Reflex action ม ผลต อการด ารงช ว ตอย างไร

ชื่อ........................................................................................เลขท.่ี .........................ชั้น.....................................

ขอ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

เกณฑ์การประเมนิ สรปุ ผลการประเมนิ

8-10 คะแนน ระดับคณุ ภาพ หมายถึง ประเมนิ ผล กอ่ นเรยี น คะแนนเตม็ 3 ดี คะแนนทไ่ี ด้

5-7 คะแนน ระดบั คณุ ภาพ หมายถึง

2 พอใช้

น้อยกว่า ระดับคณุ ภาพ หมายถงึ

5 คะแนน 1 ควรปรบั ปรุง

ลงชื่อ.....................................ผู้ตรวจ

9กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2

เล่มท่ี 4 ระบบประสาท

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ระบบประสาท

ข้อ เฉลย 1ก 2ค 3ก 4ง 5ข 6ข 7ข 8ค 9ค 10 ข

ยอดเยี่ยมมาก

10 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 2

เลม่ ที่ 4 ระบบประสาท

กรอบท่ี 1

สว่ นประกอบของระบบประสาท

ในการดำรงชวี ติ ประจำวนั ของมนษุ ย์มีการรับรู้และตอบสนองตอ่ สิ่งเร้าตา่ ง ๆ รอบตัวอยูต่ ลอดเวลา เช่น เมื่ออยู่กลางแดดเป�นเวลานาน ความร้อนจากดวงอาทิตย์จะกระตุ้นให้รู้สึกรอ้ นและมีเหงื่อออก หรือ เมื่อได้กลิ่นอาหาร กลิ่นอาหารจะกระตุ้นให้รู้สึกหิว ทั้งนี้เนื่องจากมนุษย์มีระบบประสาทที่รับรู้และ ตอบสนองตอ่ สง่ิ เรา้ ทม่ี ากระตนุ้

ระบบประสาท (nervous system) คอื ระบบการตอบสนองต่อสิง่ เร้ารอบตัว ระบบประสาทของ มนษุ ย์แบง่ ตาม หน้าทอี่ อกเป�นระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทรอบนอก

1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสนั หลงั 2. ระบบประสาทรอบนอก(peripheralnervoussytem:PNS)ได้แก่ เส้นประสาทสมองและ

เส้นประสาทไขสนั หลงั

http://www.thaigoodview.com/library/contest1/

คำถามกรอบท่ี 1

1.ระบบประสาท (nervous system) คือ? ตอบ................................................

2.ระบบประสาทส่วนกลางประกอบด้วยอวยั วะใดบ้าง? ตอบ................................................

11กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 2

เล่มท่ี 4 ระบบประสาท

เฉลยกรอบท่ี 1

1. ตอบ...คอื ระบบการตอบสนองต่อส่ิงเร้ารอบตัว.... 2. ตอบ...สมองและไขสนั หลงั ...

กรอบที่ 2

ระบบประสาทสว่ นกลาง

ระบบประสาทสว่ นกลาง เปน� ศนู ย์กลางควบคุมการทำงานของรา่ งกาย ซึง่ ทำงานพรอ้ มกัน ทั้งใน ด้านกลไกและทางเคมภี ายใต้อำนาจจิตใจ ซึ่งประกอบด้วยสมอง (brain) และไขสันหลงั (spinal cord) และเส้นประสาท (nerve) โดยเส้นประสาท หลายล้านเส้นจากทั่วร่างกายจะส่งข้อมูลในรูปกระแส ประสาทออกจากบรเิ วณศนู ย์กลางมีอวัยวะท่ี เก่ียวขอ้ งดงั นี้

ภาพแสดง สว่ นประกอบของระบบประสาท (อ้างอิงจาก: http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson5.php)

คำถามกรอบที่ 2

1. ระบบประสาท ประกอบดว้ ย? ตอบ...............................................

2. ระบบประสาทสว่ นกลาง เป�นศนู ยก์ ลางควบคมุ การทำงานของรา่ งกายคือ? ตอบ................................................

12 กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 2

เล่มที่ 4 ระบบประสาท

เฉลยกรอบที่ 2

1. ตอบ...สมอง ไขสันหลงั และเส้นประสาท.... 2. ตอบ...เป�นศูนย์กลางควบคมุ การทำงานของร่างกาย.......

กรอบท่ี 3

สมอง

สมอง (brain) ของคนเรามีน้ำหนักประมาณ 1.3 กิโลกรัม บรรจุอยู่ภายในกะโหลกศีรษะ สมองประกอบด้วยเซลล์ประสาทนับล้านเซลล์ เชื่อมต่อทำงานประสานกัน ทำให้สามารถสื่อสารได้ทั่วถงึ ทกุ เซลล์จงึ ทำใหส้ มองทำงานต่าง ๆ ที่สำคัญได้ สมองแบ่งออกเปน� 3 สว่ น สมองสว่ นหนา้ สมอง สว่ นกลาง และสมองสว่ นหลงั รายละเอียดดังตอ่ ไปนี้

ภาพส่วนประกอบของสมอง ที่มา http://www.gettyimages.com/

  1. สมองสว่ นหนา้ (Forebrain) 1.1) ซีรีบรัม (Cerebrum) มีขนาดใหญ่สุด รอยหยักมาก ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเรียนรู้

ควบคมุ การเคลอื่ นไหว ความรสู้ กึ และประสาทสมั ผสั 1.2) ทาลามัส (Thalamus) เป�นตัวกลางถ่ายทอดกระแสประสาทในสมอง 1.3) ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus) ทำหน้าที่ควบคุมสมดุลร่างกายและการทำงาน

ของระบบประสาทอัตโนมตั ิ เชน่ ควบคมุ อุณหภมู ิของร่างกาย การหายใจ การหลับ การเตน้ ของหัวใจ เปน� ต้น

13กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2

เล่มท่ี 4 ระบบประสาท

  1. สมองส่วนกลาง (Midbrain) มเี ซลล์เชื่อมระหวา่ งสมองส่วนหน้ากบั ส่วนทา้ ย และสว่ นหนา้ กับ ตา ทำใหล้ ูกตากลอกไปมา และมา่ นตาหดขยายได้
  1. สมองส่วนท้าย 3.1) ซีรเี บลลมั (Cerebellum) อยู่ใต้ซีรบี รัม ควบคุมระบบกล้ามเน้ือและการทรงตวั 3.2) พอนส์ (Pons) อยู่ด้านหน้าของซีรีเบลลัม ติดกับสมองส่วนกลาง ทำหน้าที่ควบคุม

การทำงานบางอย่างของร่างกาย เช่น การเคี้ยวอาหาร การหลั่งน้ำลาย การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ บริเวณใบหน้า การหายใจ การฟ�ง

3.3) เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) เป�นสมองส่วนท้ายสุด ต่อกับไข สันหลัง เป�นทางผา่ นของกระแสประสาทระหว่างสมองกบั ไขสนั หลัง เป�นศูนย์กลางการควบคุมการทำงาน เหนืออำนาจจิตใจ เช่น ไอ จาม สะอึก หายใจ การเต้นของหัวใจ เป�นต้น สมองส่วนพอนส์ และเมดัลลา ออบลองกาตา รวมกนั เรยี กว่า "ก้านสมอง (brain stem)"

http://www.idoctorhouse.com/library/physio-neuro/

คำถามกรอบท่ี 3

1. สมองสว่ นไหนท่ที ำให้ลกู ตากลอกไปมา และม่านตาหดขยายได?้ ตอบ.....................................................

2. สมองส่วนทเ่ี ป�นศูนยก์ ลางการควบคุมการทำงานเหนอื อำนาจจิตใจคือ? ตอบ.....................................................

14 กลุม่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2

เล่มท่ี 4 ระบบประสาท

เฉลยกรอบที่ 3

1. ตอบ......สมองสว่ นกลาง (Midbrain)........... 2. ตอบ..พอนส์ และเมดัลลาออบลองกาตา รวมกัน เรยี กว่า "ก้านสมอง (brain stem)

กรอบที่ 4

ไขสนั หลงั

ไขสันหลงั (spinal cord) เปน� เนือ้ เยอ่ื ประสาทท่ีทอดยาวจากสมองไปภายในโพรงกระดูกสันหลัง กระแสประสาท จากส่วนตา่ งๆ ของรา่ งกายจะผ่านไขสนั หลงั มีทั้งกระแสประสาทเข้าและกระแสประสาท ออกจาก สมอง และกระแสประสาทที่ติดต่อกับไขสันหลังโดยตรง ไขสันหลัง = ประสาทส่วนกลางที่ ตอ่ เนื่องจากประสาทส่วนปลาย มคี วามยาวจากระดบั ตน้ คอถงึ ระดับเอว

หน้าที่หลักของไขสันหลัง ก็คือการทำหน้าที่เปน� สื่อกลาง ในการส่งกระแสประสาท ทั้งในแง่ของ การสั่งให้กล้ามเนื้อหรืออวัยวะต่างๆทำงาน (motor funtion) และในแง่ของการรับความความรู้สึก (sensory function) จากสว่ นต่างๆของร่างกายพูดงา่ ยๆใหเ้ หน็ ภาพก็คือ ไขสันหลงั เปรยี บเสมอื นถนนใหญ่ 2 เลน ทท่ี ำหนา้ ท่ขี นส่งกระแสประสาท ท้งั ขาไปและขากลบั จากสมองส่อู วัยวะส่วนอน่ื ๆในร่างกาย

ไขสันหลังจะกนิ บรเิ วณตง้ั แต่กระดูกคอชิน้ ที่ 1 (C1) ลงไปจนถึงประมาณกระดกู เอวส่วนที่ 1 หรือ 2 (L1 , L2) ซึ่งในช่องระหว่างกระดูกสันหลังแต่ละข้อ ก็จะมีการแตกแขนงของไขสันหลัง ออกไปเป�น เสน้ ประสาทไขสนั หลงั (Spinal nerve root) อกี ทีหน่งึ

ภาพแสดง ลักษณะของไขสันหลงั http://www.krusarawut.net/wp/?p=2377

คำถามกรอบที่ 4

1.ไขสนั หลงั ทำหน้าท่อี ะไร? ตอบ.................................

2.ไขสันหลัง ขนสง่ กระแสประสาท อย่างไร? ตอบ.................................

15กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2

เลม่ ที่ 4 ระบบประสาท

เฉลยกรอบที่ 4

1. ตอบ..เปน� สือ่ กลาง ในการส่งกระแสประสาท… 2. ตอบ..ขนสง่ กระแสประสาท ทัง้ ขาไปและขากลับจากสมองสูอ่ วยั วะส่วนอืน่ ๆในร่างกาย...

กรอบที่ 5

เสน้ ประสาท

เสน้ ประสาทสมอง (cranial nerve ) เรียกกันทั่วไปว่า เส้นประสาทที่แยกออกจากสมอง ในปลาและสัตว์ครึ่งบกครึ่งน้ำมีจำนวน

10 คู่ ส่วน พวกในสัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ป�ก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีจำนวน 12 คู่ สำหรับคนเรามี 12 คู่ คอื ค่ทู ่ี 1 – 12

เสน้ ประสาทสมองค่ทู ี่ 1 เสน้ ประสาท ออลแฟกทอรี (olfactory nerve) รับความรสู้ ึกเก่ยี วกับ กลนิ่ เยือ่ หุม้ จมกู เขา้ สู่ทอรบี ัลล์ แล้วเข้าส่อู อลแฟกทอรโี ลบของสมอง ส่วนซีรบี รมั อีกทีห่ นึ่ง

เสน้ ประสาทสมองคทู่ ่ี 2 เสน้ ประสาทออพตกิ (optic nerve) รบั ความรสู้ ึกเกย่ี วกับการมองเห็น จากเรตินาของลกู ตาเขา้ ส่อู อพติกโลบ แล้วสง่ ไปยังออพซิพิทัลโลบ ของซีรบี รมั อกี ท่ีหนึ่ง

เสน้ ประสาทสมองค่ทู ่ี 3 เส้นประสาทออควิ โลมอเตอร์ (oculomotor nerve ) เส้นประสาท สั่งการจากสมองสว่ นกลางไปยังกล้ามเน้ือลูกตา 4 มดั ทำให้ลูกตา เคลอ่ื นไหวกลอกตาไปมาได้ และยงั ไปเล้ียงกล้ามเน้ือทีท่ ำให้ลมื ตา ทำใหม้ ่านตาหรห่ี รือขยายและไปยังกลา้ มเนอื้ ปรับเลนสต์ าอกี ดว้ ย

เสน้ ประสาทสมองค่ทู ี่ 4 เส้นประสาททอเคลีย (trochlea nerve ) เป�นเส้นประสาทส่ังการ ไปยงั กลา้ มเนื้อลกู ตา มองลงและมองไปทางหางตา

http://www.thaigoodview.com/library/contest1/science04/46/2/nerve/content/cranial_nerve1.html

16 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 2

เลม่ ท่ี 4 ระบบประสาท

เส้นประสาทที่แยกออกจากไขสันหลังมีทั้งหมด 31 คู่ เป�นเส้นประสาทประสม (mixed never)

แบ่งออกเป�นทงั้ หมด 5 บริเวณดงั นี้

เสน้ ประสาทบริเวณคอ (cervical never) 8 คู่

เส้นประสาทบริเวณอก (thoracal never) 12 คู่

เส้นประสาทบรเิ วณเอว (lumbar never) 5 คู่

เสน้ ประสาทบริเวณกระเบนเหน็บ (sacral never) 5 คู่

เส้นประสาทบริเวณกน้ กบ (coccygeal never) 1 คู่

เสน้ ประสาทที่ไขสันหลงั ไปเลยี้ งแขนและขาจะมคี วามยาวมากกวา่ ไปเล้ยี งลำตัว ถา้ ตัดไขสนั หลงั ออกตามขวางจะพบว่าแบ่งออกเป�น 2 ส่วนคือ 1.สว่ นทเี่ ปน� สเี ทา 2.สว่ นที่เปน� สขี าว

1.สว่ นทเี่ ป�นสเี ทา 2.สว่ นที่เป�นสขี าว

อย่ทู างด้านใน มี เปน� ส่วนทอ่ี ยดู่ า้ นนอก ลักษณะเปน� รปู ผเี ส้อื เปน� ทอ่ี ย่ขู อง เป�นพวกใยประสาทที่มเี ย่ือไมอลี ิน เซลลป์ ระสาทและ ใยประสาทท่ีมี หมุ้ อยูห่ นาแน่น จงึ มีสีขาวทำ เยอื่ ไมอีลินหุม้ สว่ นตรงกลางของ หน้าทเี่ ปน� ทางผา่ นของกระแส ไขสันหลงั บริเวณเนือ้ สเี ทาจะมี ประสาทระหวา่ งไขสันสันหลงั กบั ช่องในไขสนั หลงั เรยี กวา่ สมองกลุ่มเสน้ ประสาทแบง่ ช่องกลวงตรงกลางไขสนั ออกเป�น 2 กลุ่ม คอื หลงั (central canal) เป�นท่ีอยู่ ของ น้ำเล้ยี งสมองและไขสันหลัง 1. กลุ่มเส้นประสาท (cerebo-spinal fluid) นำกระแสประสาทเข้าสู่ สมอง (ascending tract )

2. กลมุ่ เสน้ ประสาทส่งั การ จากสมองผ่านไขสนั หลงั ไปยงั

http://www.thaigoodview.com/library/contest1/science04/46/2/nerve/content/spinal_cord1.html

คำถามกรอบที่ 5

1.เส้นประสาทสมองใดทรี่ บั ความรสู้ ึกเกย่ี วกบั การมองเห็นจากเรตนิ าของลกู ตา? ตอบ.................................

2.ส่วนใดของไขสันหลงั ทอี่ ยทู่ างด้านในและมีลกั ษณะเปน� รปู ผเี สอ้ื ? ตอบ.................................

17กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2

เลม่ ที่ 4 ระบบประสาท

เฉลยกรอบที่ 5

1.ตอบ......เสน้ ประสาทออพติก (opticnerve) ............ 2.ตอบ......ส่วนท่เี ป�นสเี ทา...........................

‘สมองอยูข่ า้ งไข่’ หลายคนคงเคยได้ยินคำวา่ ‘สมองอย่ขู า้ งไข’่ คงไมใ่ ช่เรอื่ งแปลก อีกตอ่ ไป เพราะงานวิจัยหลายชน้ิ เผยวา่ มีการคน้ พบความเชอื่ มโยงระหว่างอวยั วะสอง แห่งท่ถี งึ แม้จะอย่หู า่ งกนั ทำหน้าที่ตา่ งกัน แต่มีลกั ษณะรว่ มกนั บางอย่างจน อาจเรียกได้ว่าเป็นอวัยวะฝาแฝดกนั เลยทเี ดียวนอกจากน้ีทีมนักวทิ ยาศาสตร์ ยงั พบความคลา้ ยคลงึ อน่ื ๆ ระหวา่ ง ‘สมอง’ กับ ‘อณั ฑะ’ เชน่ อวยั วะท้งั

สองตอ้ งการพลังงานสูงเพ่ือใชใ้ นการคดิ วิเคราะห์และการ ผลติ สเปิรม์ จำนวนหลายล้านตวั ตอ่ วนั ทำใหท้ ง้ั ‘สมอง’ กับ ‘อณั ฑะ’ ต่างเผาผลาญแคลอรีมากเป็นพเิ ศษ เคยมงี านวิจยั ระบุว่า โรคเกีย่ วกับสมอง และภาวะเสอ่ื มสมรรถภาพทางเพศมคี วามเกยี่ วขอ้ งเช่ือมโยงกัน เช่นเดียวกบั ระดับสตปิ ญั ญาของมนษุ ย์ก็ดูมคี วามสมั พนั ธส์ อดคล้องกบั คุณภาพ

ของนำ้ อสจุ อิ กี ด้วย

https://www.beartai.com/lifestyle/sport-lifestyle/667113

แหลง่ ศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเตมิ

ระบบต่างๆในร่างกายมนษุ ยแ์ ละสตั ว์ https://krunanumon.wordpress.com/

ใบกิจกรรมท่ี 4.1 เราจำได้มากแคไ่ หน

และ https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-sci-book1/sci-m2b1-017/

18 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2

เลม่ ที่ 4 ระบบประสาท

เลม่ ท่ี 4

ระบบประสาท ตอนที่ 2 ระบบประสาทรอบนอก

(แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี 7) เวลา 2 ชัว่ โมง

19กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 2

เลม่ ท่ี 4 ระบบประสาท

กรอบท่ี 1

ความสำคญั ของระบบประสาท

ระบบประสาท มีหนา้ ทีค่ วบคุมการรับรแู้ ละการตอบสนองของรา่ งกาย การสง่ ขอ้ มลู จากสิ่งทีเ่ รา รบั รูใ้ นรูปของกระแสไฟฟ้า ไปยงั อวัยวะทที่ า้ หนา้ ทส่ี ่ังการ คือ สมอง และไขสันหลงั เพอื่ ใหร้ ่างกายเกิดการ ตอบสนองตา่ งๆ และยงั มีเรื่องของอารมณค์ วามรู้สึกมาเกยี่ วข้องดว้ ย

ระบบประสาทและสมอง ถือว่าเป�นส่ิงพิเศษท่ีทำใหม้ นษุ ยเ์ ป�นสิ่งมชี ีวติ ท่ีครองโลก ถ้ากลา่ วถงึ การ ทำงานโดยรวมของสมองแบบง่ายๆ คือ “การรับขอ้ มลู ” “การประมวลผล” และ “การตอบสนอง”

การเดินทางของข้อมูลคือ ระบบประสาทสว่ นปลาย(เส้นประสาท) รับและสง่ ข้อมูลเข้าสู่ ระบบ ประสาทสว นกลาง(สมองและไขสนั หลงั ) และสั่งงานออกมาที่ ระบบประสาทสวนปลาย(เสน ประสาท)

• การรับข้อมลู เกิดจากการรบั สิง่ กระตนุ้ จากสิ่งแวดล้อม เชน่ ภาพ เสียง กล่ิน หรอื สมั ผัส ผ่าน ตวั รับสมั ผัสและสง่ สัญญาณประสาทเขา้ สู่ ส่วนประมวลผล

• การประมวลผล เกดิ จากระบบประสาทส่วนกลาง รับข้อมูลจากสง่ิ กระตุ้น และประมวลผลสิ่ง กระต้นุ ทำให้เกดิ อารมณ์ การเรียนรู้ และ การจดจำ

• การตอบสนอง คือการส่ังการจากระบบประสาทส่วนกลาง ไปยังอวัยวะเปา้ หมาย ผ่าน เส้นประสาทส่วนปลาย

http://www.idoctorhouse.com/library/physio-neuro/

20 กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2

เล่มที่ 4 ระบบประสาท

ระบบประสาทสว่ นกลางและสว่ นปลายทำหน้าท่ีรว่ มกนั คอื รับสญั ญาณประสาทขาเข้าผ่านระบบ ประสาทสว่ นปลาย ส่งตอ่ ไปยัง ประสาทสว่ นกลางเพอื่ ประมวลผล สง่ กลับมายงั ประสาทส่วนปลายเพื่อ ทำงานอกี ครั้ง ซ่งึ ระบบการทำงานของระบบประสาทส่วนปลายขาออก ยังแบ่งเปน�

• กลุม่ ทีส่ ่ังการไดต้ ามใจ (Somatic) เช่น มือ แขน ขา กล้ามเนื้อใบหน้า • กลุม่ ทท่ี ำงานอัตโนมตั ิ (Autonomic) เช่น ควบคุม ระบบหวั ใจ ทางเดนิ อาหาร และ หลอดเลอื ด

เพอ่ื ปรับสมดุลของอวัยวะภายในใหโ้ ดยอตั โนมตั ิ และในกลมุ่ นย้ี งั แบ่งออกเป�น 2 กล่มุ ย่อยทที่ ำงาน ในทางตรงกันขา้ ม เพ่อื ความคุมอวยั วะภายในคือ

1. Sympathetic division ออกจากไขสันหลังระดบั หนา้ อก และ เอว 2. Parasympathetic division ออกจากไขสันหลังระดับ ต้นคอ และ ก้น เนื่องจากระบบประสาทและสมอง เป�นระบบที่มีความสำคัญในการดำรงชีวิต จึงได้รับการ ววิ ัฒนาการใหม้ อี วัยวะทชี่ ่วยปกป้องระบบนี้ สิง่ นนั้ คอื ระบบโครงรา่ งและกลา้ มเนอื้

http://www.idoctorhouse.com/library/physio-neuro/

คำถามกรอบที่ 1

1.ระบบประสาทมีหน้าท่ีอะไร? ตอบ........................................

2.การตอบสนอง เกดิ ขึน้ ไดเ้ พราะเหตุใด? ตอบ........................................

21กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2

เล่มที่ 4 ระบบประสาท

เฉลยกรอบท่ี 1

1.ตอบ.....ควบคมุ การรบั ร้แู ละการตอบสนองของรา่ งกาย...... 2.ตอบ....การส่งั การจากระบบประสาทส่วนกลาง ไปยงั อวัยวะเป้าหมาย ผา่ นเสน้ ประสาทส่วนปลาย......

กรอบที่ 2

เซลล์ประสาท

สมองมีเซลล์สมองจำนวนมหาศาล มีการเชื่อมต่อระหว่างกันโดยใช้ “สารสื่อประสาท” เป�นตัว นำพาขอ้ มูล ซง่ึ เซลลส์ มองก็มหี ลายชนิด และ สารสอื่ ประสาทกม็ ีหลายชนิดเช่นกัน

เซลล์ประสาท (neuron หรือ nerve cell) เป�นหน่วยที่เล็กที่สุดของระบบประสาท เซลล์ ประสาทมีเย่ือหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซมึ และนิวเคลยี ส เหมือนเซลล์อืน่ ๆแต่มีรูปร่างและลักษณะแตกต่างกัน ออกไป และโดยทั่วไปแล้วจะมีลักษณะบางอย่างคล้ายๆกนั คือ มีปลายประสาทขาเข้า นิวเคลียส และ ปลายประสาทขาออก

ในเซลล์และสภาพแวดล้อมด้านนอก จะมีความต่างศักย์ทางไฟฟา้ อยู่ประมาณ -70 mV เกิดจาก ความเข้มข้นของเกลือแร่ต่างกนั ระหว่างด้านในและด้านนอก เกลือแร่ที่ว่า คือ โซเดียม โปแตสเซียม และ แคลเซยี ม เปน� หลัก เม่ือเกดิ การกระตนุ้ เซลล์ประสาทน้จี ะมีการถ่ายเทเกลอื แรร่ ะหว่างภายในและภายนอก จนเกิดประจุไฟฟ้า เกิดสัญญาณต่อเนื่องไปที่ปลายประสาทขาออกทำให้เกิดการหลั่ง “สารสื่อ ประสาท” เพื่อไปกระตุ้นเซลล์ถัดไป และทางการแพทย์เราสามารถตรวจจับกระแสไฟฟ้านี้เพื่อนำมาทำ การวิเคราะหไ์ ด้

http://www.idoctorhouse.com/library/physio-neuro/

22 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 2

เล่มที่ 4 ระบบประสาท

เซลล์ประสาทประกอบด้วยตัวเซลล์ (cell body) และส่วนที่ยื่นออกมาจากตัวเซลล์ที่เรียกว่า เส้นใยประสาท (nerve fiber) ที่มี 2 ชนิด คือ เดนไดรต์ (dendrite) ทำหน้าท่ีรับกระแสประสาทเข้าสู่ ตัวเซลล์ และแอกซอน (axon) ทำหน้าที่นำส่งกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ไปยังเซลล์ประสาทอื่นๆ เซลล์ประสาท จำแนกตามหน้าทกี่ ารทำงานได้ 3 ชนดิ คอื

  1. เซลล์ประสาทรับความรู้สึก (sensory neuron) ทำหน้าที่ในการรับรู้ข้อมูลจาก สภาพแวดล้อมภายนอก รบั ความรสู้ กึ จากอวัยวะรับสมั ผัส เช่น จมกู ตา หู ผิวหนัง สง่ กระแสประสาทผ่าน เซลล์ประสาทประสานงาน
  1. เซลล์ประสาทนำคำสั่ง (motor neuron) มีหน้าที่ส่งกระแสประสาทไปยังหน่วยปฏิบัติงาน หรอื ทำหนา้ ท่สี ง่ั การการทำงานไปยังอวยั วะเปา้ หมายตา่ ง ๆ เช่น กล้ามเนื้อทีแ่ ขนและขา
  1. เซลล์ประสาทสั่งการ/เซลล์เชื่อมต่อ (interneuron) เซลล์เชื่อมต่อ เชื่อมต่อ การรับ และ การส่งสารสื่อประสาท มีหน้าที่รับและส่งกระแสประสาทระหว่างเซลล์ประสาท รับความรู้สึก และเซลล์ ประสาทสงั่ การ

ส่วนประกอบของเซลลป์ ระสาท https://il.mahidol.ac.th/e-media/nervous/ch1/chapter1/part_3.html

คำถามกรอบท่ี 2

1.เซลลประสาทประกอบดวย อะไรบาง? ตอบ.......................................................

2.เสน ใยประสาท (nerve fiber) อะไรท่ีทำหนา ทนี่ ำสงกระแสประสาทออกจากตวั เซลล ไปยงั เซลลป ระสาทอน่ื ๆ?

ตอบ.......................................................

23กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2

เล่มท่ี 4 ระบบประสาท

เฉลยกรอบท่ี 2

1. ตอบ....ตวั เซลล์ (cell body)....และ......เสน้ ใยประสาท (nerve fiber)..... 2. ตอบ........เสน้ ประสาทแอกซอน (axon)........................

กรอบท่ี 3

ระบบประสาทรอบนอก

ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System : PNS ) ประกอบด้วย 1. เสน้ ประสาทสมอง (cranial nerve) 12 คู่ - สมองทุกส่วนจะมีเสน้ ประสาทสมองแยกออกมาเปน� คู่ๆ เพอ่ื รบั สัญญาณความรู้สกึ และ

ออกคำส่ังควบคุมหน่วยปฏิบัตงิ านใหต้ อบสนองตอ่ ส่งิ เร้า 2. เสน้ ประสาทไขสันหลงั (spinal nerve) - เปน� เส้นประสาทท่ีแยกออกจากไขสนั หลัง 31 คู่ เพ่ือทำหนา้ ท่รี ับความรสู้ ึกและสง่ั การ

ไปยังหน่วยปฏบิ ตั ิงาน (effectors) เช่น กล้ามเนื้อหรือตอ่ มตา่ งๆ

รูปภาพไขสันหลงั และเส้นประสาทไขสันหลงั รปู ภาพบรเิ วณทเ่ี สน้ ประสาทสมองออกจากสมอง https://il.mahidol.ac.th/e-media/nervous/ch1/chapter1/part_4.htm

24 กล่มุ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2

เลม่ ที่ 4 ระบบประสาท

ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System) ทำหน้าที่รับและนำความรู้สึกเข้าสู่ ระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่ สมองและไขสันหลัง จากนั้นนำกระแสประสาทสั่งการจาก ระบบประสาท ส่วนกลาง ไปยังหน่วยปฎิบัติงาน ซึ่งประกอบด้วยหน่วยรับความรู้สึกและอวัยวะรับสัมผัส รวมทั้งเซลล์ ประสาท และเส้นประสาทที่อยู่นอกระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทรอบนอกจำแนกตามลักษณะ การทำงานได้ 2 แบบ ดังนี้

1. ระบบประสาทภายใต้อำนาจจิตใจ เป�นระบบควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อที่บังคับได้ รวมทั้งการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก

2. ระบบประสาทนอกอำนาจจิตใจ เป�นระบบประสาทท่ีทำงานโดยอตั โนมัติ มศี นู ย์กลางควบคุม อยู่ในสมองและ ไขสันหลัง ได้แก่ การเกิด รีเฟลกซ์แอกชัน (Reflex Action) เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นที่ อวยั วะรบั สัมผสั เชน่ ผิวหนัง กระแสประสาทจะสง่ ไปยงั ไขสนั หลัง และไขสันหลังจะสัง่ การตอบสนองไปยัง กล้ามเนื้อ โดยไม่ผ่านไปที่สมอง เมื่อมีเปลวไฟมาสัมผัสที่ปลายนิ้วกระแสประสาทจะส่งไปยังไขสันหลังไม่ ผา่ นไปท่สี มอง ไขสนั หลังทำหน้าทส่ี ่ังการให้กลา้ มเนอ้ื ทแ่ี ขนเกดิ การหดตัว เพ่อื ดงึ มอื ออกจากเปลวไฟทนั ที

คำถามกรอบที่ 3

1. ระบบประสาทรอบนอกส่วนใดทที่ ำหนา้ ทีร่ บั ความรสู้ ึกและส่ังการไปยงั หนว่ ยปฏิบตั งิ าน (effectors)? ตอบ.......................................

2.ระบบประสาทรอบนอกทำหนา้ ท?ี่ ตอบ.......................................

25กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 2

เลม่ ที่ 4 ระบบประสาท

เฉลยกรอบที่ 3

1.ตอบ.....เสน้ ประสาทไขสนั หลงั (spinal nerve)......... 2.ตอบ......รับและนำความรสู้ ึกเข้าสรู่ ะบบประสาทสว่ นกลาง.....

กรอบที่ 4

การเกิดปฏกิ ิรยิ ารีเฟลกซแ์ อกชนั

ระบบประสาทนอกอำนาจจิตใจ เป�นระบบประสาทที่ไม่ต้องอาศัยคำสั่งจากสมอง เรียกว่า ปฏกิ ิริยารเี ฟลก็ ซ์แอกชัน

รีเฟล็กซแ์ อกชันของการกระตุกขาเม่อื ถกู เคาะทีเ่ ขา่ รเี ฟลก็ ซแ์ อกชันเมื่อเหยียบเศษแก้ว https://il.mahidol.ac.th/e-media/nervous/ch1/chapter1/part_4.htm

ปฏกิ ิรยิ ารีเฟล็กซถ์ กู ควบคุมโดยไขสนั หลัง เมอ่ื ใชค้ อ้ นยางเคาะบริเวณใตห้ ัวเข่า หน่วยรบั ความรู้สกึ ท่ีอยูบ่ รเิ วณกลา้ มเนอื้ จะส่งกระแสประสาทผา่ นเซลล์ประสาทรับความรู้สกึ ไปยังไขสนั หลัง เซลล์ประสาทส่ัง การจะนำคำสั่งจากไขสันหลังในรูปของกระแสประสาทไปกระตุ้นให้กล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้าหดตัว ขณะเดียวกันเซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะส่งกระแสประสาทผ่านเซลล์ประสาทประสานงานไปยังเซลล์ ประสาทสงั่ การ เพ่ือยับย้ังการหดตวั ของกล้ามเน้ือต้นขาด้านหลงั ซง่ึ จะทำใหก้ ล้ามเนอ้ื สว่ นน้คี ลายตวั เป�น ผลใหเ้ กดิ การกระตุกขาไปข้างหน้า ปฏกิ ิรยิ ารเี ฟลก็ ซ์เป�นปฏิกริ ยิ าทตี่ อบสนองแบบทนั ทโี ดยไม่ผา่ นสมอง

26 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2

เล่มท่ี 4 ระบบประสาท

ภายหลังจากเกิดปฏิกิริยารีเฟล็กซ์แล้ว จะมีปฏิกิริยาตอบสนองผ่านสมองตามมา ทำให้เกิด ความรู้สึกและลำดบั เหตุการณ์ท่ีเกิดข้นึ ได้ เชน่ เมอื่ เดนิ ไปเหยียบหนาม นักเรียนจะชักเท้าออกทันทีก่อนที่ จะรู้สึกเจ็บและมีอะไรตำที่เท้า การชักเท้าออกทันทีเป�นปฏิกิรยิ ารเี ฟล็กซ์ ถูกสั่งการโดยไขสันหลังเท่านนั้ แตก่ ารรบั รู้หลงั จากนัน้ เชน่ ความเจ็บปวดและรู้วา่ มีอะไรตำท่ีเทา้ เป�นผลจากกระแสประสาทเคล่ือนจากไข สนั หลังสง่ ตอ่ ไปยังสมอง สมองจะแปลความหมายเป�นการรับรตู้ ่อสงิ่ เร้าน้นั ๆ แพทย์จะใชป้ ฏิกิริยารีเฟล็กซ์ ในการตรวจการทำงานของระบบประสาท

รเี ฟล็กซ์-อารก์ (reflex arc) เมื่อมอื สมั ผสั หนามแหลมของกระบองเพชร https://il.mahidol.ac.th/e-media/nervous/ch1/chapter1/part_4.htm

คำถามกรอบท่ี 4

1. ระบบประสาทท่ไี มต่ ้องอาศยั คำสงั่ จากสมอง คือ ? ตอบ..........................................

2. ปฏกิ ริ ิยารีเฟลก็ ซถ์ กู ควบคุมโดย? ตอบ..........................................

27กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 2

เลม่ ท่ี 4 ระบบประสาท

เฉลยกรอบท่ี 4

1. ตอบ............ปฏกิ ริ ิยารีเฟล็กซ.์ ............ 2. ตอบ.........ไขสนั หลัง........................

กรอบที่ 5

การป้องกนั ดูแลรกั ษาระบบประสาท

ระบบประสาทมีความสำคญั ต่อรา่ งกายมาก จึงควรดูแลรักษาระบบประสาทและระมัดระวังไม่ให้ เกิดความผิดปกติ โดยอาจปฏิบัตติ ามคำแนะนำ ดงั น้ี

 รักษาโรคตา่ ง ๆ ที่อาจส่งผลกระทบต่อการทำงานของระบบประสาท เช่น โรคเบาหวาน และโรค ความดนั โลหติ สงู เป�นตน้

 ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และอาจปรึกษาแพทย์เพื่อให้ช่วยวางแผนการออกกำลังกายท่ี เหมาะสม

 รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในปริมาณพอดี โดยเฉพาะอาหารไขมันต่ำ อาหารที่อุดมไปด้วย วิตามินบี 6 วิตามนิ บี 12 และ โฟเลต ซึ่งอาจช่วยบำรุงระบบประสาทใหท้ ำงานได้ตามปกติ

 ดื่มน้ำให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำที่เป�นสาเหตุทำให้รู้สึก สับสน มนึ งง และอาจมปี �ญหาเก่ียวกบั ความจำได้

 นอนหลับพกั ผอ่ นให้เพียงพอ เพือ่ ลดความเสยี่ งป�ญหาสุขภาพและโรคต่าง ๆ  งดสูบบุหรี่และไม่ดื่มแอลกอฮอล์ รวมทั้งไม่ใช้สารเสพติดที่อาจส่งผลกระทบต่อการทำงานของ ร่างกายในระยะยาว  เขา้ รบั การตรวจวดั สายตาและการไดย้ นิ หากมองเหน็ ไมช่ ัดหรือมปี ญ� หาในการได้ยินเสยี ง  ปอ้ งกนั การได้รบั บาดเจบ็ หรืออุบัติเหตุที่สง่ ผลกระทบตอ่ ศีรษะ  ไม่ควรทำหลาย ๆ สิ่งในเวลาเดียวกัน แต่ให้จัดลำดับความสำคัญ โดยเรียงสิ่งที่ต้องทำก่อนเป�น อันดบั ต้น ๆ  เรียนรู้ทกั ษะใหม่ ๆ เพอื่ พัฒนาสมาธแิ ละความสามารถในการจดจ่อตั้งใจทำส่ิงใดสงิ่ หนง่ึ ใหส้ ำเรจ็  จดบันทึกช่วยจำ โดยเขยี นส่ิงท่ตี อ้ งทำลงในสมดุ บนั ทึกหรอื ปฏทิ ิน  ฝก� คดิ บวกหรอื มองโลกในแง่ดี

คำถามกรอบที่ 5

1. วติ ามนิ ชนดิ ใดทชี่ ่วยบำรุงระบบประสาทให้ทำงานไดต้ ามปกติ? ตอบ........................................................

2. ควรรบั ประทานมีประโยชน์ต่อสมองโดยเฉพาะอาหารทม่ี ลี ักษณะใด? ตอบ........................................................

28 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2

เลม่ ที่ 4 ระบบประสาท

เฉลยกรอบท่ี 5

1. ตอบ...........วติ ามินบี 6 วิตามนิ บี 12 และ โฟเลต........ 2. ตอบ...............อาหารไขมันต่ำ....................

มหัศจรรย์ - ขอ้ ความท่สี ่งออกจากสมองเดินทางผา่ นเสน้ ประสาท ดว้ ยความเรว็ มากกว่า 322 กโิ ลเมตรตอ่ ชว่ั โมง ซงึ่ เรว็ กวา่ รถไฟ ความเร็วสงู บางรุ่นเสยี อีก - ในพน้ื ท่ี 1 ตารางเซนตเิ มตรบนผิวหนงั ประกอบไป ดว้ ยตัวรบั ความรู้สกึ เจ็บปวดอยปู่ ระมาณ 100 ตัว - กล้ามเนือ้ ท่คี วบคมุ ดวงตามกี ารเคลือ่ นไหวประมาณ 1 แสนคร้ังตอ่ วนั หรอื ถา้ เทยี บดวงตาเปน็ ขา กเ็ หมอื นคุณเดนิ ด้วยระยะทาง 80 กิโลเมตรตอ่ วนั

แหลง่ ศึกษาคน้ คว้าเพม่ิ เตมิ ระบบตา่ งๆในร่างกายมนษุ ย์และสตั ว์ https://krunanumon.wordpress.com/

และ https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-sci-book1/sci-m2b1-017/

29กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 2

เลม่ ที่ 4 ระบบประสาท

แบบทดสอบหลงั เรยี น

ระบบประสาท

คำช้ีแจง 1. ให้นกั เรียนเลือกคำตอบท่ีถกู ท่ีสดุ เพียงขอ้ เดยี ว โดยทำเครอื่ งหมายกากบาท ( X ) ลงใน กระดาษคำตอบ 2. ใชเ้ วลาในการทำแบบทดสอบก่อนเรียน 10 นาที

1. เม่ือถูกของรอ้ นมือเราจะกระตุก เรียกปฏกิ ริ ิยาที่เกิดขน้ึ วา่ อะไร ก. ปฏิกิริยากระตุ้น ข. ปฏิกิรยิ ารเี ฟลก็ ซ์ ค. ปฏิกิรยิ าลีเฟล็กซ์ ง. ปฏิกริ ยิ าโอเฟลก็ ซ์

2. ระบบประสาทซมิ พาเทตกิ (Sympathetic Nerve) ก. ควบคุ้มการเต้นของหัวใจ ข. ควบคุมปฏิกริ ิยาตอบสนองส่งิ เรา้ อย่างกะทันหนั ค. ทำให้ร่างกายเตรียมพรอ้ มสำหรับเผชญิ ภาวะอันตราย ง. ควบคมุ การทำงานของระบบอวัยวะภายใน

3. สมองสว่ นใดควบคมุ การเต้นของหวั ใจ ก. สมองสว่ นหน้า ข. สมองสว่ นกลาง ค. สมองสว่ นท้าย ง. ถกู ทกุ ขอ้

4. สมองสว่ นกลาง (Midbrain) ทำหน้าท่ีใด ก. ความทรงจำ ข. การเคลือ่ นไหวของลูกตา ค. ควบคุมการหายใจ ง. ควบคมุ การทรงตัว

30 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2

เลม่ ท่ี 4 ระบบประสาท

5. สมองส่วนหนา้ (Forebrain) ทำหน้าทีใ่ ด ก. การเคลือ่ นไหวของลูกตา ข. ความทรงจำ ค. ควบคุมการทรงตัว ง. ควบคุมการหายใจ

6. ขอ้ ใดไม่ใช่ส่วนประกอบของระบบประสาท ก. สมอง ข. กล้ามเนอ้ื ค. เส้นประสาท ง. ไขสันหลงั

7. ขอ้ ใดไมใ่ ชห่ นา้ ทข่ี องระบบประสาท ก. รับความรสู้ ึก ข. ควบคมุ การทำงานของรา่ งกาย ค. ทำงานประสานกบั ฮอร์โมน ง. ผลิตฮอร์โมน

8. ระบบใดในร่างกายทท่ี ำให้มีความรู้สกึ รอ้ น หรือหนาว ก. ระบบประสาท ข. ระบบสืบพันธ์ ค. ระบบตอ่ มไร้ท่อ ง. ระบบขับถ่าย

9. ลกั ษณะการทำงานของอวัยวะท่ีทำงานในลักษณะประสานสัมพนั ธก์ นั เรยี กว่า ก. เซลล์ ข. อวัยวะ ค. ระบบ ง. กลา้ มเน้อื

10. หน่วยทเี่ ล็กท่ีสดุ ที่ประกอบขึน้ เปน� ร่างกายมนษุ ยค์ อื ก. เซลล์ ข. อวัยวะ ค. ระบบ ง. ต่อมไร้ท่อ

31กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 2

เล่มที่ 4 ระบบประสาท

กระดาษคําตอบแบบทดสอบหลงั เรียน ระบบประสาท

ช่ือ..................................................................................................เลขที่..........................ชน้ั ..........................