ข้อใด ประกอบด้วย คำหรือพยางค์ที่ ขึ้น ต้น ด้วย เสียงพยัญชนะ ต้นเดี่ยวทั้งหมด

ข้อใด ประกอบด้วย คำหรือพยางค์ที่ ขึ้น ต้น ด้วย เสียงพยัญชนะ ต้นเดี่ยวทั้งหมด

      พยางค์ คือ เสียงที่เปล่งออกมา ๑ ครั้ง จะมีความหมาย หรือไม่มีความหมายก็ได้ พยางค์ เกิด จากการเปล่งเสียงพยัญชนะเสียงสระและเสียงวรรณยุกต์ตามกันออกมาอย่างกระชั้นชิด จนฟังดูเหมือนกับ เปล่งเสียงออกมาในครั้งเดียวกัน ซึ่งเรียกว่า การประสมเสียงในภาษา เสียงที่เกิดจากการประสมเสียง จึง เรียกว่า พยางค์
          พระยาอุปกิตศิลปสาร (๒๕๓๓ : ๑๘) กล่าวว่า "ถ้อยค าที่เราใช้พูดกันนั้น บางทีก็เปล่งเสียงออก ครั้งเดียว บางทีก็หลายครั้ง เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ นั้น ท่านเรียกว่า "พยางค์" คือ ส่วนของค าพูด"
          กาญจนา นาคสกุล(๒๕๒๐ : ๑๐๔) กล่าวว่า "พยางค์จึงหมายถึง จ านวนเสียงที่ดังเด่น ซึ่งปรากฏ ในกลุ่มเสียงที่เรียงเป็นค าพูดเสียงอื่น ๆ ที่อยู่ข้างเคียงก็จะประกอบเข้าเป็นส่วนของพยางค์… โดยปกติเสียง สระเป็นเสียงที่มีลักษณะประจ าตัว เป็นเสียงก้องที่ดังกว่าเสียงอื่น ฉะนั้นเสียงสระจึงมักจะเป็นเสียงท าให้ เกิดพยางค์"
          จากค าอธิบายความหมายของพยางค์ดังกล่าว สรุปได้ว่าพยางค์คือ เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ ซึ่งมีเสียงสระเป็นเสียงที่ดังเด่น ๑ เสียง และเสียงที่อยู่ข้างเคียงอย่างน้อย ๒ เสียง ได้แก่ เสียงพยัญชนะและ เสียงวรรณยุกต์พยางค์อาจจะเป็นค าก็ได้ถ้าพยางค์นั้นมีความหมายดังตัวอย่างต่อไปนี้
          นา มี ๑ พยางค์ ๑ ค า
          นาที มี ๒ พยางค์ ๑ ค า
          นาฬิกา มี ๓ พยางค์ ๑ ค า ฯลฯ
องค์ประกอบของพยางค์
          พยางค์ในภาษาไทยมีองค์ประกอบส าคัญอย่างน้อย ๓ ส่วน คือ เสียงพยัญชนะต้น + เสียงสระ + เสียงวรรณยุกต์
          ๑. เสียงพยัญชนะต้น ได้แก่ เสียงพยัญชนะที่เปล่งออกมาก่อนเสียงอื่น พยัญชนะต้นอาจเป็น พยัญชนะต้นเดี่ยว หรือพยัญชนะต้นควบ เช่น ปาดกับ ปราด ตัวอักษรที่พิมพ์ตัวหนาเป็นพยัญชนะต้นเดี่ยว และต้นควบตามล าดับ
          ๒. เสียงสระ ได้แก่ เสียงที่ออกตามเสียงพยัญชนะอย่างรวดเร็ว ท าให้พยัญชนะต้นออกเสียงได้ ชัดเจน เสียงสระอาจเป็นสระเดี่ยวเสียงสั้น สระเดี่ยวเสียงยาว หรือสระประสมเสียงใดเสียงหนึ่ง
          ๓. เสียงวรรณยุกต์ได้แก่ เสียงสูงต่ าที่เปล่งออกมาพร้อม ๆ กับเสียงสระ นอกจากนี้พยางค์บางพยางค์อาจมีองค์ประกอบเพิ่มขึ้นอีก ๑ ส่วน คือ เสียงพยัญชนะสะกดหรือ
เสียงพยัญชนะท้ายพยางค์
           พยัญชนะสะกดในภาษาไทยมี๘ เสียง ได้แก่ เสียงพยัญชนะในแม่ กก กด กบ กง กน กม เกย เกอว ดังได้อธิบายแล้วในใบความรู้ เรื่องพยัญชนะ
โครงสร้างพยางค์
        พยางค์ มีส่วนประกอบอย่างน้อย ๓ ส่วน คือ พยัญชนะต้น สระ และวรรณยุกต์ (จะมีรูป หรือไม่มีรูปก็ได้) พระยาอุปกิตศิลปสาร (๒๕๓๓ : ๑๘ - ๑๙) ได้กล่าวถึง แบบสร้างของพยางค์ว่าเกิดจาก การประสมอักษรมี๔ แบบ สรุปได้ดังนี้
        ๑. การประสมอักษร ๓ ส่วน ได้แก่ พยางค์ที่เกิดจากการประสมของ พยัญชนะต้น + สระ + วรรณยุกต์เช่น มีนา ห้าไร่ เป็นต้น
        ๒. การประสมอักษร ๔ ส่วนปกติได้แก่ พยางค์ที่เกิดจากการประสมของพยัญชนะต้น + สระ + พยัญชนะตัวสะกด+ วรรณยุกต์เช่น มาดร้าย พลายงาม เป็นต้น
        ๓. การประสมอักษร ๔ ส่วนพิเศษ ได้แก่ พยางค์ที่เกิดจากการประสมของ พยัญชนะต้น + สระ+ วรรณยุกต์+ การันต์เช่น เล่ห์สีห์ เบียร์โพธิ์เป็นต้น
        ๔. การประสมอักษร ๕ ส่วน ได้แก่ พยางค์ที่เกิดจากการประสมของ พยัญชนะต้น + สระ + พยัญชนะตัวสะกด+ วรรณยุกต์+ การันต์เช่น ลักษณ์ขันธ์สังข์จันทร์เป็นต้น
ข้อสังเกต
          พยางค์ที่ประสมด้วยสระ อ า ใอ ไอ เอา เช่น ในค าว่า ท า ไม ไจ เบา เป็นต้น พยางค์ เหล่านี้ถ้าก าหนดตามรูปสระแล้วจะเป็นวิธีประสมอักษร ๓ ส่วน จัดไว้ในแม่ ก กา แต่ถ้าพิจารณาตาม เสียงอักษรประสมแล้ว น่าจะอยู่ในวิธีประสม ๔ ส่วน เพราะมีเสียงพยัญชนะ ม ยและ ว เป็นเสียงสะกด หรือเสียงพยัญชนะท้าย
พยางค์เปิด
          พยางค์เปิด คือ พยางค์ที่ประกอบด้วยเสียงพยัญชนะต้น เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ เช่น แก ขา กลัว ดู โต
พยางค์ปิด
          พยางค์ปิด คือ พยางค์ที่ประกอบด้วยเสียงพยัญชนะต้น เสียงสระ เสียงววรรยุกต์ และสียงพยัญชนะ สะกด เช่น เด็ก ท า ของ แตก ไป แล้ว
          อาจสรุปเป็นข้อสังเกตได้ว่า พยางค์เปิด ก็คือ พยางค์ที่ไม่มีตัวสะกด หรือไม่มีเสียงพยัญชนะท้าย ส่วน พยางค์ปิด คือพยางค์ที่มีตัวสะกด หรือมีเสียงพยัญชนะท้าย นั่นเอง

ข้อใด ประกอบด้วย คำหรือพยางค์ที่ ขึ้น ต้น ด้วย เสียงพยัญชนะ ต้นเดี่ยวทั้งหมด

        http://www.mwit.ac.th/~saktong/learn๓/๒๙.pdf

ข้อใด ประกอบด้วย คำหรือพยางค์ที่ ขึ้น ต้น ด้วย เสียงพยัญชนะ ต้นเดี่ยวทั้งหมด

โพสต์11 เม.ย. 2560 19:48โดยพรหมพชร เกตดี   [ อัปเดต 11 เม.ย. 2560 20:10 ]

ข้อใด ประกอบด้วย คำหรือพยางค์ที่ ขึ้น ต้น ด้วย เสียงพยัญชนะ ต้นเดี่ยวทั้งหมด

ลักษณะและหน้าที่ของเสียงแปร 

หรือเสียงพยัญชนะ                                                    

๑.  เป็นเสียงที่เกิดจากลม  บริเวณเส้นเสียง  ผ่านมาทางช่องระหว่างเส้นเสียง  แล้วกระทบอวัยวะต่างๆ ในช่องปาก  ที่เรียกว่าฐานกรณ์  เช่น  ริมฝีปาก  ริมฝีปากกับฟัน  ฟันกับปุ่มเหงือก

๒.  พยัญชนะไม่สามารถออกเสียงตามลำพังได้  ต้องอาศัยเสียงสระช่วย  จึงจะสามารถออกเสียงได้  เช่น  ใช้  สระออ  ออกเสียง  กอ  ขอ  คอ  งอ

๓.  เสียงพยัญชนะสามารถปรากฏที่ต้นคำ  โดยนำหน้าเสียงสระ  เรียกว่า  พยัญชนะต้น  และปรากฏหลังคำ  โดยอยู่หลังเสียงสระ  เรียกว่าพยัญชนะสะกด
เสียงพยัญชนะต้น

พยัญชนะต้นเดี่ยว ของไทยมี 21 เสียง คือ พยัญชนะไทย มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง   ดังนี้
เสียง รูป
๑.         ………………………………………………                          
๒.         ……………………………………………..
๓.         .................................................................
๔.         .................................................................
๕.         .................................................................
๖.          ................................................................
๗.         .................................................................
๘.         .................................................................
๙.          ……………………………………………...
๑๐.        .................................................................
๑๑.        .................................................................
๑๒.        .................................................................
๑๓.        .................................................................
๑๔.        .................................................................
๑๕.        ..................................................................
๑๖.        ..................................................................
๑๗.        ...................................................................
๑๘.        .................................................................
๑๙.        .................................................................
๒๐.        ………………………………………………
๒๑.       ………………………………………………

พยัญชนะต้นแบ่งออกเป็น    ชนิด  คือ

๑.  พยัญชนะเดี่ยวมี  ๔๔  รูป  แบ่งตามฐานกำเนิดเสียง  ดังนี้

     เกิดฐานคอ      ข ฃ    ค ฅ ฆ           ห อ ฮ

     เกิดฐานเพดาน               ช ซ ฌ            

     เกิดฐานปุ่มเหงือก    ด ต              ท ธ            ล ส

     เกิดฐานริมฝีปาก     บ ป      ผ ฝ      พ ฟ ภ           

๒.  พยัญชนะประสม  คือพยัญชนะ    ตัวที่ประสมกับสระตัวเดียวกันแบ่งออกเป็น ๒  พวก  คือ

    ๒.๑  อักษรควบ  คือพยัญชนะซึ่งควบกับ  ร ล ว และประสมสระเดียวกันแบ่งเป็น    ชนิด  คือ 

   ๒.๑.๑  อักษรควบแท้  คือ  อักษรควบซึ่งออกเสียงพยัญชนะตัวหน้ากับพยัญชนะตัวหลัง  ควบ

กล้ำพร้อมกันสนิทจนเกืบเป็นสียงเดียวกัน  มีทั้งสิ้น  ๑๕  รูป  ได้แก่  กร  กล  กว  คร  ขร  คล  ขล  คว  ขว  ตร  ปร  ปล  พร  พล  ผล 

          หมายเหตุ ทร  ที่ใช้เป็นตัวควบ  ในภาษาไทยแท้  จะเป็นอักษรควบไม่แท้  ส่วนคำที่ออกเสียงควบแท้มักมาจากภาษาสันสกฤต  เช่น  อินทรา  จันทรา 

    อนึ่ง  ตัวอักษรควบแท้ที่ไทยไม่มีใช้  แต่ได้รับอิทธิพลมาจากภาษาอังกฤษ  และนำมาใช้มี  ๖ เสียง คือ    

      บร  เช่น  เบรก   บรั่นดี   บรอนซ์

      บล  เช่น  เบลม  บลู  บล็อก

      ดร  เช่น  ดรัมเมเยอร์  ดรีม  ดราฟต์

      ฟร  เช่น  ฟรายด์  ฟรี  ฟรักโทส

      ฟล  เช่น  ฟลูออรีน  แฟลต  ฟลุก  ฟลุต 

      ทร  เช่น  แทร็กเตอร์  ทรัมเป็ต

๒.๑.๒  อักษรควบไม่แท้  คือ  อักษร  2  ตัวที่ควบกล้ำกันได้แก่ตัว    แต่ออกเสียงเฉพะตัวหน้าแต่ไม่ออกเสียง ร   หรือบางตัวออกเสียงเปลี่ยนไปเป็นพยัญชนะอื่น  เช่น  เศร้า  ทราย  จริง  ไซร้  ปราศรัย  สร้อย  เสร็จ  เสริม  ทรง  สร้าง   สระ

๒.๒  อักษรนำ คือ  พยัญชนะ    ตัวประสมเดียวกันเช่นเดียวกับอักษรควบกล้ำ  แต่ต่างกัน  ตรงที่วิธีการออกเสียง  อักษรนำมีวิธีการออกเสียงดังนี้

            ๒.๒.๑  ไม่ออกเสียงตัวนำ  ออกเสียงกลืนกับเสียงตัวนำ   ได้แก่ 

                         นำ    มีอยู่    คำ คือ  อย่า  อยู่  อย่าง  อยาก

                         นำ  อักษรต่ำเดี่ยว  ได้แก่                  จะออกเสียงเพียงพยางค์เดียวสูงตามเสียง ห  เช่น  หงาย  หงอน  หญ้า  ใหญ่    หน้า  หนู  หมา  หย่า  แหย่  หรูหรา  หรอก  ไหล  หลาน  หวาน  แหวน

           ๒.๒.๒  ออกเสียงตัวนำ  ได้แก่

                     ก.  อักษรสูงนำอักษรต่ำเดี่ยว  จะออกเสียงพยางค์ต้นเป็น  สระอะ  ครึ่งเสียง  ออกเสียงพยางค์หลังตามที่ประสมอยู่  ออกเสียงวรรณยุกต์ผันตามตัวหน้า  เช่น  ขนม  ขนง  เขนย  ขนำ  สมอง  สมาน  สนอง  สยาย  ขยับ  ขยัน  ฝรั่ง   ถลอก  เถลิง  ผวา  ผยอง  ถนน  สนน  สนิท

                       *  ยกเว้น  ขมา  ขโมย  ขมำ  สมา  สมาคม   สมิทธิ  สโมสร  สลัม ไม่ออกเสียงตามตัวนำ

                     ข.  อักษรกลางนำอักษรต่ำเดี่ยว  ออกเสียงเช่นเดียวกับข้อ    เช่น  ตนุ  โตนด  จมูก  ตลาด  ตลก  ตลอด  จรวด  ปรอท  

                     ค.  อักษรสูงนำอักษรต่ำคู่  หรืออักษรกลาง  ออกเสียงตามข้อ    แต่ไม่ต้องผันวรรณยุกต์ตามอักษรนำ  เช่น  ไผท  ผดุง  เผด็จ  ผกา  เถกิง  ผกา  เผอิญ   เผชิญ  เผชิญ

ข้อสังเกต

         .  เสียง /ร/ ไม่เหมือน เสียง เสียง /ล/

         .  ๑ เสียง มีหลายรูป ได้แก่

                เสียง /ค/ แทน ข ฃ ค ฅ ฆ

                เสียง /ช/ แทน ช ฉ

                เสียง /ซ/ แทน ซ ส ศ ษ

                เสียง /ด/ แทน ด ฎ

                เสียง /ต/ แทน ต ฏ

                เสียง /ท/ แทน ท ธ

                เสียง /น/ แทน น ณ

                เสียง /พ/ แทน พ ภ

                เสียง /ฟ/ แทน ฝ ฟ

                เสียง /ย/ แทน ย ญ

                เสียง /ฮ/ แทน ห ฮ

        ๓.  เสียง/ฤ/ ออกเสียง/ร/

        .   ฑ ออกเสียงได้ 2 เสียง คือ /ด/ /ท/
เสียงพยัญชนะท้ายพยางค์

ภาษาไทยมีตัวสะกด 9 มาตรา คือ กก กด กบ กม กน เกย เกอว ก. กา

เมื่อเขียนเสียงแทนแม่ตัวสะกดแต่ละมาตรา จะได้

              กก = /ก/                     กม = /ม/                       เกย = /ย/                      กบ = /บ/

              กด = /ด/                     กน = /น/                       กง = /ง/                        เกอว = /ว/

 ข้อสังเกต   อำ ไอ เอา มีเสียงตัวสะกดด้วย