ข้อ ใด ไม่ใช่ ปัจจัย สำคัญที่ทำให้ ดนตรี เกิด การเปลี่ยนแปลง

   Music Therapy หรือดนตรีบำบัด ที่ถูกนำมาใช้เพื่อรักษาผู้ป่วย หรือพัฒนาศักยภาพด้านร่างกาย จิตใจ ความคิด และทักษะทางสังคม ถือเป็นหนึ่งในกิจกรรมที่ช่วยให้คนที่ต้องการยกระดับคุณภาพจิตใจให้ดีขึ้น สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให้กับผู้ที่อยากเพิ่มพูนศักยภาพของตนเอง ซึ่งแตกต่างจากการรักษาโรค

ข้อ ใด ไม่ใช่ ปัจจัย สำคัญที่ทำให้ ดนตรี เกิด การเปลี่ยนแปลง

เพราะดนตรีบำบัดไม่สามารถรักษาคนป่วยให้หายจากโรคได้ เพียงแต่ดนตรีจะช่วยให้คนที่ได้ฟังหรือคนที่รับการบำบัดอยู่มีอารมณ์ร่วม เกิดสัมพันธภาพในการบำบัดที่ร่วมไปกับดนตรีที่ฟังอยู่
   หลายครั้งที่เรามักจะได้ยินว่าดนตรีเปรียบเสมือนภาษากลางที่ช่วยทำหน้าที่สื่อสารถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกของทุกคนไม่ว่าจะเป็นคนเล่นดนตรี คนแต่งเพลง คนร้อง หรือคนฟังทุกคนสามารถเชื่อมโยงกันได้หมดจากดนตรี
ทำความรู้จักการใช้ “ดนตรีบำบัด”
   ดนตรีบำบัดได้รับความนิยมมาเป็นระยะเวลานาน ในทางการแพทย์ดนตรีบำบัดถูกนำมาใช้เป็นระยะเวลานานแล้ว โดยมีความเชื่อกันว่าดนตรีจะช่วยให้คนฟังผ่อนคลายจากอาการเจ็บป่วย และจากความกังวล หรือลดความเครียด นอกจากนี้ ยังมีงานวิจัยที่ศึกษาในเรื่องของการฟังดนตรีบำบัดของผู้ป่วยก่อนที่จะเข้ารับการผ่าตัดว่าช่วยลดความเครียดและความกังวลได้ ฮอร์โมนที่เกี่ยวกับความเครียดลดลงมากกว่าการใช้ยาลดความเครียด การฟังดนตรียังช่วยลดภาวะซึมเศร้าได้อีกด้วย โดยช่วยปรับให้อารมณ์สงบขึ้นทำให้นอนหลับง่ายขึ้น เรียกได้ว่าดนตรีบำบัดเปรียบเหมือนยาที่มีผลกับจิตใจ ช่วยกระตุ้นสมอง ปรับระดับ Cortisol ฮอร์โมนที่เกี่ยวกับความเครียดให้คนฟังรู้สึกผ่อนคลายได้ ดนตรีที่ใช้บำบัดนั้นไม่ได้ถูกจำกัดว่าจะต้องเพลงบรรเลง หรือเสียงธรรมชาติเท่านั้น เพลงทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นคลาสสิค แร๊ป ลูกทุ่ง ฮิพฮอพ ฯลฯ ก็ช่วยให้ผ่อนคลายได้หมด ขึ้นอยู่กับความชอบใครฟังเพลงอะไรแล้วรู้สึกร่วมไปกับเพลงที่ฟังมากกว่า
วิธีง่ายๆ กับกิจกรรม ดนตรีคลายเครียด
   ปัจจุบันมีการใช้ดนตรีบําบัดโรคทางจิตเวช ยกตัวอย่างพฤติกรรมถดถอย แยกตัวที่เป็นอาการในลักษณะเรื้อรัง สามารถใช้ดนตรีบําบัดได้ ดังนี้
• เปิดเพลงจังหวะเร้าใจ
• ขยับตัวเข้าจังหวะ
• ใช้ดนตรีแบบเคาะจังหวะ
• ใช้อุปกรณ์เกิดเสียงให้ผู้ป่วยได้เขย่า หรือฟังเพลง
• บอกถึงความรู้สึกที่ได้จากเพลง
• ทําตามนี้ครั้งละ 1-1.30 ชั่วโมง สัปดาห์ละ 2 ครั้ง
หากทําได้ตามนี้ ผู้ป่วยจะกลับเข้าสู่สังคมได้อย่างรวดเร็วในชั่วโมงที่ 2 ของการบําบัด ผู้ป่วยที่รู้สึกเหงา เศร้าจะยิ้มแย้มได้หลังจากไม่เคยยิ้มมานานอีกด้วย
ข้อ ใด ไม่ใช่ ปัจจัย สำคัญที่ทำให้ ดนตรี เกิด การเปลี่ยนแปลง

7 ประโยชน์จากดนตรีบำบัด
1. เพิ่มคุณภาพชีวิต
2. การจัดการความเครียด
3. การกระตุ้นความจำ
4. เพิ่มทักษะการสื่อสาร
5. บรรเทาอาการเจ็บปวด
6. การฟื้นฟูสมรรถภาพทางร่างกาย
7. ส่งเสริมทักษะการเข้าสังคม
ดนตรีแม้ไม่ป่วย...ก็ฟังได้
   คนที่ใช้ดนตรีบำบัดไม่จำเป็นว่าจะต้องป่วยอย่างเดียวเท่านั้น เพราะดนตรีบำบัดนอกจากจะช่วยผ่อนคลายความเครียดแล้ว ดนตรียังช่วยพัฒนา และผลักดันศักยภาพรวมถึงทักษะต่างๆ ให้ดีขึ้นเช่น การทำกายภาพบำบัดควบคู่กับการทำดนตรีบำบัด ดังนั้น คนที่มีอาการเครียดแต่ยังไม่ถึงกับมีอาการซึมเศร้าก็สามารถใช้ดนตรีบำบัดในการผ่อนคลายได้เช่นเดียวกัน แต่การใช้ดนตรีบำบัดก็แตกต่างกับการฟังดนตรีทั่วไป เพราะการบำบัดจำเป็นต้องให้คนฟังที่บำบัดเข้าถึง และมีสัมพันธภาพทางการบำบัด มีความสัมพันธ์กับเพลง เกิดความเชื่อใจ และมีเป้าหมายในการบำบัดชัดเจน
ข้อ ใด ไม่ใช่ ปัจจัย สำคัญที่ทำให้ ดนตรี เกิด การเปลี่ยนแปลง

   สุดท้ายแล้วการที่เราเลือกใช้ดนตรีบำบัดในการช่วยให้ผ่อนคลายความเครียดนั้นอาจจะไม่ได้อยู่ที่ว่าเราจะใช้ดนตรีอะไรในการบำบัด แต่อาจจะเป็นเราจะเลือกใช้ดนตรีอย่างไรในการบำบัดมากกว่า เพราะการบำบัดด้วยดนตรีอาจจะต้องดูความต้องการ หรือวัตถุประสงค์ด้วยว่าคนที่จะบำบัดเกิดความเครียดจากอะไร และเขามีความชื่นชอบเพลงประเภทไหน การฟังเพลงคลาสสิค หรือเพลงบรรเลงฟังสบายอาจไม่ใช่สิ่งที่เขาต้องการ หรือช่วยเยียวยาให้เขาดีขึ้น เราเพียงต้องเลือกให้เหมาะสมและค่อยๆ ปรับเพลงให้เหมาะกับการบำบัดผ่อนคลายความเครียด

ข้อ ใด ไม่ใช่ ปัจจัย สำคัญที่ทำให้ ดนตรี เกิด การเปลี่ยนแปลง

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

โรงพยาบาลเปาโล พหลโยธิน โทร.0-2271-7000 ต่อ Let's talk

(เบอร์ตรง Let's Talk) 0-2271-7244

              

        การสร้างสรรค์ดนตรีพิ้นบ้านเกิดขึ้นจากเหตุปัจจัยหลายอย่าง ซึ่งีความเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คนในชุมชนนั้นๆ จึงทำให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานด้านดนตรีขึ้น เพื่อสร้าความผ่อนคลาย ความเพิดเพลินใจ ปัจจัยที่มีผลต่ออิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ดนตรีพื้นบ้าน มีดังนี้

        1 ปัจจัยด้านสุทรียภาวะ

        ปัจจัยด้านสุนทรียภาวะ เป็นปัจจัยที่เกิดขึ้นในตัวผู้รังสรรคื เป็นความงดงามในสภาวะของศิปะดนตรีพื้นบ้าน กระบวนการนี้สามารถแบ่งออกเป็น 2 เป้าหมาย คือ

                     1) การสร้างสรรค์เพื่อเป้าหมายเฉพาะ เป็นการสร้างสรรค์ที่มุ่งกระทำการสิ่งใดสิ่งหนึ่งของบุคคล ชุมชนที่มีความเชื่อ ความศรัทธาทางศาสนา หรือค่านิยมการสร้างเครื่องดนตรีเพื่อใช้บรรเลงในพิธีกรรม การสร้างเครื่องดนตรีที่ใช้ตีสื่อสารกับสิ่งศักดิ์สิทธ์ให้อำนวยสิ่งดีงามให้แก่ชุมชน

                      2) การสร้างสรรค์เพื่อความงดงามในสุนทรียภาวะของผู้รังสรรค์ เป็นการสร้างสรรค์ผลงานที่เกิดขี้นภายในของผู้รังสรรค์  

              2 ปัจจัยด้านวิถีมนุษยสังคม

          ปัจจัยด้านมนุษยสังคม เป็นปัจจัยที่มีส่วนสำคัญทีส่งผลให้ผู้รังสรรค์ได้สร้างงานดนตรีขึ้นมา เพื่อตอบสนองความต้องการในกิจกรรมด้านต่างๆ นอกจากนี้ ยังปรากฏภาพลักษณ์ของปัจจัยย่อยๆ ในสาระดนตรีด้วย ดังนี้ 

                       1) สภาพแวดล้อม ที่มีอยู่รอบตัวของผู้รังสรรค์งนดนตรี เช่น ป่าเขาลำเนาไพร สัตว์ชนิดต่างๆ เป็นต้น

                       2) การประกอบอาชีพการประกอบอาชีพของคนในภูมิภาคท้องถิ่น เช่น การทำไร่ทำนา การทำสวน การประมง เป็นต้น

                        3) ประเพณีและเทศกาลในรอบปี  มีส่วนในการสร้างสรรค์งานดนตรีพื้นบ้านเนื่องจากเป็นกิจกรรมทางสังคมที่ผู้คนในชุมชน หรือผู้คนจากท้องถิ่นอื่นเข้าไปร่วมกิจกรรม

                        4) ภูมหลังทางประวัติศาสตร์  ถูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของชาติ และประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เป็นเรื่องราวที่มีการถ่ายทอดในเพลงพื้นบ้านทุกภูมิภาค โดยเฉพาะการบันทึกเรื่องราวเหล่านั้นในเพลงร้อง

              

ข้อ ใด ไม่ใช่ ปัจจัย สำคัญที่ทำให้ ดนตรี เกิด การเปลี่ยนแปลง