เพราะเหตุใดการแยกแยะข้อมูลจึงช่วยในการวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

����Ըա�÷ҧ����ѵ���ʵ�� ���¶֧ ��кǹ����֡�� �鹤��� ����ͧ��������˵ء�ó�ҧ ����ѵ���ʵ�� ������ѡ�ҹ�ҧ����ѵ���ʵ�����դ�������ѹ��������§�Ѻ�������͹�������¹�ŧ ��ѧ�� ���֡�Ҩҡ�͡��÷�����͡��ê�鹵���Ъ���ͧ����ѡ��Сͺ����红������Ҥʹ�� �繡�кǹ��������㹡�����Ǻ�������������繡�кǹ��÷��ѡ����ѵ���ʵ��������鷴�ͺ ������ԧ�ͧ�ҹ�����ҡ����Ǻ����ͧ�ؤ����� ���ͤ������§���� �����Ѵਹ �դ�Ҥ�����������٧ �������ö���繻���ª��㹡�����������ѧ����
�� ��鹵͹�ͧ�Ըա�÷ҧ����ѵ���ʵ��
����֡�һ���ѵ���ʵ�� ��͡�кǹ����红����ŷ��١�Ǻ�����ШѴ�����ҧ���к� ��ͧ������Ըա�� �֡�ҷ����Ẻ੾�� �բ�鹵͹��ҧ � ��������Դ�ӴѺ��äԴ���ҧ���к� ���������ѡ�ҹ ��������ҧ � ͸Ժ������ͧ��Ǥ������Ңͧ�˵ء�ó�ҧ����ѵ���ʵ�� �������㨤��������ʹյ ��������§�Ѻ�����繨�ԧ�ҡ����ش ��觻�Сͺ���¢�鹵͹����Ӥѭ 4 ��鹵͹���

����֡�һ���ѵ���ʵ���� 4 ��鹵͹�ѧ���

1. ����Ǻ�����ФѴ���͡��ѡ�ҹ ������դ����Դ���ͧ�����͢�����ص԰ҹ���Ǽ���֡�Ҩ� ��ͧ�׺������ѡ�ҹ����ͧ����ФѴ���͡���ҧ���Ѵ���ѧ
2. �������������л����Թ�س�����ѡ�ҹ �繢�鹵͹������֡�ҵ�ͧ�ӡ�õ�Ǩ�ͺ ����������л����Թ�����ѡ�ҹ������� �� 2 �Ըդ��
������ (1) �������������л����Թ�س�����ѡ�ҹ��¹͡ �繡�� �����Թ
�����觾��٨����ѡ�ҹ����繢ͧ��ԧ���ͻ��� ������¡�� ���º��º�Ѻ
��ѡ�ҹ��蹫�觨��繵�ͧ�ͤ���������ͨҡ�������Ǫҭ ੾�д�ҹ
������ (2) �������������л����Թ�س�����ѡ�ҹ���� ��觵�Ǩ�ͺ
����������Ͷ�ͧ͢��ѡ�ҹ�¾Ԩ�óҤ����١��ͧ��Фس��Ңͧ������
�ҡ�������Դ�Ѻ�˵ء�ó� �ѡ��Ҿ��Фس�����ͧ ����֡��
3. ��õդ������� ��ѡ�ҹ �������ѡ�ҹ��ҹ������������л����Թ�س������� ����֡�ҵ�ͧ �դ�����ѡ�ҹ���ҧ������ºẺἹ���������Ҥ���������Ф����Ӥѭ������ԧ����ҡ� ���ѡ�ҹ�������ѹ��Ѻ����稨�ԧ�������ö��͸Ժ�¾ĵԡ������Ҿ�Ǵ��������ҧ���� ��ҧ ʶҹ��� ��кؤ��
4. ����ѧ����������� ��͡�ùӢ����ŷ����ҡ��õդ�����Т����ػ�����º���§������ͧ��� ��������ͧ �����׹ ������˵ؼ� ����֡�Ҥ鹤��ҷҧ��ҹ����ѵ���ʵ���鹵�ͧ༪ԭ�Ѻ��ѡ�ҹ ����դ����Ѻ��͹��ТѴ��駡ѹ�������� ����ʹ�� �آ�� �ͺ�ͺ ������º�Թ�� ��ʵԻѭ�� ���˵ؼ� ����Ѻ��˵ؼ���Ф�������ö�ͧ������ ��Ф���������ͨҡ�������Ǫҭ��ҹ��ҧ � �з���� ����ѵ���ʵ�� �դس����ҡ�͵�͡���֡�� ���С���֡�һ���ѵ���ʵ������èӡѴ������§����觷����ѹ�֡�ͺ ������¹�����¹��ҷ�����

Ref : http://www2.se-ed.net/nfed/history/index_his.html 14/02/2008

การแยกแยะหลักฐานทางประวัติศาสตร์

เพราะเหตุใดการแยกแยะข้อมูลจึงช่วยในการวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

การแยกแยะหลักฐานทางประวัติศาสตร์

   หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรจะมีการเขียนเรื่องราวทางประวัติศาสตร์  เรื่องราวที่จดบันทึกไว้เรียกว่า ข้อมูล  เมื่อจะใช้ข้อมูลควรต้องดาเนินการ ดังนี้

1. การแยกแยะความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับความคิดเห็น  ข้อมูลเรื่องราวทางประวัติศาสตร์นั้นจะมีทั้งข้อเท็จจริง กับความคิดเห็นของผู้เขียน  ผู้บันทึก  หรือผู้แต่ง  ข้อเท็จจริง เป็นข้อมูลจากหลักฐานต่างๆ ซึ่งอาจตรงกันบ้าง ไม่ตรงกันหรือขัดแย้งกันบ้าง  แต่ความคิดเห็น เป็นส่วนที่ผู้เขียน ผู้บันทึก  หรือผู้แต่ง ผู้ใช้หลักฐาน คิดว่าข้อมูลที่ถูกต้องน่าจะเป็นอย่างไร

2. การแยกแยะระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริง  ข้อมูลหรือเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ เรียกว่า  ข้อเท็จจริง คำว่า ข้อเท็จจริง แยกออกเป็น  ข้อเท็จจริงกับข้อจริง  เรื่องราวทางประวัติศาสตร์จึงประกอบด้วย  ข้อเท็จจริงกับข้อจริงหรือความจริง เช่น เรื่องราวการเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2112)  การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ( พ.ศ. 2310 ) ความจริง คือไทยเสียกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 2112 และ พ.ศ. 2310 ส่วนข้อเท็จจริง  คือ  ข้อมูลที่เป็นคำอธิบายที่ปรากฏในหลักฐานทั้งหลายว่า  ทำไมไทยจึงเสียกรุงศรีอยุธยา เช่น คนไทยเตรียมตัวไม่พร้อม  ผู้น่าอ่อนแอและมีความแตกแยกภายใน ทหารมีจำนวนน้อย  มีอาวุธล้าสมัยและมีจำนวนไม่พอเพียง

ข้าศึกมีผู้นำที่เข้มแข็งและมีความสามารถสูง  มีทหารจำนวนมากกว่าและมีอาวุธดีกว่า  ค าอธิบายดังกล่าวอาจถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นความจริงหรือไม่เป็นความจริง  ดังนั้นจึงเรียกคำอธิบายหรือเหตุผลว่า  ข้อเท็จจริง 

ดังนั้น  ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์  นักเรียนจึงต้องค้นคว้าข้อมูลจากหลักฐาน หลายแหล่งหรืออ่านหนังสือหลายเล่ม  เพื่อจะได้สามารถแยกแยะว่าเรื่องใดเป็นความจริง เรื่องใดเป็นข้อเท็จจริง  เรื่องนี้ยังเป็นประโยชน์ในการรับรู้  รับฟังข้อมูลหรือเรื่องราวทั้งหลายในชีวิตประจำวันว่าเรื่องใดควรเชื่อ และเรื่องใดไม่ควรเชื่อ


ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์

เพราะเหตุใดการแยกแยะข้อมูลจึงช่วยในการวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์

ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย

            ขั้นการกำหนดเป้าหมาย เป็นขั้นตอน

แรก นักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจน

ว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และ

เพราะเหตุใด เป็นการตั้งคำถามที่ต้องการ

ศึกษา นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การ

สังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางระวัติ

ศาสตร์ในเรื่องนั้นๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคำถามหลัก

ที่นักประวัติศาสตร์ควรคำนึงอยู่ตลอดเวลาก็คือ

ทำไมและเกิดขึ้นอย่างไร

ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล 

            หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ให้ข้อมูล มีทั้งหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร มีทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้น(ปฐมภูมิ) และหลักฐานชั้นรอง(ทุติยภูมิ) ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

            วิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้นว่า มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ 

ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและวิพากษ์ข้อมูลโดยขั้นตอนทั้งสองจะกระทำควบคู่กันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานต้อง

พิจารณาจากเนื้อหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานนั้น และในการวิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานภายนอกประกอบ

ด้วยการวิพากษ์หลักฐานหรือวิพากษ์ภายนอก 

ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน 

  การตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาที่แท้จริงอย่างไร โดยดูจากลีลาการ

เขียนของผู้บันทึกและรูปร่างลักษณะโดยทั่วไปของประดิษฐ์กรรมต่างๆเพื่อให้ได้ความหมายที่แท้จริงซึ่งอาจแอบแฟง

โดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม 

ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล

            จัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องเรียบเรียงเรื่อง หรือนำเสนอข้อมูล

ในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบายความอยากรู้ ข้อสงสัยตลอดจนความรู้ใหม่ ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า

นั้นลักษณะ ประเภท และความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์

         ประวัติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยพฤติกรรมหรือเรื่องราวของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในอดีต ร่องรอยที่คนในอดีตสร้างเอาไว้ เป้าหมายของ

การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คือ การเข้าใจสังคมในอดีตให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด เพื่อนำมาเสริมสร้างความเข้าใจในสังคมปัจจุบัน


เพราะเหตุใดจึงจำเป็นต้องมีการแยกแยะหลักฐานทางประวัติศาสตร์

ดังนั้น ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ นักเรียนจึงต้องค้นคว้าข้อมูลจากหลักฐาน หลายแหล่งหรืออ่านหนังสือหลายเล่ม เพื่อจะได้สามารถแยกแยะว่าเรื่องใดเป็นความจริง เรื่องใดเป็นข้อเท็จจริง เรื่องนี้ยังเป็นประโยชน์ในการรับรู้ รับฟังข้อมูลหรือเรื่องราวทั้งหลายใน ชีวิตประจ าวันว่าเรื่องใดควรเชื่อ และเรื่องใดไม่ควรเชื่อ

เพราะเหตุใด ผู้ที่ศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์จึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลในหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์

เนื่องจากการน าเสนอองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์เป็นการน าเสนอเรื่องราวในอดีต ผู้ศึกษาจึงต้องตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานและข้อเท็จจริงให้รอบคอบและ ระมัดระวังไม่ให้ผิดพลาด มีลาดับการทางาน ที่เป็นตรรกะ ความเป็นเหตุเป็นผลในการล าดับความคิดเกี่ยวกับการน าเสนอเนื้อหาก่อน – หลัง ในการเชื่อมโยงหลักฐาน และการใช้หลักฐานอ้างอิง

เพราะเหตุใดหลักฐานชั้นต้นจึงมีความน่าเชื่อถือกว่าหลักฐานชั้นรอง

1. หลักฐำนชั้นต้นหรือหลักฐำนปฐมภูมิ เป็นหลักฐานที่มาจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในสมัยนั้นจริงๆ โดยมีการบันทึกของผู้ที่เกี่ยวกับเหตุการณ์โดยตรง หรือผู้ที่รู้เหตุการณ์นั้นด้วยตนเอง ดังนั้นหลักฐานช่วง ต้น จึงเป็นหลักฐานที่มีความสาคัญและน่าเชื่อถือมากที่สุด เพราะบันทึกของบุคคลที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ หรือผู้อยู่ในเหตุการณ์ ...

เพราะเหตุใดจึงต้องมีการประเมินคุณค่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์เฉลย

การประเมินหลักฐานเป็นขั้นตอนสำคัญขั้นตอนหนึ่งของวิธีการทางประวัติศาสตร์ เพราะหลักฐานทางประวัติศาสตร์มีจำนวนมาก จึงต้องมีการตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้นว่า มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ การประเมินคุณค่าของหลักฐาน ในวิธีการทางประวัติศาสตร์ และสามารถนำมาวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารในโลกยุคปัจจุบันที่มีการสร้างข้อมูลเท็จ ...

เพราะเหตุใดจึงจำเป็นต้องมีการแยกแยะหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เพราะเหตุใด ผู้ที่ศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์จึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลในหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ เพราะเหตุใดหลักฐานชั้นต้นจึงมีความน่าเชื่อถือกว่าหลักฐานชั้นรอง เพราะเหตุใดจึงต้องมีการประเมินคุณค่าหลักฐานทางประวัติศาสตร์เฉลย 5. ทำไมต้องแยกแยะข้อมูลระหว่างข้อเท็จจริงกับความคิดเห็น การประเมินคุณค่าของหลักฐาน ควรจะพิจารณาจากสิ่งใดมากที่สุด การแยกแยะหลักฐานทางประวัติศาสตร์ 4. ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่ผู้เขียนได้แสดงความคิดเห็นในเรื่องราวที่บันทึกข้อมูล เรียกว่าอะไร การแยกแยะ ข้อมูล คือ