้งานควบคู่ ไปกับการ ทางานจริงๆได้ไม่มากก็น้อยและจักมีการปรับปรุงให้คู่มือเล่มนี้มลาดับการทาความเข้าใจที่งายขึนและละเอียดมาก ี ่ ้ ยิ่งขึ้น อ. ปิยะบุญ นิลแก้ว อาจารย์ประจาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ AutoDesk AutoCAD Certified Instructor สถานที่ติดต่อ: คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เบอร์มือถือ : 081-9393528
  • 3. 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทางานกับโปรแกรม Autodesk Revit Architecture บทที่ 2 7 การออกแบบสถาปัตยกรรมโดยใช้ Mass เข้ามาช่วยในการจัดการข้อมูลอาคาร การนาโมเดลที่ออกแบบจากโปรแกรมอื่นมาเข้าสู่ระบบ BIM ในโปรแกรม Revit บทที่ 3 40 การออกแบบอาคารและทาแบบอาคารตามขั้นตอนกระบวนวิธงานก่อสร้าง ี วางผัง ตีกริด ฐานราก โครงสร้างรับอาคาร เสาและคาน แนวกระดูกรับแรง บทที่ 4 55 พื้น ส่วนรองรับพื้นที่ใช้งานของอาคาร บันได และ ทางลาด เส้นทางสัญจรของอาคาร บทที่ 5 69 หลังคา ส่วนปกป้องแสงแดดและฝน บทที่ 6 77 กาแพงหรือผนัง ผิวและส่วนแบ่งพื้นที่ของอาคาร, ประตูและหน้าต่าง ลมหายใจของอาคาร บทที่ 7 91 ฝ้าเพดาน ปกป้องโครงสร้างของอาคาร, ราวจับกันตกความปลอดภัยของอาคาร บทที่ 8 101 การจัดทาบทวิเคราะห์ทางสถาปัตยกรรมและงานประมาณราคา บทที่ 9 114 การจัดการเอกสารเพื่อการนาเสนอแบบทางสถาปัตยกรรม
  • 4. 01 Autodesk Revit Architecture Workbook Manual ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทางานกับโปรแกรม Autodesk Revit Architecture CAD Development Unit, Faculty of Architecture, Chiang Mai University
  • 5. Workbook Manual ความรู้ เบืองต้ นเกี่ยวกับการทางานกับโปรแกรม Autodesk Revit Architecture ้ 4 5 2 1 3 6 7 อินเตอเฟส การทางานกับโปรแกรม Revitจะมีลักษณะการทางานเป็นแบบเปิดหน้าเอกสารทีละแผ่นเพื่อให้สะดวกต่อการ เลือกทางาน โดยมีองค์ประกอบของ อินเตอเฟส ดังนี้ 1 Drawing Area :ส่วนของพื้นที่การทางานและแสดงผลงานออกแบบ 2 Project Browser :ส่วนที่ในการเลือกหน้ากระดาษหรือมุมมองทีต้องการเปิดเพื่อทางาน ่ 3 Object Family :ส่วนที่ในการเลือกวัตถุหรือสิ่งที่ต้องการจะออกแบบหรือเขียนแบบโดยในโปรแกรม Revitจะ กาหนดหมวดหมู่ของวัตถุต่างๆในรูปแบบของ Family แบ่งตามประเภทของวัสดุทางสถาปัตยกรรมอย่างชัดเจน 4 Option Bar :ส่วนที่ในการเลือกวัสดุ ปรับต่างขนาด หรือคุณสมบัติต่างๆของวัตถุใน Family ที่เลือกมางาน 5 Menu Bar :ส่วนที่ในการเลือกคาสั่งต่างๆ การปรับแต่ง การจัดการ ทุกสิ่งทุกอย่างเกี่ยวกับโปรแกรม ถ้าหาอะไร ไม่เจอสามารถมาหาที่นี่ได้ 6 Display Option :ส่วนที่สามารถเลือกคุณสมบัติตางๆของการแสดงผล กาหนดการเปิด-ปิดการมองเห็นวัตถุ ่ ต่างๆ หรือกาหนด สเกลของชิ้นงานได้ 7 Help Bar :ส่วนที่ช่วยเหลือในการแนะนากระบวนการหรือ การทางานของคาสังต่างๆ ่ 2
  • 6. Workbook Manual การตังค่ าหน่ วยและความละเอียดในการทางาน เป็ นสิ่งที่ต้องทาและตรวจสอบทุกครังก่ อนเริ่มงาน ไม่เช่นนั้นจะ ้ ้ เกิดความผิดพลาดกับชิ้นงานออกแบบได้ง่าย ให้ไปที่ Setting ที่ Menu Bar เลือก Project Unit Left click คลิก ตั้งค่าหน่วย ความละเอียด ตั้งค่าหน่วย และความละเอียดของการแสดงผล ตั้งค่าเช่นกัน ตั้งค่าให้เหมาะสมกับหน่วยอื่นๆด้วย 3
  • 7. Workbook Manual การกาหนดค่าพื้นฐานที่สาคัญอีกประการหนึ่งในการทางานคือการตั้งการ save ชิ้นงานและการกาหนดการโหลดรูปแบบ ของวัตถุสาหรับชิ้นงานนั้น สาหรับการตังค่าในการจัดการโปรเจคในการทางาน ไปที่ Setting > Options… ้ General Tab จะใช้สาหรับการตั้งเวลาในการ บันทึกงาน Graphic Tab จะเป็นการกาหนดค่าของการแสดงผลโดยใช้งานอุปกรณ์ของเครื่องคอมพิวเตอร์ File Locations จะเป็นส่วนที่กาหนดตาแน่งการโหลดของข้อมูลประเภทวัตถุสาเร็จรูป Library และ อื่นๆ 4
  • 8. Workbook Manual Rendering Tab จะเป็นส่วนทีกาหนดค่าการนาเสนองานแบบ Visualization ่ การเริ่มโปรเจคใหม่ ทุกครังสามารถกาหนดและเลือกชุดของหน่ วยการทางานได้ จากรูปแบบมาตรฐานที่มมาให้ ้ ี ไม่เช่นนั้นหน่งวยที่ได้อาจจะมีการคลาดเคลื่อนไปได้ เริ่มต้นโปรเจคใหม่ ที่ Menu Bar เลือก File> New> Project…. เลือก File ที่เป็น ต้นแบบได้ เลือกการสร้างโปรเจคใหม่ 5
  • 9. Workbook Manual การเปิดชุดของเครื่องมือทีใช้ออกแบบเป็นส่วนสาคัญที่ทาให้การออกแบบต่างๆสามารถทาได้โดยง่าย และมีความสะดวก ่ โดยชุดของเครื่องมือได้แยกประเภทตามการงานของการออกแบบอยู่แล้ว Right click การเปิดชุดเครื่องมือต่างๆทาได้โดยการ คลิกขวาบนชื่อของแถบชุดเครื่องมืออื่นๆ แถบเครื่องมือที่สาคัญเป็นเบื้องต้นอีกอย่างคือเครื่องมือที่ใช้ควบคุมการ กาหนดหน้าจอการทางาน 1 2 3 4 5 1ควบคุมการหมุนมุมมองของการแสดงผล (สามารถใช้ เมาส์ปุ่มกลาง + ปุ่ม Shift ค้าง) 2ควบคุมการ ซูมภาพ และการเลือนภาพการแสดงผล (เลื่อนเมาส์ปุ่มกลาง เป็นการซูม, กดเมาส์กลางค้าง เป็นการเลื่อน) ่ 3ควบคุมการแสดงผลความหนาของเส้นที่แสดง 4ความคุมการเปิด-ปิด การแสดงก้อน Mass 5 ควบคุมการแสดงผลภาพเป็นแบบสามมิติ 1 2 แถบเครื่องมือส่วนสุดท้ายทีใช้ควบคุมแสดงผลของชิ้นงาน ่ 3 4 5 1กาหนดสเกลที่แสดงผลในหน้าจอการทางานและการทาเอกสาร 2กาหนดคุณภาพของการแสดงรายละเอียดของชิ้นงาน 3กาหนดรูปแบบการแสดงผลเชิงสามมิติ 4กาหนดวัตถุที่เลือกให้ซ่อนการแสดงผล 5กาหนดให้มีการแสดงผลวัตถุทซ่อนไว้ออกมา ี่ 6
  • 10. 02 Autodesk Revit Architecture Workbook Manual การออกแบบสถาปัตยกรรมโดยใช้ Mass เข้ามาช่วยในการจัดการข้อมูลอาคาร การนาโมเดลที่ออกแบบจากโปรแกรมอื่น มาเข้าสู่ระบบ BIM ในโปรแกรม Revit CAD Development Unit, Faculty of Architecture, Chiang Mai University
  • 11. Workbook Manual การออกแบบสถาปั ตยกรรมโดยใช้ Mass เข้ ามาช่ วยในการจัดการข้ อมูลอาคาร 1.เริ่มต้นด้วยการเปิดชุดเครื่องมือ Mass กาหนดการแสดงชุดเครืองมือ Mass โดยการ คลิกขวาทีชื่อแถบเครื่องมืออื่นๆ ่ ่ แล้วเลือกเปิด จะได้ชุดเครื่องมือ Massing จากนั้นสร้างก้อน มวล วัตถุ โดยคลิกไปที่ Create Mass ตั้งชื่อให้กับก้อนมวลวัตถุดงกล่าว ั 2. ชุดเครื่องมือจะเปลี่ยนสู่โหมดการสร้างก้อนมวลวัตถุ เลือกไปที่ และเลือก Solid Extrusion (จะเป็นการกาหนดให้สร้างก้อนมวลวัตถุจากการดึงขึ้นมาจากแผ่นระนาบที่วาดลง ไป ) ชุดเครื่องมือจะเปลี่ยนสู่โหมด Sketch ซึ่งใช้สาหรับการวาดเส้นเพื่อเป็นหน้าตัดพื้นผิวของระนาบที่จะดึงขึ้นมาเป็น 8
  • 12. Workbook Manual ก้อนวัตถุนั้นเอง เลือกไปที่ Lines เพื่อเขียนเส้นขอบเขต ซึ่งเมาส์จะเปลี่ยนเป็นลักษณะของดินสอดัง รูป ซึ่งมีความหมายให้เขียนเส้นลงบนพื้นที่ทางานเช่นเดียวกับการลากเส้นดินสอโดยทัวไป ่ 3. คลิกซ้ายวางจุดเริมต้นแล้วขยับเมาส์ไปทางขวาแนวตรง จะเห็นระยะขึ้นมาให้พิมพ์บอกความยาวไปที่ 20 ซึงจะ ่ ่ หมายถึง 20เมตร แล้วกด Enter จากนั้นให้ลากเมาส์ลงมาแนวดิงเป็น ่ ระยะ 15 เมตรหรือพิมพ์ 15แล้วกด Enter แล้วลากเส้นกรอบ สี่เหลี่ยมต่อเนื่องจนครบปิดกรอบ จากนั้นจะทาการกาหนดความสูงของก้อนมวลวัตถุที่จะถูกดึงขึนมาได้ 2 วิธคือ ใส่ เลข ้ ี 16 ที่ช่อง Depth แถบเครื่องมือด้านบนดังแสดง หรือเลือกไปที่ 9
  • 13. Workbook Manual แถบเครื่องมือ แล้วกาหนดระยะห่างของ Extrusion Start = 0.00 Extrusion End = 16.00 ดัง แสดง แล้วกด OK จากนั้นจึงกด Finish Sketch เป็นการจบการเขียนเส้นฐานก้อนมวลวัตถุนั้น 4. เมื่อกาหนดเสร็จสิ้นให้ทดลองดูมุมมองสามมิติโดยไปกดที่เครืองมือ 3D View ด้านบนของแถบเครื่องมือ ่ จะ ทาให้เกิดมุมมองสามมิติขึ้นมาเป็นเหมือนหน้ากระดาษอีกแผ่นสามารถเรียกเปิดสลับการทางานได้ตลอด จากนั้น คลิกไปที่ก้อนมวลวัตถุดงกล่าวแล้ว ั กดปุ่ม Edit ที่แถบเครื่องมือด้านบน เพื่อแก้ไขก้อนวัตถุที่สร้างขึ้นมาแล้ว กลับไปที่มุมมองจากด้านบนอีกครั้ง 10
  • 14. Workbook Manual กดปุ่ม Edit ที่ด้านบนอีกครังเพื่อเปลี่ยนเข้าสู่กระบวนการในโหมด Sketch เพื่อจัดการเส้นทีวาดขึ้นตอนแรก ้ ่ ปรับรูปร่างของเส้นสี่เหลี่ยมให้เป็นคางหมู โดยการคลิกที่ เส้นแล้วดึงทีจุดปลายเส้น ่ อาจจะใช้คาสั่งช่วยในการ ตัดเส้นที่เกินมา โดยใช้คาสัง Trim ่ เลือกเส้นที่ยงอยู่ทั้งสอง ั 11
  • 15. Workbook Manual ด้านดังแสดง จะ ได้รูสี่เหลี่ยมคางหมู แล้วกดปุ่ม Finish Sketch จะได้ก้อนมวลวัตถุรูปที่เหลี่ยมคางหมูสูง 16 เมตรดังกล่าว 5. จากนั้นจะทาการเจาะก้อนมวลวัตถุที่สร้างขึ้นให้มีลักษณะเป็นช่องสี่เหลี่ยม 2 ช่องโดยหลักการในการ เจาะของโปรแกรม Revit นั้นคือการสร้างก้อนวัตถุในสภาพที่เป็นก้อนอากาศขึ้นมาแทนที่ก้อนมวลวัตถุทึบ ตันนั้นเอง โดยเลือกสร้างก้อนมวลอากาศที่ Void Form >Void Extrusion (วิธีการในการสร้างเหมือนกับก้อนมวลวัตถุ ปกติ ดังเช่นที่ทามาแล้ว) โดยเขียนกรอบ เป็นสีเหลี่ยม 2 รูปดังแสดงกาหนดขนาดโดยประมาณ ่ 12
  • 16. Workbook Manual แล้วเลือกไปที่ กาหนดระยะความแตกต่างของการดึง 4 เมตร ดังรูป แล้วกด ok แล้วกด ลองดูวัตถุที่ได้ดังรูป 6. จากนั้นให้สร้างก้อนมวลวัตถุอีกก้อนโดยให้วางไว้เป็นส่วนที่ยื่นมาของก้อนใหญ่ กดสร้างก้อนมวลวัตถุ แบบเดิมโดยไปที่ แล้วเลือก Solid Extrusion กาหนดฐานของก้อนวัตถุโดยประมาณดังรูป 13
  • 17. Workbook Manual แล้วเลือกที่ ตั้งค่าความสูงของก้อนมวลวัตถุที่ต้องการ 4 เมตร ดังแสดง แล้ว กด จะ ได้ก้อนวัตถุซ้อนกัน ทาการรวมก้อนวัตถุที่สร้างเป็น ชิ้นเดียวกันโดยเลือกไปที่ Union ที่แถบเครื่องมือด้านบน และเลือกไปที่ก้อนวัตถุชิ้นเล็กและชิ้นใหญ่ 14
  • 18. Workbook Manual ตามลาดับ จะพบว่าวัตถุถูกรวมเข้าด้วยกัน แล้วกดที่ 7. เลือกการแสดงมุมมองไปที่หน้ากระดาษ Site แล้วเลือกเครื่องมือ Modify กดเลือกไปที่การสร้าง Reference Plan ( การสร้าง Reference Plan หรือ ระนาบอ้างอิงจะเป็นการสร้างกระดานทีใช้สร้างวัตถุสมมุติ เพื่อที่จะสามารถเขียนเส้นลงบนระนาบแกนอื่นได้ ่ นอกจากระนาบแนวนอน ) จากนั้นให้เขียนเส้นที่ตัดผ่านกลางก้อนวัตถุอาคารดังรูป 15
  • 19. Workbook Manual เสร็จแล้วกดเลือก Modify อีกครังหนึ่ง ้ คลิกเลือกไปที่ เส้นระนาบอ้างอิงที่เขียนขึ้นแล้วคลิกเลือกไปที่ Element Properties แถบ เครื่องมือด้านบน หรือคลิกขวาทีเ่ ส้นระนาบอ้างอิงแล้วเลือก Element Properties แล้วเปลี่ยนชื่อระนาบนั้นเป็น Dome Plan ดังภาพ จากนั้นคลิกไปที่ Modify 16
  • 20. Workbook Manual เลือกคลิกที่วตถุแล้วกดปุม Edit ั ่ เลือกมุมมองไปที่ East แล้วเลือกการทางานของระนาบใหม่โดยคลิกไปที่ Work Plan ดังรูป จากนั้นเลือกชื่อระนาบที่ต้องการทางาน ในที่นี้จะทางานบนระราบ Dome plan แล้วกดให้ระนาบการทางานแสดงออกมา โดยกดที่ ไอคอนดังกล่าว จะได้ดังภาพ 17
  • 21. Workbook Manual 8. กดเลือกสร้างวัตถุ Solid Form > Solid Revolve ( เพื่อจะสร้างวัตถุโดยการ หมุนเส้นโครงวัตถุตามแนวแกน ) จากนั้นคลิกใช้เครื่องมือเขียนเส้นสร้างเส้นโค้งอยู่บริเวณด้านบนส่วนก้อนอาคารที่มีการ ยื่นออกมา ดังภาพ สร้างให้มี ลักษณะเป็นดังภาพ แล้วจบเส้นโครงเป็นกรอบ จากนั้นเลือกไปที่ Axis (เพื่อที่จะใช้กาหนดแนวแกนในการหมุนเส้นโครงที่เขียนขึ้น) 18
  • 22. Workbook Manual ลากเส้นแนวแกนที่ต้องการต่อเนืองจากเส้นโครงกรอบวัตถุดงแสดง ่ ั แล้วกด จะได้โดม โค้งอยู่ดานบนก้อนวัตถุอาคารที่ยื่นออกมาดังกล่าว ้ ปรับ มุมมองเป็นแบบสามมิติ แล้วเลือกโดม 19
  • 23. Workbook Manual กดคาสั่ง Union เพื่อรวมโดมกับก้อนวัตถุอาคารเดิม เข้าด้วยกัน 9. เลือกมุมมองไปที่ Site เพื่อกาหนดระนาบอ้างอิงใหม่ เลือกไปที่ สร้างระนาบอ้างอิงใหม่ประกบสองด้านอาคาร หัว-ท้าย โดยตั้งชือระนาบที่หัวเป็น Start Roof Plan ่ และตั้งชื่อระนาบที่ท้ายอาคารเป็น End Roof Plan 20
  • 24. Workbook Manual 10. จากนั้นกาหนดสร้างก้อนมวลวัตถุใหม่เป็นหลังคาอาคาร เลือกไปที่ Solid Form> Solid Blend (เป็นการสร้างก้อนวัตถุโดยที่สามารถกาหนดหน้าตัดหัว-ท้ายให้ไม่เหมือนกันได้) จากนั้นเลือกมุมมองไปที่ East กดเลือกระนาบการทางานที่ Set Work Plane… แล้วเลือกระนาบการทางานที่ Start Roof Plan 21
  • 25. Workbook Manual 11. จากนั้นเขียนเส้นหน้าตัดด้าน หัวที่ติดอยูด้านบนก้อนวัตถุอาคาร ดังแสดง ่ พอเขียนเสร็จแล้ว กดที่ เพื่อไปเขียนหน้าตัดส่วนท้าย แล้วเลือกระนาบการทางานใหม่ไห้คลิกที่ Plane เลือกระนาบการทางานเป็น End Roof Plan เสร็จแล้วปรับมุมมองเป็นด้าน West แล้วเขียนรูปหน้าตัดส่วนท้ายดังแสดง แล้วกด จากนั้นเลื่อนระยะของ Depth ให้เป็น 0.000 เพื่อให้การยืดของก้อนวัตถุมาชนกับระนาบทัง หัว - ้ ท้าย 22
  • 26. Workbook Manual จะได้ดังภาพ จากนั้นใช้คาสั่ง union รวมวัตถุ ก้อนหลังคาเข้ากับวัตถุก้อนอาคาร เสร็จแล้วกด Finish Mass 23
  • 27. Workbook Manual จะได้ก้อนวัตถุดงภาพ พร้อมที่จะแยกชั้นอาคารและกาหนดพื้น ผนัง หลังคา ต่อไป ั 12. กาหนดมุมมองไปที่ดาน South ้ จะเห็นว่ามีการแบ่งชั้นไว้ที่ 2 ชั้นแล้วให้ทาการกาหนด จานวนชั้นเพิมตามที่ต้องการ ่ โดยการเลือกไปที่ 24
  • 28. Workbook Manual Level เพื่อกาหนดจานวนชั้นตามที่ต้องการ นาเมาส์ไปคลิกเขียนเส้นระดับชั้นโดยดูระยะห่าง ของชั้นจากค่าระยะที่เกิดขึ้น แยกจานวนชั้นอาคารไปเรื่อยๆจนครบ 25
  • 29. Workbook Manual จะได้ดังรูปที่แสดง แล้วคลิกที่ Modify เลือกก้อนวัตถุอาคารที่สร้างขึ้น กดเคื่องมือช่วยใน การแยกชั้นอาคารคือ Floor Area Face ที่อยู่แถบเครื่องมือด้านบน แล้วเลือกชั้นตามเส้นระดับที่ต้องการให้มีพื้นอาคารเกิดขึ้น อาจจะเลือกทั้ง 5ชั้นก็ได้ พบว่าจะมีการตัดสร้างพื้นสมมุติ 26
  • 30. Workbook Manual ในก้อนวัตถอาคารขึ้นมา จากนั้นเลือกไปที่ Floor by Face แล้วคลิกเลือกไปที่พื้นอาคารแต่ละชั้นจนครบ จากนั้นกดเครื่องมือ สร้างพื้นจริง Create Floor 27
  • 31. Workbook Manual จะได้พื้นอาคารจริงแยกออกมาเป็นชั้นๆ ดังแสดง ทดลองกดปุ่มซ่อนก้อนวัตถุ เพื่อซ่อนก้อนวัตถุที่สร้างขึ้น จะเหลือเพียงพื้นจริงในระบบอาคาร แล้วกดปุ่มการซ่อนก้อนวัตถุอีกครั้งจะเปิดขึ้นมา 28
  • 32. Workbook Manual 13. ทาการสร้างผนังอาคาร โดยไปยังคาสัง Wall by Face ่ แล้วเลือกรูปแบบของผนังที่ต้องการ ในส่วนของ Option Bar ด้านบน แล้วคลิกไปที่ผิวก้อน วัตถุอาคารที่ต้องการจะใส่ผนังลงไป จะได้ผนังปิดล้อมอาคารทุก ด้านจนหมด 29
  • 33. Workbook Manual 14. ใส่หลังคาให้กับอาคาร โดยเลือกไปที่ Roof by Face แล้วคลิกไปยังพื้นผิวก้อนวัตถุที่เป็น ส่วนของหลังคาแนวระนาบ แล้วกดเลือกไปที่ Create Roof จะเกิดหลังคาแนบราบขึ้นมา สาหรับหลังคาทีเ่ ป็นทรงโค้ง จาเป็นที่จะต้องใช้ วิธีการพิเศษกว่าเข้ามา สาหรับ หลังคาทรงโค้งนั้น จะใช้ระบบของ Curtain System เข้ามาช่วยเนืองจากเป็นการวางแบบระบบ กรอบ-เฟรม ให้เลือกไปที่ ่ Curtain System by Face แล้วคลิกเลือกไปที่ หลังคาโค้งของก้อนวัตถุอาคาร 30
  • 34. Workbook Manual แล้วกดคาสั่ง Create System จะพบการวางเฟรมกระจกโค้งยอดอาคาร แต่จะพบว่ามีความหยาบของเฟรมกระจกมาก ให้ทาการปรับความละเอียดโดยเลือกไปที่หังคากระจกโค้งที่สร้างขึ้นแล้วกดคาสั่ง Element Properties แล้วเลือกไปที่ Edit / New… แล้วเลือกไปที่ Duplicate… จากนั้นตั้งชื่อระบบของเฟรมที่จะใช้ขึ้นมาใหม่ โดยมากจะ ตั้งเป็นขนาดของระบบเฟรมนั้น เช่นในที่นี้ต้องการให้เฟรมเล็กลงจากเดิมจะได้ละเอียดขึ้นก็ตงชื่อใหม่ เป็น 1000 x 1500 ั้ 31
  • 35. Workbook Manual mm เพื่อที่จะสร้างเฟรมขนาด 1000 มิลิเมตร x 1500 มิลลิเมตร ให้เปลี่ยนขนาดดังกล่าว แล้วกด OK จนออกมาหน้าจอทางานแล้วกด เลือกเครื่องมือ Modify เลือกให้โดนหลังคาทังหมด แล้วกดเปลี่ยนชนิดของหลังคาที่ ้ Option Bar เลือกเป็นหลังคาขนาดที่พึ่งจัดทาขึ้นมา จะได้ดังแสดง 32
  • 36. Workbook Manual แล้วจัดการ กับโดมครึ่งวงกลมด้วยวิธีเดียวกันกับข้างต้น พอเสร็จแล้วให้เลือกปิดการแสดงก้อนวัตถุอาคารออกไป จะได้อาคารทีครบถ้วนดังที่เห็น ่ 33
  • 37. Workbook Manual การนาโมเดลที่ออกแบบจากโปรแกรมอื่นมาเข้ าสู่ระบบ BIM ในโปรแกรม Revit สาหรับโปรแกรม Revit สามารถที่จะนาโมเดลที่สร้างขึ้นจากโปรแกรมสามมิติอื่นๆมาใช้งานได้คล้ายกับการสร้างเองใน โปรแกรม แต่อาจจะต้องทาให้โมเดลนั้นมีลักษณะที่เป็น Low Plan เสียก่อนโดยการนาโมเดลเข้าไป เซฟเป็นไฟล์ของ Sketch Up หากไม่แน่ใจว่าเวอร์ชั่นทีใช้ของโปรแกรมรองรับ ่ กันหรือไม่ให้เซฟเป็นเวอร์ชั่นทีเ่ ก่ากว่าดู สาหรับในโปรแกรม Revit ให้ทาการ สร้างโปรเจคขึ้นมาใหม่ 34
  • 38. Workbook Manual โดยใช้เทมเพลตที่มีอยูแล้ว ่ และทาการตั้งค่าหน่วยการทางานให้สัมพันธืกับที่จะใช้งานจริง ไปที่ Setting > Project Units…หรือ กดพิมพ์ UN แล้วปรับค่าหน่วยให้เป็น meter (เมตร) จากนั้นกาหนดการนาเข้าโมเดลจากภายนอกเข้ามา โดยใช้คาสั่ง ในส่วนของเครื่องมือ Massing เรียกคาสั่ง Create Mass แล้วตั้งชือ ก้อนวัตถุที่จะนาเข้า ่ 35
  • 39. Workbook Manual มา ในที่นใช้ชื่อว่า “building 1” ี้ เลือกนาเข้าโมเดลโดยการใช้คาสั่ง File>Import/Link>CAD Formats แล้วเลือกชนิดของไฟล์เป็น SketchUp Files แล้วเลือกชื่อไฟล์ที่เก็บงานไว้ 36
  • 40. Workbook Manual เมื่อนาเข้ามาแล้วจะมีโมเดลกิดขึน ้ เสร็จแล้วกด จากนั้นเปลี่ยนมุมมองกระดาษไปที่ South และใช้เครื่องมือ เพื่อแบ่งจานวนชั้นของอาคารตามที่ต้องการ จากนั้นใช้คาสั่ง Floor Area 37
  • 41. Workbook Manual Faces ในการแบ่งพื้นชั้นอาคารตามทีกาหนดเส้นแนวระดับไว้ ่ แล้วใช้คาสั่ง Floor by Face เพื่อคลิกที่พื้นที่ต้องการกาหนดวัสดุและลักษณะจนครบทุกชั้น แล้วเลือกไปยังคาสั่ง Create Floors เป็นการสร้างพื้นขึ้นมา 38
  • 42. Workbook Manual แล้วใช้คาสั่ง สร้างผนังขึ้นมาโดยเลือกไปที่ Curtain System เลือกไปที่พื้นผิวผนังของก้อนวัตถุ จัดทา การสร้างระบบ Create System จะได้ผนังกระจกเฟรม แล้วทาการปิดก้อนวัตถุที่นาเข้ามา จะได้อาคาร ดังกล่าว 39
  • 43. 03 Autodesk Revit Architecture Workbook Manual การออกแบบอาคารและทาแบบอาคารตามขันตอนกระบวนวิธีงานก่ อสร้ าง ้ ( วางผัง ตีกริด ฐานราก, โครงสร้ างรับอาคาร, เสาและคาน แนวกระดูกรับแรง ) CAD Development Unit, Faculty of Architecture, Chiang Mai University
  • 44. Workbook Manual การออกแบบอาคารและทาแบบอาคารตามขันตอนกระบวนวิธีงานก่ อสร้ าง ้ เริ่มต้นโปรเจคใหม่ดวยการไปที่ File > ้ New > Project… แล้วเลือกรูปแบบจาก Template ปกติเป็นแบบ Metric ตั้งค่าหน่วยเป็น Meter และกาหนด ความละเอียดเป็นทศนิยม 2 ตาแหน่ง การทางานจะใช้งานในส่วน basic ในการสร้างงานทั่วไป Modeling ในส่วนการขึ้นโมเดล และ structure ในการจัดการโครงสร้าง 41
  • 45. Workbook Manual Step 1 วางผัง ตีกริด ใช้คาสั่งการเขียนเส้นกริด เลือก คาสั่งกริดในหมวด Basic ในแถบ Object Family เริ่มจากการวางเส้นกริด ลงบน พื้นที่ทางาน ลากเส้นกริดตามภาพ ซึ่งกริดแต่ละเส้นมีระยะห่างกัน 6 เมตร ไปจนครบห้าเส้น ชี้เม้าลากลงมา จะสามารถ กาหนดระยะห่างของกริดได้ 42
  • 46. Workbook Manual ใส่ dimension ของเส้นกริด เพื่อให้สะดวก ในการทางาน โดยใช้เครื่องมือ dimension แล้วคลิ๊กที่เส้นที่ต้องการ ใส่ระยะ กาหนดใส่ ระยะจนครบ กาหนดระยะห่างระหว่างกริด โดยคลิ๊กที่ เส้นกริดที่ต้องการเปลี่ยนระยะ แล้วคลิ๊กที่ ตัวเลขบนเส้น dimension ใส่ตัวเลขตาม ระยะที่ต้องการ กริด 5กับ4 ห่าง 3 เมตร กริด1 กับ 2 ห่าง 4 เมตร 43
  • 47. Workbook Manual จากนั้นสร้างเส้นกริด ในแนวตังเปลี่ยนชื่อโดยใช้อักษรภาษาอังกฤษระยะห่างกัน 6 เมตร ้ สร้างเส้นกริดแนวตัง โดยกาหนด เส้น ้ แรกให้เป็นอักษร A แล้วกริดถัดไปจะ รันอักษรโดยอัตโนมัติ สร้างกริดแนวตัง 5 เส้น A-E ้ โดยแต่ละเส้นห่างกัน 6 เมตร 44
  • 48. Workbook Manual กาหนดใส่เส้นบอกระยะตามแนวกริด แนวตั้ง แล้วแก้ไขระยะต่างๆ ดังแสดง ท้ายสุดจะมีผงกริดพร้อมการสร้างแบบอาคาร ั 45
  • 49. Workbook Manual Step 2 ฐานราก โครงสร้ างรับอาคาร เลือกหมวด structural ในแถบ Object Family เลือก Structural Wall เลือกใน Option Bar เปลี่ยนวัสดุตามภาพ แล้วกาหนด ความสูงของกาแพงฐานรากที่เป็นโครงสร้างโดยเลือกเป็น Unconnect สูง 0.5 เมตร เขียนเส้นกาแพงฐานราก ตาม แนวเส้นทึบที่กาหนด 46
  • 50. Workbook Manual กดเครื่องมือแสดงภาพสามมิติ จะได้ดังแสดง กาหนดการวางฐาน กาแพงฐานราก โดยเลือกไปที่ Foundation> Wall เลือกคุณสมบัติดังภาพ เลือกขนาดฐานราก แล้วคลิ๊กที่ กาแพงทุกแนว 47
  • 51. Workbook Manual Step 3 เสาและคาน แนวกระดูกรับแรง เปลี่ยนมุมมองหน้ากระดาษไปที่ South ในแถบเครื่องมือ Basic เลือกการเขียนเส้นบอกระดับ แล้วเขียนระดับเพิ่มขึ้นมาอีก 1 เลเวล เพราะอาคารหลังนีจะเป็นอาคาร สอง ้ ชั้น ชั้นที่ 3 จะมีความสูง 8 เมตร หากเส้นกริดอยู่ ต่ากว่าแนวเส้นบอกระดับให้คลิกที่เส้นกริดแล้วลากที่จุดเชื่อมหัวกริด ขึ้นมาจะทาให้เส้นกริดยืดมาหมดทุกอัน ดังแสดงในภาพ 48
  • 52. Workbook Manual เปลี่ยนมุมมองไปที่ Floor Plans > Level 1 ในส่วนของแถบเครื่องมือ ในแถบ Object Family เลือกคาสั่งสร้างเสา แล้วเลือกปรับคุณสมบัติที่ Element Properties กาหนดเสา ตามขนาดที่เราต้องการได้ โดยการไปที่ Element Properties กด edit/new แล้วกด Duplicate ตั้งชื่อตามขนาด แล้วเปลี่ยนค่าที่ Depth และ Width ให้เป็นขนาดทีต้องการ ในที่นให้ ่ ี้ เสามีขนาด 0.3 x 0.3 เมตร ปกติแล้ว เสาในการก่อสร้างจะหล่อจากพื้นถึงยอด ดังนั้นจะต้อง กาหนดความสูงของเสา ดังนั้น ให้เปลี่ยนจาก Level 2 เป็น Level 3 แล้วคลิกวางเสาตามแนวกริดดังแสดงในรูป 49
  • 53. Workbook Manual ในกรณีที่ไม่มีรูปแบบเสาที่ต้องการเช่นเสากลม ซึ่งจะวางไว้ทกริด 5C และ 5D ต้องโหลดข้อมูลเสามาเพิม ใช้คาสั่งสร้าง ี่ ่ เสา แล้วกด โหลด เลือกเสากลมแบบที่ ต้องการ แล้วกาหนด ขนาดตามต้องการ คลิ๊กวางตาแหน่งเสา ที่ต้องการ 50
  • 54. Workbook Manual ซึ่งในแบบ อาคารตัวอย่างนี้เสากลมจะเป็นเสาซุ้มประตูหน้าบ้านจึงกาหนดความสูงเพียง Level 2 จากนั้นให้วาง ไว้ที่กริด 5C และ 5D 51
  • 55. Workbook Manual เมื่อมองสามมิติ กลับที่มุมมองใน Level2 เลือกหมวด Structural>>Beam จากนั้นให้เขียนวางคานที่รองรับพื้นในชั้นที่ 2 ตามแนวเส้นทึบที่กาหนดขึ้น 52
  • 56. Workbook Manual เปลี่ยนมุมมองไปที่ Level 3 เพื่อที่จะวางคานรับหลังคา แล้วเลือกโครงสร้าง ทาซ้า ทาโครงคานรับ หลังคา โดยใช้โหมด structural และ beam เหมือนเดิม แต่เปลี่ยนการ ทางานไปที่ level 3 แทน กระบวนการ 53
  • 57. Workbook Manual เขียนเส้นวางคานรับหลังคาตามแนวเส้นทึบดังรูป เสร็จแล้วลองดูภาพสามมิติจะได้ดงรูป ั 54
  • 58. 04 Autodesk Revit Architecture Workbook Manual ( พืน ส่ วนรองรับพืนที่ใช้ งานของอาคาร, บันได และ ทางลาด เส้ นทางสัญจรของอาคาร ) ้ ้ CAD Development Unit, Faculty of Architecture, Chiang Mai University
  • 59. Workbook Manual Step 4 พืน ส่ วนรองรับพืนที่ใช้ งานของอาคาร ้ ้ เปลี่ยนมุมมองหน้ากระดาษเป็น Floor Plans > Level1 ในแถบของเครื่องมือ Modeling เฃือกไปที่ Floor เพื่อที่จะสร้างพืนอาคารแต่ละชั้น ้ การเขียนพื้นอาคารก็คล้ายกับ การเขียนหน้าตัดของก้อนวัตถุ เพียงแต่จะใช้เสาในการอ้างอิงขอบเขตของพื้นที่พื้นดังกล่าว กดใช้เครื่องมือ Lines เขียน เส้นพื้น โดยในที่นี้ให้ขอบเขตพื้นเป็นกึ่งกลางของเสา เขียนพื้นออกมาดังแสดง กาหนดคุณสมบัติของพื้นไปที่ สร้างพื้นที่มีความหนาตามต้องการขึ้นมาใหม่เลือกไปที่ 56
  • 60. Workbook Manual Edit / New… เลือกที่ Duplicate แล้วตั้งชื่อพื้นใหม่เป็น Generic 400 mm เพราะต้องการให้พื้นหนา 400 มิลลิเมตร จากนั้นปรับแก้ค่าความหนาพื้นที่ Structure >Edit …. แล้วแก้คาความหนาเป็น 0.4 ่ ดังรูป จากนั้นกด ปรับค่า offset เท่าจานวนความหนา ของพื้น ไม่เช่นนั้น ตัว top ด้านบนของ . พื้นจะไปอยู่ในระดับเดียวกับคาน จากนั้นกด จะมีคาถามขึ้นมาว่าจะให้ดงผนังขึ้นมาชนพื้นนีมั้ยให้ตอบไปที่ NO ึ ้ จะได้พื้นออกมาดังรูป 57
  • 61. Workbook Manual แล้วเรียกคาสั่ง สร้างพื้นขึ้นมาอีกครัง ้ จากนั้น ทาพื้นเช่นเดิม โดยเปลี่ยนมาทาพื้นด้านหน้า บริเวณซุ้ม ด้านหน้า ปรับความหนาเป็น 30 มิลลิเมตร แทน 58
  • 62. Workbook Manual ปรับค่า Offset เป็น 0.3 เพื่อ ไม่ให้พื้นไปอยู่ระดับเดียวกับ คาน แล้วกด Finish Sketch จากนั้นเปลี่ยนมุมมองไปที่ Level 2 และทาการสร้างพื้นในชั้นที่ 2 สร้างเส้นขอบพื้นชั้นสอง แล้วปรับค่า floor properties ให้พื้นมีความหนา 15 cm รวมทั้ง ปรับค่า offset ให้เป็น 0.15 ด้วย 59
  • 63. Workbook Manual Step 5 บันได และ ทางลาด เส้ นทางสัญจรของอาคาร สร้างทางลาด โดยทางานใน level 1 ใช้โหมด modeling เลือก ramp ออกมา . เลือก Run เพื่อกาหนดเส้นทางของ Ramp ว่าวิ่งจากไหนไปที่ไหน ในที่นี้ให้ลากจากขวาไปทางซ้ายตรงด้านข้างซุ้มทางเข้า 60
  • 64. Workbook Manual จากนั้นเลือกเครื่องมือ Modify แล้วคลิกไปที่ขอบเขตของ Ramp ลากเส้นขอบมาให้เต็มพื้นที่ ดัง แสดง แล้วกด เปิดมุมมอง สามมิติ เพื่อดูภาพ ลบราวด้านในออก 61
  • 65. Workbook Manual แก้ไข slope ที่ยังไม่ลงตัว โดยเข้าไปแก้ไขที่ element properties เลือก Edit/New กด Duplicate ตั้งชื่อใหม่ แล้วเข้าไปแก้ไข slope เพื่อให้ระดับ ramp มา ชนพื้นพอดี และปรับ shape ให้เป็น solid เพื่อให้อางอิงระดับพื้น ้ แต่ถ้าเป็น thick จะเป็น การสร้างพื้นในระดับ เดียวกันทั้ง ramp 62
  • 66. Workbook Manual จากนั้นกลับไปทางานที่พื้นชั้นที่ 1 เพื่อที่จะสร้างบันไดขึ้นสู่ชั้นที่ 2 ใช้คาสั่งสร้างบันได แล้วกด Run เพื่อกาหนด แนวบันได ให้เป็นลักษณะ ตัว U โดย ขณะลาก จะมีจานวนขั้นบันไดที่ลากแล้ว และจานวนขั้นบันไดที่เหลือก่อนจะถึงพื้นชั้นบน ให้ โดยกาหนดตามที่ต้องการ 63
  • 67. Workbook Manual คลิกลากย้ายบันไดให้ อยู่ในตาแหน่งทีต้องการ ่ แล้ว กาหนดคุณสมบัติตางๆของบันได ไปที่ ่ กาหนดระดับเริ่มต้น และระดับสุดท้าย ให้ เท่ากับพื้นชั้น 1 และ ชั้น 2 ที่จะให้บันไดเริ่ม และจบ ณ พื้นชั้นนั้น ๆ โดย Base Offset กาหนดที่ 0.4 และ Top Offset กาหนดที่ 0.15 64
  • 68. Workbook Manual ลบราวจับบันไดออกทัง 2 ข้าง ้ แล้วปรับค่าขนาดส่วนต่างๆของ บันไดที่ Element Properties ปรับความหนาของลูกตังและลูกนอน และแม่บันได โดยเข้าไปที่ Element Properties กด Edit/New ้ แล้ว Duplicate… รูปแบบขึ้นมาใหม่ตงชื่อใหม่ แล้วปรับค่า thickness ของทั้งลูกตั้งและลูกนอนตาม ั้ กาหนด Treads = ลูกนอน , Riser = ลูกตั้ง , Stringers = แม่บันได 65
  • 69. Workbook Manual ปรับลักษณะแม่บันได แบบ None จะ ไม่มีโครงเลย เป็นลักษณะของ โครงสร้างเหล็ก Close เป็นลักษณะ ของโครงสร้างไม้ และ Open จะเป็น ลักษณะของโครงสร้างผสม เสร็จแล้วปรับมุมมองการ ทางานไปที่พื้นชั้นที่ 2 เพื่อที่จะทาการเจาะพื้นในส่วนของบันไดออกไป 66
  • 70. Workbook Manual คลิกเลือกพื้น แล้วกด Edit ด้านบน เขียนเส้น กรอบพื้นส่วนบันไดด้านใน แล้วตัด 67
  • 71. Workbook Manual เส้นออกโดยอาจจะใช้คาสั่ง Sprit เข้าช่วยจะทาให้ตัดเส้นง่ายขึ้น แล้วกด ปรับไปมุมมองสามมิติ จะได้บันไดดังแสดง 68
  • 72. 05 Autodesk Revit Architecture Workbook Manual (หลังคา ส่ วนปกปองแสงแดดและฝน) ้ CAD Development Unit, Faculty of Architecture, Chiang Mai University
  • 73. Workbook Manual Step 6 หลังคา ส่ วนปกปองแสงแดดและฝน ้ เริ่มทางานใส่หลังคา เลือกมุมมองการทางานเป็นพื้นชั้นที่ 2 เนื่องจากต้องการใส่หลังคาให้กับซุมทางเข้าด้านหน้า ซึ่งวาง ้ อยู่ในแนวระดับพื้นชั้นที่ 2 พอดี สร้างหลังคาส่วนหน้า โดย ทางานที่ level 2 โดยใช้ เครื่องมือ roof > roof by footprint เลือก line ใส่ค่า offset เพื่อให้ หลังคายื่นออกมาจาก ผนัง เลือกเขียนเส้นเช่นเดียวกับพื้น ลากส่วนที่ติดกับผนัง เสร็จ แล้วกาหนดระยะยื่นชายคา Offset เท่ากับ 1 เมตร แล้วเขียนเส้นต่อเนื่องโดยใช้กงกลางเสาเป็นตัวอ้างอิง ึ่ 70
  • 74. Workbook Manual จนครบรอบ เมื่อเขียนเส้นหลังคาจนครบแล้ว จะเห็นเส้น slope ของหลังคา ทั้ง 4 ด้าน แล้วเลือกเครื่องมือ Modify กด Modify เลือกเส้นหลังคา ด้านที่ติดกับตัวตึก แล้วกด เครื่องหมายถูกตรง Defines Slope ออก จะทาให้ส่วนของ หลังคาด้านนี้ไม่มการคานวณ ี ความชัน แล้วกด จะได้ รูปทรงหลังคาดังภาพ อาจจะมีการปรับความสูงจากรูปด้านเล็กน้อยเพื่อความเหมาะสม 71
  • 75. Workbook Manual คลิกเลือกหลังคาและกด Element Properties ปรับค่าระยะ Offset ตามรูปเพื่อกาหนดให้ หลังคาอยูต่ากว่าระดับพื้นชั้นที่ 2 ไป 20เซนติเมตร ตามความเป็นจริง ่ จากนั้นทางานบนมุมมองพื้นชั้นที่ 3 >> >> สร้างหลังคาด้านบนสุด โดย ทางานบน level 3 ปรับค่า offset ให้หลังคามีระยะชายคายื่นจาก ผนัง 1.5 เมตร แล้วลากเส้นกรอบ หลังคา ตามแนวเสาทีวางไว้ดงรูป ่ ั จนครบรอบ หากเส้นไม่เชื่อกัน อาจจะต้องมีการดึงเส้นเพื่อให้ เชื่อมกัน 72
  • 76. Workbook Manual แล้วกด จะได้หลังคาทรงปั้นหยาดังแสดง แต่ โดยวัตถุประสงค์ต้องการทาหลังคาซ้อนชั้น จึงต้องกาหนดระดับขึนมาอีกชั้นเพื่อเป็นแนวระดับของการวางหลังคาชั้นที่ 2 ้ 73
  • 77. Workbook Manual เลือกไปที่ชุดแถบเครื่องมือ เลือกคาสั่ง เพื่อกาหนดแนวระดับเพิมเติม ่ กาหนดชื่อแนวระดับใหม่ให้ชดเจน ในที่นี้ให้ชื่อเป็น Roof2nd ั แล้วตั้งค่าความ สูงของแนวระดับนี้ไปที่ 10 เมตร จากนั้นให้เลือกหลังคาแล้วกด Element Properties แก้ไขค่าของ Cutoff Level เป็น Roof2nd เพื่อให้หลังคาที่สร้างขึ้นเมื่อ วิ่งถึงระดับ Roof2nd ตัดพื้นที่ออกไป จึงทา ให้หลังคาชั้นแรกมีช่องหลังคาสาหรับวางหลังคาชั้นที่ 2 ลงไป ดังภาพ 74
  • 78. Workbook Manual ทางานที่ระดับ Roof2nd เลือกสร้างหลังคา เขียนเส้นกรอบ หลังคาชั้นที่ 2 โดยกาหนดระยะยื่นขอบหลังคาคลุมหลังคาชั้นที่ 1 เป็นระยะ 0.8 เมตรจึงจะป้องกัน น้าฝนไหลย้อนได้ แล้วเขียนเส้นจนครบรอบ 75
  • 79. Workbook Manual จากนั้นเลือกไปที่ ตั้งค่าองศา หลังคาให้ต่างจากชั้นที่ 1 โดยมากจะลาดชันสูงกว่า 10-15 องศา เสร็จแล้วกด อาจจะมีการ ปรับเปลี่ยนคุณสมบัติของหลังคาได้หากหลังคามีคุณสมบัติไม่ใช่อย่างทีต้องการ ่ 76
  • 80. 06 Autodesk Revit Architecture Workbook Manual ( กาแพงหรือผนัง ผิวและส่ วนแบ่ งพืนที่ของอาคาร, ประตูและหน้ าต่ าง ลมหายใจของอาคาร ) ้ CAD Development Unit, Faculty of Architecture, Chiang Mai University
  • 81. Workbook Manual Step 7 กาแพงหรือผนัง ผิวและส่ วนแบ่ งพืนที่ของอาคาร ้ ทางานบนพื้นชั้นที่ 1 เลือกคาสั่ง กาหนดต้นแบบของกาแพงทีต้องการ ่ สร้างกาแพงแต่ละชั้น โดย เริ่มจากการทางานบน Level 1 เลือกสร้างผนัง กาหนดขนาดผนัง โดย เลือก generic 200 mm >> กด Element properties > Edit/New > Duplicate เพื่อทาการเลือกขนาดผนัง ตามต้องการ ในกรณีทวไป ั่ ผนังส่วนใหญ่จะมีขนาด 10 เซนติเมตร ตั้งชื่อตาม ขนาดที่จะสร้าง กด Edit ในแถบ structure เพื่อ แก้ไขผนัง 78