ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับ north bridge

                หน่วยประมวลผลกลาง เปรียบได้กับสมองของคอมพิวเตอร์ เป็นส่วนที่สำคัญที่สุด ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการประมวลผลและควบคุมระบบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ ให้ทุกหน่วยทำงานสอดคล้องสัมพันธ์กัน หลายท่านคงสงสัยว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor), ชิป (Chip), โพรเซสเซอร์ (Processor) เหมือนหรือต่างจาก CPU หรือไม่ อย่างไร? คำตอบก็คือเหมือนกัน จะเรียกชื่ออะไรก็ได้ เนื่องจากส่วนประกอบภายในเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อนจำนวนมาก มีทรานซิสเตอร์ประกอบกันเป็นวงจรหลายล้านตัว แต่ละชิ้นมีความกว้าง 0.35 ไมครอน (ขณะที่เส้นผมคนเรามีเส้นผ่าศูนย์กลาง 100 ไมครอน ผ่านกรรมวิธีการผลิตที่สะอาดยิ่งกว่าความสะอาดในโรงพยาบาลเสียอีก สำหรับยี่ห้อหรือแบรนด์ ของซีพียูที่ใช้ในปัจจุบัน คือ Intel, AMD และ Cyrix 

        Cache หรือหน่วยความจำแคช (Cache) เป็นหน่วยความจำแรมแบบ Static (SRAM) ซึ่งอ่าน/เขียนข้อมูลได้รวดเร็วกว่าแรมของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นแบบ Dynamic RAM (DRAM) หน้าที่ของ Cache คือเก็บคำสั่งและข้อมูลที่ใช้งานบ่อยๆเพื่อส่งให้ CPU ประมวลผลได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งแบ่ง Cache ได้ 3 ระดับคือ

ชิปเซ็ตจะถือว่าเป็นส่วนสำคัญของเมนบอร์ดอีกตัวหนึ่งเลยก็ว่าได้ชิปเซ็ตจะเป็นตัว คอยเชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างอุปกรณ์กับด้านความเร็วสูงกับด้านความเร็วที่รองลงไป ให้ติดต่อสื่อสารกันอย่างสัมพันธ์ กันเพราะความ สามารถต่าง ๆ ที่เมนบอร์ดมีนั้นส่วนใหญ่ชิปเซ็ตจะเป็นตัวกำหนดจัดการไม่ว่าจะเป็น เรื่องของการกำหนดความถี่ ให้แก่ระบบบัสทั้งระบบ หรือจะเป็นการจำกัดสิทธิในการให้ใช้ CPU ได้ของยี่ห้อใดบ้างหรือให้รองรับหน่วย ความจำประเภทใด , กำหนดให้เมนบอร์ดนั้นต้องมี Slot แบบใดบ้าง และอีกหลาย ๆคุณสมบัติด้วยกันที่มีอยู่ใน ตัวของชิปเซ็ต



ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับ north bridge



North Bridge และ South Bridge



ชิปเซ็ตประเภทนี้ มีหลักการทำงานที่พอจะอธิบายได้อย่างคร่าว ๆ ดังนี้ ก็คือ ตัวชิปเซ็ตที่เป็นแบบ North Bridge และ South Bridge จะมีอยู่ 2 ตัวด้วยกัน ตัวแรกจะทำหน้าที่เป็น North Bridge จะทำหน้าที่ติดต่อกับอุปกรณ์ที่มีความเร็วสูงทั้งหมดในเมนบอร์ด ซึ่งได้แก่ ซีพียู หน่วยความจำ(แรม) และการฟิกการ์ด
ตัวที่สองจะทำหน้าที่เป็น South Bridge จะทำหน้าที่ติดต่อกับอุปกรณ์ต่อพ่วงจำพวกฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอมไดรฟ์และ South Bridge จะมีระบบบัสแบบ PCI ขนาด 32 บิต ความเร็ว 33 MHz เป็นตัวเชื่อมต่อการทำงาน ซึ่งหมายความว่าชิปเซ็ต North Bridge และ South Bridge นั้นสามารถถ่ายโอนข้อมูลระหว่างกันได้ที่ความเร็วสูงสุดถึง 132 MB./Sec




โครงสร้างการทำงานของชิปเซ็ต



North Bridge , South Bridge



ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับ north bridge



Accelerated Hub Architecture




โครงสร้างของชิปเซ็ตแบบ Accelerated Hub Architectureนี้จะมีโครงสร้างที่ คล้ายกับ แบบ North Bridge , South Bridge แต่จะมี Firmware Hub ที่เป็นส่วน ที่ใช้เป็นระบบรักษาความปลอดภัย(Security) ให้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์เพิ่มเข้ามาด้วย ชิปเซ็ตที่มีโครงสร้างแบบนี้จะมีระบบบัสแบบ PCI ที่เชื่อมต่อระหว่าง Graphics กับ I/O Controller นั้น ที่มีความกว้างของบัส 32 บิต ความเร็ว 66 MHz ทำให้มีความสามารถในการถ่ายโอนข้อมูลระหว่างกันถึง 264 MB./Sec ซึ่งถือว่าเร็วกว่าแบบ North Bridge , South Bridge เป็นเท่าตัวเลยทีเดียว


โครงสร้างการทำงานของชิปเซ็ต




ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับ north bridge








ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับ north bridge






ชิปเซ็ตของ Intel





แต่เดิม Intel จะผลิตชุดชิปเซ็ตที่ประกอบไปด้วยชิปเซ็ตไอซี 2 ตัวตัวแรก เรียกว่า North Bridge หรือ System Controller และตัวที่สองคือ South Bridge หรือ PCI to ISA Bridge ซึ่งชิปเซ็ต
ของอินเทลที่ใช้วิธีนี้คือ440BX,440EX,440FX,440LX เป็นต้น ส่วนชิปเซ็ตในรุ่นหลังนี้ อินเทล ได้เปลี่ยนมาใช้สถาปัตยกรรมการออกแบบใหม่ที่เรียกว่า "Accelerated Hub Architecture" โดยมีการเพิ่มชิปเซ็ตตัวหลักจากเดิม 2 ตัวเป็น 3 ตัว โดยมีหลักการทำงานคือ



- Graphic & Memory Controller หรือ GMCH ซึ่งทำหน้าที่คล้ายกับ ชิป North Bridge เดิมโดยGMCH มีอยู่ในชิปเซ็ต i810 ซึ่งมีชิปแสดงผลกราฟฟิคอยู่ในตัวในภายหลังได้ตัดส่วนนี้ออก ไปเพื่อให้ผู้ใช้สามารถ เลือกใช้การ์ดแสดง กราฟฟิคได้ตามความพอใจที่เรียกว่าMCH ซึ่งทำหน้าที่เชื่อมต่อกับส่วนสำคัญภาย ในเครื่องได้แก่ ซีพียู หน่วยความจำ และส่วนแสดงผลกราฟฟิค และ I/O Controller Hub โดยผ่านระบบบัสที่มีความเร็วสูง





- I/O Controller Hub หรือ ICH ทำหน้าที่คล้ายกับชิปเซ็ต South Bridge แต่เนื่องจากมีความกว้าง
ของช่องทางสื่อสารสูงกว่าชิปเซ็ตตระกูล 4XX จึงมีประสิทธิภาพในการทำงานเพิ่มขึ้น
ซึ่งรองรับกับมาตรฐานอุปกรณ์ชนิดใหม่ที่ออกมาเช่น การเชื่อมต่อฮาร์ดดิสก์แบบUDMA/66 ,มาตรฐานAC'97หรือ Modem & Audio Connection สนับสนุนพอร์ต USB ซึ่งเป็นพอร์ตการสื่อสารความเร็วสูง
ICH มี 3 รุ่นคือ ICH0(82801AA),ICH(82801BA) และ ICH2 (82801AB)โดย ICH0 นั้นสนับสนุน
การเชื่อมต่อกับฮาร์ดดิสก์ด้วยมาตรฐาน UDMA/33 และรองรับการทำงานของสล๊อต PCIได้สูงสุดเพียง
4 สล๊อต ส่วน ICH สนับสนุนการต่อเชื่อมกับ ฮาร์ดดิสก์ทั้งมาตรฐานATA-33 และ ATA-/66 โดยรองรับการทำงานของสล๊อต PCI ได้สูงสุดถึง 6 สล๊อตสำหรับ ICH2 จะสนับสนุนการเชื่อมต่อกับฮาร์ดดิสก์ตาม
มาตรฐานใหม่คือ ATA-100



- FimWARE Hub หรือ FWH ชิปเซ็ตตัวนี้เป็นส่วนที่เพิ่มมาจากโครงสร้างแบบเดิม โดยเป็นส่วนที่ไม่มีการ์ดติดต่อ กับอุปกรณ์ภายนอกเหนือกับ MCH และ ICH หน้าที่ของส่วนนี้จะเก็บโปรแกรมย่อยไว้ภายใน
เพื่อควบคุมการทำงานของชิปเซ็ต ซึ่งเปรียบเทียบไปก็เสมือนกับหน้าที่ไบออสบนเมนบอร์ดนั้นคือโครงสร้างพื้นฐานของ FWHคือเป็นหน่วยความจำแบบ Flash ขนาด4Mb EEPROM ซึ่งสามารถอัปเกรดได้ด้วย ซอฟแวร์เหมือนการแฟลซไบออทั่วไป FWH มีวงจรสร้างตัวเลขแบบสุ่มที่เรียกว่า Random Number
Generater หรือ RNG ใช้สำหรับเข้าระหัสเพื่อรักษาความปลอดภัยข้อมูล ด้วยคุณสมบัติเช่นนี้จะทำให้
โปรแกรมเมอร์สามารถพัฒนาการเข้ารหัสข้อมูลสำหรับนำไปพิสูจน์ ตัวบุคคลหรือการทำธุระกรรมทางอินเตอร์เน็ต หรือ E-commerce Intel ชิปเซ็ตใน ตระกูล8XX เช่น i810, i820, i840 และ i850 เป็นต้น


ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุดเกี่ยวกับ north bridge