สัญลักษณ์มรดกโลกดังที่เห็นในภาพ

“คงไว้ซึ่งระบบนิเวศที่คงความหลากหลายของทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า อันเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ และเป็นแหล่งนันทนาการและแหล่งศึกษาวิจัยของประชาชนทั้งชาวไทยและต่างประเทศ โดยประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการ”

ภารกิจ

“รักษาความสมบูรณ์ของระบบนิเวศแห่งผืนป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ ควบคู่กับการบริหารจัดการด้านนันทนาการ ส่งเสริมการศึกษาวิจัยและเผยแพร่ความรู้ และให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมบริหารจัดการ”



โครงสร้างสำนักงาน

ส่วนจัดการพื้นที่มรดกโลกทางธรรมชาติ กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่

1.ฝ่ายบริหารทั่วไป

กำกับ และดูแลเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานธุรการ จัดหาควบคุม และดูแลวัสดุและครุภัณฑ์ จัดเตรียมข้อมูลเพื่อสนับสนุนการประชุม รวมทั้งการจัดประชุม และปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย

2.ฝ่ายแผนงานพื้นที่มรดกโลกทางธรรมชาติกลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่

รับผิดชอบในการจัดทำแผนงาน และแผนงบประมาณ และประสานการปฏิบัติงานตามแผนการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศในพื้นที่มรดกโลกรวมถึงหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

3.ฝ่ายวิชาการ พื้นที่มรดกโลกทางธรรมชาติกลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่

จัดทำเอกสาร รวบรวม สำรวจ จัดทำข้อมูล จัดทำแผนยุทธศาสตร์และแผนการจัดการกลุ่มป่า และปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

4.ฝ่ายส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ พื้นที่มรดกโลกทางธรรมชาติกลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่

ส่งเสริม ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูล รวมถึงวางแผน สำรวจ ออกแบบ จัดทำสื่อความหมาย และจัดทำข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่

               - 㹷���ش��С������� �е�Ǩ�ͺ��������Ф�����繢ͧ��зӧҹ ��ШоԨ�ó��͡���§�¶�͵�����§ � � � �ͧ����Ъ�� ��駹�� ��þԨ�óҤѴ�����͡�ѧ����� �е�ͧ�Դ�͡����������Ҥչ��� ������˵ؼ���еͺ�Ӷ����ҧ� �������� ��е�ͧ��ҹ��õ�Ǩ�ͺ������ѡɳзҧ�����ҵԹ��� ���ҧ���ԧ �������

สัญลักษณ์มรดกโลกดังที่เห็นในภาพ
          

          ���ٻ�����������ѵ������ǧ��������ͺ���ҡ��鹵�����ͧ�ѹ �ٻ�����������ѵ����᷹�������¶֧ ��觷�����������ҧ��ä����� ��ǹǧ�����������ͺ���¶֧�����ҵ� ��Ҿ�Ǵ���� ����ͧ��觹����������Դ�ѹ�¡�ҡ�ѹ����� �ͺǧ����ա���˹���繵���ѡ�� 3 ��������� �ô��š ��� �����ѧ��� (WORLD HERITAGE) ���ҽ������ ( PATRIMOINE MONDIAL) �����໹ ( PATRIMONIO MUNDIAL) �ѭ�ѡɳ����ͧ��������Ǩ����ٻ�ç����դ�������੡���š ��Т�����ǡѹ��������ͧ��������繶֧����������㹡�û���ͧ�ô��š����ô��ҧ�Ѳ���������ô��ҧ�����ҵ��ա����

+เหตุการณ์ช่วงเวลาแหล่งอ้างอิง + โลก ดวงอาทิตย์ และระบบสุริยะกำเนิดขึ้นมาพร้อมกัน 4600 ล้านปี . + หลักฐานเกี่ยวกับปฏิทิน ครั้งแรกในเมืองไทย (ปลายสมัยรัชกาลที่ 3)
คาดว่าโรงพิมพ์หมอบรัดเลย์เป็นผู้จัดพิมพ์ 14 ม.ค. 2385 http://www.lib.ru.ac.th + รัชกาลที่ 4 โปรดให้พิมพ์ปฏิทินภาษาไทย
ปรากฏหลักฐานใน หนังสือบางกอกคาเลนดาร์ หน้า 108 12 มี.ค. 2404 + มีการพิมพ์ปฏิทินขาย ชื่อ "ประนินทิน" เป็นของโรงพิมพ์หมอสมิท
ราคาเล่มละ 4 บาท รัชกาลที่ 5
2411 – 2453 + ธนบัตร หรือ อัฐกระดาษ ถูกนำมาใช้แต่ไม่เป็นที่นิยม
ออกธนบัตรอีกครั้ง ในชนิด 5, 10, 20, 100, 1000 บาท รัชกาลที่ 5
2435
2445 . + เริ่มจากการมีบริษัทเดนมาร์กใช้รถรางไฟฟ้า ในปีพ.ศ.2437
มีองค์กรที่ดำเนินกิจการไฟฟ้า 2 แห่ง คือ การไฟฟ้ากรุงเทพ และกองไฟฟ้าหลวงสามเสน
ประเทศไทยเริ่มจำหน่ายไฟฟ้าให้แก่ประชาชนอย่างเป็นทางการราวต้นปีพ.ศ. 2457 รัชกาลที่ 5
2437 . + มีบันทึกว่า พบรถยนต์ 3 คันเข้ามาวิ่งตามถนนในเมืองบางกอก 2447 baanjomyut.com
blogacla@177 + พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ.2486
ให้ประชาชนในจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี ทำบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรก รัชกาลที่ 8
2486 . + พระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน พ.ศ.2505 ขนาด 6*9 ซม.
เป็นการจัดทำบัตรจากส่วนกลาง โดยออกบัตรเหลืองจนกว่าส่วนกลางจะส่งกลับมา รัชกาลที่ 9
2505 . + บัตรประชาชนเปลี่ยนจากสีขาวดำเป็นสีธรรมชาติ
เริ่มใช้บัตรแถบแม่เหล็ก ผลิตบัตรแบบรอรับได้
เริ่าใช้บัตรอเนกประสงค์ หรือสมาร์ทการ์ด 2531
2539
2547 . + โฉนดที่ดินฉบับแรกเป็นของพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ต.บ้านแป้ง อ.พระราชวัง จ.กรุงเก่า (พระนครศรีอยุธยา) 89-1-52 ไร่ 1 ต.ค.2444 . + ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.2497
ใช้บังคับเกี่ยวกับการออกโฉนดที่ดินและหนังสือแสดงสิทธิในที่ดิน 2497 . + สร้างอารามเล็ก ๆ เป็นวัดไหล่หินหลวง หรือ วัดเสลารัตนปัพพตาราม อ.เกาะคา จ.ลำปาง
และ พระวิหาร ร่วมสร้างโดย พระมหาป่าเกสร ปัญโญ และเจ้าฟ้าเมืองเชียงตุง 2181 (370 ปี)
2226 (325 ปี) . + เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตครั้งแรกในประเทศไทย โดยสำนักวิทยบริการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ความเร็ว 9600 บิทต่อวินาที 2536 . + ระบบโทรเลขนำมาใช้ครั้งแรก ปีพ.ศ. 2418
และยกเลิกบริการรับส่งโทรเลข ไปแล้ว 2418
1 พ.ค. 2551 เผยแพร่ข่าวสารทางทีวี