ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

รายชื่อประเทศตามระบอบการปกครอง รวบรวมและแบ่งแยกประเทศตามระบอบการดำเนินงานของรัฐบาล โดยประเทศนั้นหมายถึงรัฐปกครองตนเองที่มีเอกราชเป็นของตนเอง และมีรัฐบาลปกครองประชากรจำนวนหนึ่งซึ่งอาศัยอยู่ในประเทศ

แผนที่[แก้]

ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้

คำอธิบายสัญลักษณ์
  • สีส้ม – สาธารณรัฐแบบรัฐสภาซึ่งมีประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐในเชิงพิธีการ ส่วนคณะรัฐมนตรี ขึ้นอยู่กับความไว้วางใจของรัฐสภา
  • สีเขียว – สาธารณรัฐที่ประธานาธิบดีผู้ใช้อำนาจบริหารมาจากการเสนอชื่อหรือเลือกตั้งของสภานิติบัญญัติ ประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล โดยคณะรัฐมนตรี และประธานาธิบดีอาจขึ้นอยู่กับความไว้วางใจของรัฐสภาหรือไม่ก็ได้
  • สีเหลือง – สาธารณรัฐแบบกึ่งประธานาธิบดี: ประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐซึ่งมีอำนาจบริหารส่วนหนึ่ง และไม่ขึ้นกับฝ่ายนิติบัญญัติ ส่วนอำนาจบริหารที่เหลืออยู่กับคณะรัฐมนตรี โดยขึ้นอยู่กับความไว้วางใจของรัฐสภา
  • สีน้ำเงิน – สาธารณรัฐแบบประธานาธิบดี: ประธานาธิบดีเป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล และไม่ขึ้นกับฝ่ายนิติบัญญัติ
  • สีแดง – ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญแบบรัฐสภา ซึ่งพระมหากษัตริย์ไม่ทรงใช้อำนาจด้วยพระองค์เอง ส่วนคณะรัฐมนตรีขึ้นอยู่กับความไว้วางใจของรัฐสภา
  • สีม่วงแดง – ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงใช้อำนาจด้วยพระองค์เอง มักร่วมกับรัฐสภาแบบอ่อน
  • สีม่วง – สมบูรณาญาสิทธิราช พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยแต่พระองค์เดียว
  • สีน้ำตาล – รัฐพรรคการเมืองเดียว ประมุขแห่งรัฐอาจมีอำนาจบริหารหรือเป็นประมุขในเชิงพิธีการก็ได้ ส่วนอำนาจตามรัฐธรรมนูญถุกเชื่อมโยงกับขบวนการการเมืองเดียว
  • สีเขียวเข้ม – ประเทศที่บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญเกี่ยวกับรัฐบาลถูกระงับ (เช่น เผด็จการทหาร)
  • สีเทาเข้ม – ระบอบปัจจุบันยังไม่มีนิยามไว้ในรัฐธรรมนูญ (เช่น เป็นรัฐบาลเปลี่ยนผ่าน)
  • สีเทา – เขตพึ่งพาที่ไม่มีรัฐบาล

หมายเหตุว่าแผนภาพนี้มุ่งแสดงระบอบการปกครองโดยนิตินัย ไม่ได้แสดงระดับประชาธิปไตยโดยพฤตินัย หลายรัฐซึ่งรัฐธรรมนูญบัญญัติว่าเป็นสาธารณรัฐหลายพรรคการเมืองอาจยังอธิบายอย่างกว้าง ๆ เป็นรัฐอำนาจนิยมก็ได้

ระบบวิธีการปกครอง[แก้]

ระบบรัฐสภาและที่เกี่ยวข้อง[แก้]

ประมุขแห่งรัฐมาจากการเลือกตั้งโดยตรง[แก้]

ประมุขแห่งรัฐมาจากการเลือกตั้งโดยอ้อม[แก้]

สาธารณรัฐระบบรัฐสภาโดยมีประธานาธิบดีที่มีอำนาจบริหาร[แก้]

ประธานาธิบดีที่มีอำนาจบริหารเป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ประธานาธิบดีมาจากการเสนอชื่อหรือเลือกตั้งของสภานิติบัญญัติ และต้องได้รับความไว้วางใจของรัฐสภาในการดำรงตำแหน่ง

ระบบรัฐสภาที่เป็นอิสระจากสภานิติบัญญัติ[แก้]

ประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาลเป็นคนเดียวกัน มาจากการเลือกตั้งของสภานิติบัญญัติ แต่ไม่สามารถพ้นจากตำแหน่งจากมติไม่ไว้วางใจ ซึ่งต่างจากนายกรัฐมนตรี

ระบบคณะผู้อำนวยการ[แก้]

คณะผู้อำนวยการ (directory) เป็นประมุขแห่งรัฐและหัวหน้ารัฐบาล ซึ่งมาจากการเลือกตั้งของรัฐสภา แต่ไม่สามารถพ้นจากตำแหน่งจากมติไม่ไว้วางใจ

ระบบประธานาธิบดี[แก้]

สาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีโดยไม่มีนายกรัฐมนตรี[แก้]

ในการปกครองระบอบประชาธิไตยแบบนี้ ฝ่ายนิติบัญญัติ (รัฐสภา) ฝ่ายบริหาร (ประธานาธิบดี) และฝ่ายตุลาการ (ศาล) แยกอำนาจออกจากกัน

สาธารณรัฐแบบประธานาธิบดีโดยมีนายกรัฐมนตรี[แก้]

ระบบกึ่งประธานาธิบดี[แก้]

ระบอบกึ่งประธานาธิบดีมีทั้งประธานาธิบดีและนายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดีมีอำนาจบริหารและเป็นประมุขของประเทศ รวมทั้งสามารถแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีได้

ระบบประธานาธิบดี-รัฐสภา[แก้]

ประธานาธิบดีเลือกนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีโดยไม่ต้องได้รับมติไว้วางใจจากรัฐสภา แต่ต้องมีเสียงข้างมากในสภา ประธานาธิบดีและรัฐสภา (ผ่านมติไม่ไว้วางใจ) มีอำนาจปลดคณะรัฐมนตรีได้ทั้งคู่

ระบบนายกรัฐมนตรี-ประธานาธิบดี[แก้]

ประธานาธิบดีเลือกนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี รัฐสภาสามารถถอดถอนคณะรัฐมนตรีจากมติไม่ไว้วางใจ ส่วนประธานาธิบดีไม่มีสิทธิปลดคณะรัฐมนตรี

สมบูรณาญาสิทธิราชย์[แก้]

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยโดยไม่มีกฎหมายจำกัดพระราชอำนาจ

สมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบโบราณ[แก้]

สมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบโบราณแต่มีสภานิติบัญญัติจากการเลือกตั้ง[แก้]

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ[แก้]

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ประมุขไม่มีอำนาจบริหาร[แก้]

ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญที่ประมุขมีอำนาจบริหาร[แก้]

รัฐพรรคการเมืองเดียว[แก้]

เผด็จการทหาร[แก้]

กองทัพเข้าควบคุมองค์การของรัฐบาล และข้าราชการการเมืองระดับสูงเป็นสมาชิกของกองทัพด้วย

กำลังเปลี่ยนผ่าน[แก้]

ประเทศเหล่านี้กำลังอยู่ระหว่างการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครอง และยังไม่สามารถถูกจำแนกอย่างชัดเจนได้

ระบบวิธีการปกครองภายใน[แก้]

รัฐเดี่ยว[แก้]

เป็นรัฐที่มีรัฐบาลกลางเพียงแห่งเดียว ส่วนท้องถิ่นมีอำนาจตามแต่ที่รัฐบาลกลางจัดสรรมาให้เท่านั้น

รัฐเดี่ยวที่รวบอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลาง[แก้]

อำนาจอธิปไตยส่วนใหญ่อยู่กับรัฐบาลกลาง ส่วนท้องถิ่นมีอำนาจน้อยมาก มี 163 ประเทศใช้ระบบนี้

รัฐเดี่ยวที่กระจายอำนาจสู่ภูมิภาค[แก้]

  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    โบลิเวีย
    (9 regions, of which 9 are autonomous)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    จีน
    (22 provinces, 5 autonomous regions, 4 province-level municipalities, 2 special administrative regions, and 1 claimed province)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    ไต้หวัน
    (2 provinces, 6 special municipalities, 33 claimed provinces, 3 claimed special administrative regions, 2 claimed areas, 12 claimed special municipalities, 14 claimed leagues, and 4 claimed special banners)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    ฝรั่งเศส
    (18 regions, of which 6 are autonomous)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    อินโดนีเซีย
    (34 provinces, of which 5 provinces have special status)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    อิตาลี
    (20 regions, of which 5 are autonomous)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    เนเธอร์แลนด์
    (4 constituent countries)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    ฟิลิปปินส์
    (one autonomous region subdivided into 5 provinces and 113 other provinces and independent cities grouped into 17 other non-autonomous regions)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    โปรตุเกส
    (2 autonomous regions)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    สเปน
    (17 autonomous communities, 15 communities of common-regime, 1 community of chartered regime, 3 chartered provinces, 2 autonomous cities)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    แทนซาเนีย
    (21 mainland regions and
    ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    แซนซิบาร์
    )
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    ยูเครน
    (24 oblasts, 2 cities with special status, and
    ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    ไครเมีย
    )
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    สหราชอาณาจักร
    (4 constituent countries, of which 3 have devolved administrations)

สหพันธรัฐ[แก้]

ดูบทความหลักที่: สหพันธรัฐ

รัฐซึ่งรัฐบาลกลางแบ่งอำนาจให้กับรัฐบาลท้องถิ่นโดยมีภาวะเสมอกันตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย

  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    อาร์เจนตินา
    (23 provinces and one autonomous city: Buenos Aires)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    ออสเตรเลีย
    (six states and ten territories)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    ออสเตรีย
    (nine states)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    เบลเยียม
    (three regions and three linguistic communities)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา
    (two entities and one district)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    บราซิล
    (26 states and the Federal District)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    แคนาดา
    (ten provinces and three territories)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    คอโมโรส
    (Anjouan, Grande Comore, Mohéli)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    เอธิโอเปีย
    (10 regions and 2 chartered cities)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    เยอรมนี
    (16 states)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    อินเดีย
    (28 states and 8 union territories)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    อิรัก
    (18 governorates and one region: Kurdistan)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    มาเลเซีย
    (13 states and three federal territories)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    เม็กซิโก
    (31 states and one federal district: Mexico City)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    ไมโครนีเชีย
    (Chuuk, Kosrae, Pohnpei and Yap)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    เนปาล
    (seven provinces)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    ไนจีเรีย
    (36 states and one federal territory: Federal Capital Territory)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    ปากีสถาน
    (4 provinces, 2 autonomous territories and 1 federal territory)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    รัสเซีย
    (46 oblasts, 22 republics, nine krais, four autonomous okrugs, three federal cities, one autonomous oblast)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    เซนต์คิตส์และเนวิส
    (Saint Kitts, Nevis)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    โซมาเลีย
    (six federal member states)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    ซูดานใต้
    (ten states)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    ซูดาน
    (17 states)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    สวิตเซอร์แลนด์
    (26 cantons)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
    (seven emirates)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    สหรัฐ
    (50 states, one incorporated territory, and one federal district: District of Columbia)
  • ระบบการปกครองแบบใดต่อไปนี้
     
    เวเนซุเอลา
    (23 states, one capital district and one federal dependency)

เชิงอรรถ[แก้]

  1. Collective presidency consisting of three members; one for each major ethnic group.
  2. Formerly a semi-presidential republic, it is now a parliamentary republic according to David Arter, First Chair of Politics at Aberdeen University, who in his "Scandinavian Politics Today,"[5] he quotes[6] as follows: "There are hardly any grounds for the epithet 'semi-presidential'." Arter's own conclusions are only slightly more nuanced: "The adoption of a new constitution on 1 March 2000 meant that Finland was no longer a case of semi-presidential government other than in the minimalist sense of a situation where a popularly elected fixed-term president exists alongside a prime minister and cabinet who are responsible to parliament (Elgie 2004: 317)". According to the Finnish Constitution, the President has no possibility to rule the government without the ministerial approval, and substantially has not the power to disband the parliament under its own desire. Finland is actually represented by its Prime Minister, and not by its President, in the Council of the Heads of State and Government of the European Union. The 2012 constitutional amendments reduced the powers of the President even further.
  3. The president is elected by parliament and holds a parliamentary seat, much like a prime minister, but is immune from a vote of no confidence (but not their cabinet), unlike a prime minister. Although, if a vote of no confidence is successful and they do not resign, it triggers the dissolution of the legislature and new elections (per section 92 of the Constitution).
  4. Holds a parliamentary seat.
  5. Their two-person head of state and head of government, the Captains Regent, serve for six month terms, although they are not subject to parliamentary confidence during that time.
  6. The President of Switzerland serves in a primus inter pares capacity amongst the Swiss Federal Council, the seven-member executive council which constitutes both the presidency and the government.
  7. The Vatican is an elective absolute monarchy and a Roman Catholic theocracy; its monarch, the Pope, is the head of the global Roman Catholic Church. His power within the Vatican City State is unlimited by any constitution; however, as all its citizens and its residents are ordained Catholic clergy, members of the Swiss Guard, or their immediate family, they arguably have consented to obey the Pope or are minors. (Citizenship is jus officii, on the grounds of appointment to work in a certain capacity in the service of the Holy See and usually ceases upon cessation of the appointment. Citizenship is also extended to the spouse and children of a citizen, provided they are living together in the city; in practice, these are few in number, since the bulk of Vatican citizens are celibate Catholic clerics or religious. Some individuals are also authorized to reside in the city but do not qualify or choose not to request citizenship.)[24]
  8. The Bishop of Urgell and President of France serve as ex officio co-princes who have their interests known through a representative.
  9. ↑ 9.00 9.01 9.02 9.03 9.04 9.05 9.06 9.07 9.08 9.09 9.10 9.11 9.12 9.13 9.14 9.15 9.16 One of sixteen constitutional monarchies which recognize Elizabeth II as head of state, who presides over an independent government. She is titled separately in each country (e.g. Queen of Australia), and notionally appoints a Governor-General (GG) to each country other than the United Kingdom to act as her representative. The prime minister (PM) is the active head of the executive branch of government and also leader of the legislature. These countries may be known as "Commonwealth realms".
    In many cases, the Governor-General or monarch has a lot more theoretical, or constitutional, powers than they actually exercise, except on the advice of elected officials, per constitutional convention. For example, the Constitution of Australia makes the GG the head of the executive branch (including commander-in-chief of the armed forces), although they seldom ever use this power, except on the advice of elected officials, especially the PM, which makes the PM the de facto head of government.
  10. ↑ 10.0 10.1 10.2 The Cook Islands and Niue are under the sovereignty of the Monarch of New Zealand as self-governing states in free association with New Zealand. New Zealand and its associated states, along with Tokelau and the Ross Dependency, comprise the Realm of New Zealand.

อ้างอิง[แก้]

  1. "Austria's Constitution of 1920, Reinstated in 1945, with Amendments through 2009" (PDF). www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  2. "Bulgaria's Constitution of 1991 with Amendments through 2015" (PDF). www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  3. "Croatia's Constitution of 1991 with Amendments through 2010" (PDF). www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  4. "Czech Republic 1993 (rev. 2013)". www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  5. Manchester University Press, revised 2008 ISBN 9780719078538).
  6. Nousiainen, Jaakko (June 2001). "From semi-presidentialism to parliamentary government: political and constitutional developments in Finland". Scandinavian Political Studies. 24 (2): 95–109. doi:10.1111/1467-9477.00048.
  7. "Iceland's Constitution of 1944 with Amendments through 2013" (PDF). www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  8. "Ireland's Constitution of 1937 with Amendments through 2012" (PDF). www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  9. "Kyrgyzstan 2010 (rev. 2016)". www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  10. "Moldova (Republic of) 1994 (rev. 2016)". www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  11. "Montenegro 2007". www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  12. "Serbia 2006". www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  13. "Singapore 1963 (rev. 2016)". www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  14. "Slovakia 1992 (rev. 2017)". www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  15. "Slovenia 1991 (rev. 2013)". www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  16. "Kiribati's Constitution of 1979 with Amendments through 1995" (PDF). www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  17. "Marshall Islands 1979 (rev. 1995)". www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 15 January 2020.
  18. "Nauru 1968 (rev. 2015)". www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 15 January 2020.
  19. "South Africa's Constitution of 1996 with Amendments through 2012" (PDF). www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 12 January 2020.
  20. "Micronesia (Federated States of)'s Constitution of 1978 with Amendments through 1990" (PDF). www.constituteproject.org. สืบค้นเมื่อ 11 January 2020.
  21. "Scheda paese Repubblica di San Marino" (PDF) (ภาษาอิตาลี). Segreteria di Stato Affari esteri. July 2012. p. 5. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2021-02-18. สืบค้นเมื่อ 2021-03-24.
  22. Iran combines the forms of a presidential republic, with a president elected by universal suffrage, and a theocracy, with a Supreme Leader who is ultimately responsible for state policy, chosen by the elected Assembly of Experts. Candidates for both the Assembly of Experts and the presidency are vetted by the appointed Guardian Council.
  23. "Nazarbaev Signs Kazakh Constitutional Amendments Into Law". Radio Free Europe/Radio Liberty. 10 March 2017. สืบค้นเมื่อ 10 March 2017. For more information: please see Abdurasulov, Abdujalil (6 March 2017). "Kazakhstan constitution: Will changes bring democracy?". BBC News. สืบค้นเมื่อ 7 March 2017.
  24. "Law on citizenship, residence and access เก็บถาวร 2020-06-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน" (in Italian). Vatican City State. 11 February 2011.
  25. Tofa, Moses (16 May 2013). "Swaziland: Wither absolute monarchism?". Pambazuka News. No. 630. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 October 2014. สืบค้นเมื่อ 19 October 2014.
  26. "Swaziland: Africa′s last absolute monarchy". Deutsche Welle. 14 July 2014. สืบค้นเมื่อ 19 October 2014.
  27. "Q&A: Elections to Oman's Consultative Council". BBC News.
  28. Stewart, Dona J. (2013). The Middle East Today: Political, Geographical and Cultural Perspectives. London and New York: Routledge. p. 155. ISBN 978-0415782432.
  29. Day, Alan John (1996). Political Parties of The World. Stockton. p. 599. ISBN 1561591440.
  30. "Afghan vice president says he is "caretaker" president". reuters.com. 17 August 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 August 2021. สืบค้นเมื่อ 26 August 2021.
  31. "Panjshir flies flag of resistance again; Amrullah says he is President of Afghanistan". Tribune India. August 17, 2021. สืบค้นเมื่อ August 17, 2021.
  32. Robertson, Nic; Kohzad, Nilly; Lister, Tim; Regan, Helen (September 6, 2021). "Taliban claims victory in Panjshir, but resistance forces say they still control strategic position in the valley". CNN. สืบค้นเมื่อ September 6, 2021.

ดูเพิ่ม[แก้]

  • รายชื่อประเทศ

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • http://worldatlas.com/geoquiz/thelist.htm
  • http://www.internetworldstats.com/list2.htm