ข้อ ใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบ ของ ชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด

ชุดกรองลมดักน้ำ ชุดบริการลมอัด F.R.L Unit หรือ FRL Combination/ Preparation unit ใช้สำหรับปรับปรุงคุณภาพลม ที่ได้รับการลดฝุ่นและดักน้ำ ที่ออกมาจากปั๊มลม ซึ่งเต็มไปด้วยไอน้ำ และยังคงมีฝุ่นหลงเหลืออยู่ แม้จะผ่านการลดไอน้ำ และผ่านหม้อกรองลมหลัก (Main Filter) แล้วก็ตาม

  • อักษร F หรือ AF มาจากคำเต็มว่า Air Filter หรือตัวกรองลมดักน้ำ ตัวกรองที่ใช้ในท่อลมสาขาก่อนเข้าเครื่องจักร สามารถกรองฝุ่นขนาดเกิน 40, 0.3 หรือ 0.01ไมครอน ให้เลือกใช้พร้อมทั้งกรองไอน้ำออกได้ สำหรับ ฟิลเตอร์ขนาดใหญ่ที่ต่อหลังปั๊มลม จะมีตะแกรงกรองขนาด 50 ไมครอน
  • อักษร R หรือ AR มาจากคำเต็มว่า Air Regulator หรือ ตัวปรับแรงดันลม เครื่องปรับแรงดันลม อุปกรณ์ควบคุมความดันลม
  • อักษร L หรือ AL มาจากคำเต็มว่า Air Lubricator หรือ ตัวผสมน้ำมันหล่อลื่น เครื่องผสมน้ำมันล่อลื่น อุปกรณ์ผสมน้ำมันหล่อลื่น
  • ชุดกรองลมดักน้ำ 9 แบบ 3 ตัวเรียง เขียนสั้นๆว่า F.R.L
  • ชุดกรองลมดักน้ำ 9 แบบ 2 ตัวเรียงกัน เขียนสั้นๆว่า FR.L

รูปกรองลมดักน้ำ ปรับแรงดันผสมน้ำมัน (F.R.L) แบบ 3 ตัวเรียง

ข้อ ใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบ ของ ชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด

1. ตัวกรองลมดักน้ำ อุปกรณ์กรองลมดักน้ำ (Filter, Air Filter)

1.1 ตัวกรองลมดักน้ำในท่อเมน (Main Line Air Filter)

ข้อ ใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบ ของ ชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด
  • ตัวกรองลมดักน้ำทำหน้าที่กรองฝุ่นละออง ทำให้ลมอัดมีความสะอาดก่อนนำไปใช้งานโดยมีหลักการทำงานดังนี้
  • เมื่อลมอัดผ่านช่อง (P1) เข้าคลีบ บังคับลม มีผลทำให้ลมเกิดการหมุนวน น้ำซึ่งมีน้ำหนักมากกว่าลม จะถูกเหวี่ยงไปปะทะกับหลอดแก้ว ไหลลงสู่ด้านล่างดังรูป ลมที่ไหลผ่านช่อง (P2) จะเป็นลมที่มีความสะอาด
ข้อ ใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบ ของ ชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด
รูปไดอะแกรม (main-line-filter)
สัญลักษณ์
ข้อ ใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบ ของ ชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด

รูปตัวกรองลมดักน้ำสำหรับท่อแมนกรองได้ขนาด 40, 5 ไมครอน AirTAC

ข้อ ใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบ ของ ชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด

1.2 ตัวกรองลม อุปกรณ์ลมในท่อสาขาหรือที่เครื่องจักร (Branch Line Filter, Air Filter) ทำหน้าที่กรองฝุ่นและดักไอน้ำ โดยมีตระแกรงกรองขนาด 40, 5, 0.3, 0.01 ไมครอน เพื่อให้เลือกใช้ให้เหมาะกับงาน

ตัวกรองลมดักน้ำ (Filter) สามารถเขียนย่อสั้นๆว่า "F"

ข้อ ใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบ ของ ชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด
ตัวกรองดักลมรุ่น GF600 AirTAC

โครงสร้างภายในของตัวกรองลมดักน้ำ AirTAC

ข้อ ใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบ ของ ชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด

รูปแสดงภายในของตัวกรองลม
สัญลักษณ์
ข้อ ใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบ ของ ชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด

ตัวกรองลมดักน้ำแบบมือหมุนระบายน้ำ (Manual Drain)

ข้อ ใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบ ของ ชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด
  • เมื่อปริมาณน้ำมากขึ้น เราจะทำการหมุนมือหมุน เพื่อการระบายน้ำออก

ตัวกรองลมดักน้ำแบบระบายน้ำอัตโนมัติ (Auto Drain)

ข้อ ใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบ ของ ชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด
  • เมื่อปริมาณน้ำมากขึ้น จะทำให้ลูกลอยเลื่อนขึ้น ก้านยกลิ้น เปิดทำให้ลมผ่านไปดันลูกสูบเลื่อน ซีลจะเปิดน้ำในกระบอกแก้ว ให้ไหลออก

2 ตัวปรับแรงดันลม ตัวปรับความดันลมตัวควบคุมความดันลม Air Regulator, Regulator คือตัวปรับให้แรงดันด้านขาออกของตัวปรับแรงดันลมเป็นไปตามความต้องการใช้งานอย่างคงที่ ซึ่งโดยปรกติมักปรับอยู่ที่ประมาณ 3-5 Bar ตัวปรับแรงดันลม (Regulator) สามารถเขียนย่อๆว่า "R"

ตัวปรับแรงดันลม AirTAC รุ่น GR, AR, BR (Regulator GR, AR, BR Series)
ข้อ ใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบ ของ ชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด

**หมายเหตุ

  1. ตัวปรับแรงลม (Air Regulator) แบบลมย้อนได้ใช้กับกรณีที่ ใช้กับงานไม่ใช่งานทั่วๆไป กล่าวคือ ลมที่ผ่านตัวปรับแรงลมไปใช้กับตัว Stopper Cylinder เป็นต้น (ปัญหาคือ Stopper Cylinder) เป็นกระบอกลมใช้กับงานเฉพาะ คือต้องการที่จะหยุด ของหนักๆที่วิ่งมาให้ช้าลงจนหยุดในระยะทางสั้นๆทำให้เกิดแรงกระทำกับลูกสูบซึ่งโดนกระแทกทำให้เกิดความดันลมที่สูงขึ้นมากดันย้อนกลับไปที่ตัวปรับแรงดันลม (Air Regulator) ซึ่งแรงดันลมที่สูงมากจะไหลผ่านตัวเช็ควาล์วจึงไม่มีแรงดันลมกระทำรุนแรงต่ออุปกรณ์ภายในของตัวปรับแรงลม เช่น ไดอะแฟม เป็นต้น
  2. ตัวปรับแรงลมแบบลมย้อนไม่ได้ ใช้กับงานทั่วๆไปที่ไม่มีการเพิ่มของแรงดันลมขาออกมากมาย เหมือนในข้อ 1. ซึ่งถ้าการกระแทกของแรงดันลมที่เพิ่มขึ้นสูงมากจะไปทำลายไดอะแฟมให้เสียหาย ซึ่งจะสังเกตุได้จากเสียงลมรั่วผ่านไดอะแฟมที่ถูกทำลาย

ตัวกรองลมดักน้ำ (Filter) และตัวปรับแรงดันลม (Regulator) ในตัวเดียวกัน สามารถเขียนสั้นๆว่า FR สามารถใช้ได้เหมือนกับตัวกรองลมดักน้ำที่ต่อเรียงกับตัวปรับแรงดันลมได้เหมือนกัน แต่ประหยัดพื้นที่มากกว่า

ชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด

การเตรียมลมอัด

          โดยปกติแล้วในลมอัดจะมีความชื้นและไอน้ำปะปนอยู่ ละอองน้ำจะมีผลทำให้อุปกรณ์ต่างๆของระบบนิวแมติกส์ เช่น ท่อทาง วาล์ว กระบอกสูบ ฯลฯ เกิดการเสียหายได้ นอกจากนี้ในอาศยังมีฝุ่นละอองและสิ่งสกปรกต่างๆ เมื่อคอมเพรสเซอร์ดูดอากาศที่มีฝุนละอองเข้ามาใช้ในระบบนิวมติกส์ ซึ่งมีผลทำให้อุปกรณ์ที่เคลื่อนที่ ตลอดจนซีลกันรั่วต่างๆ มีอายุการใช้งานที่สั้นลง เป็นผลให้การทำงานของวงจรนิวแมติกส์ไม่สมบูรณ์และไม่ปลอดภัยเท่าที่ควร ดังนั้นจึงมีความจำเป็น ต้องมีความอย่างยิ่งที่จะต้องเตรียมลมอัดให้มีคุณสมบัติตามที่ต้องการ ก่อนที่จะนำไปใช้งาน ในงานนิวแมติกส์ลมอัดทื่จะนำมาใช้งานได้นั้นต้องมีคุณสมบัติ คือ ต้องมีความสะอาด ปราศจากฝุ่นละออง สิ่งสกปรกต่างๆ และละอองน้ำ นอกจากนั้นยังจะต้องช่วยลดความฝืดในอุปกรณ์ที่มีการเคลื่อนที่ และป้องกันสนิม ดังนั้นในลมอัดจึงจำเป็นต้องมีละอองน้ำมันผสมอยู่ด้วย ด้วยสาเหตุนี้ จึงต้องมีชุดควบคุมและปรับปรุงคุณภาพลมอัดก่อนที่จะนำลมอัดนี้ไปใช้งานในระบ
ชุดควบคุมและปรับปรุงคุณภาพลมอัด

          ชุดควบคุมและปรับปรุงคุณภาพลมอัด (Service  Unit) จะประกอบด้วยส่วนประกอบที่สำคัญ 4 ส่วน คือ ตัวกลองลมอัด ตัวควบครุมความดันลม เกจวัดความดัน และตัวผสมน้ำมันหล่อลื่น โดยชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัดมีหน้าที่ดังนี้ คือ

1.             แยกฝุ่นละอองกับน้ำ

2.             ปรับและควบคุมความดันตามต้อง

3.             เกจวัดความดัน

4.             ผสมน้ำมันหล่อลื่นเข้ากับลมอัด



ข้อ ใด ไม่ใช่ ส่วนประกอบ ของ ชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด


รูปที่ 2.1 แสดงชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัด

          ก่อนที่ที่จะนำลมอัดที่ผลิตจากคอมเพรสเซอร์จ่ายให้กับอุปกรณ์หรือวงจรนิวแมติกส์ จะต้องมีการปรับปรุงคุณภาพของลมอัดเสียก่อน โดยให้ลมอัดผ่านชุดปรับปรุงคุณภาพลม (Service  Unit)ซึ่งมีส่วนประกอบที่สำคัญ คือ กรองอากาศ อุปกรณ์ควบคุมความดัน เกจวัดความดัน และตัวผสมน้ำมันหล่อลื่น ซึ่งอธิบายได้ดังนี้

ส่วนประกอบของชุดปรับปรุงคุณภาพลมอัดมีอะไรบ้าง

ชุดปรับปรุงคุณภาพลม เป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยทำความสะอาดลมก่อนที่ลมจะเข้าไปยังระบบวงจรนิวแมติกส์ ชุดปรับปรุงคุณภาพลมแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ ตัวกรองอากาศ (FILTER) ตัวปรับแรงดันลม (REGULATOR) และตัวจ่ายน้ำมันหล่อลื่น (LUBRICATOR)

ข้อใดเป็นผลที่ได้จากการทำงานของตัวกรองลมอัด

ตัวกรองลมดักน้ำทำหน้าที่กรองฝุ่นละออง ทำให้ลมอัดมีความสะอาดก่อนนำไปใช้งานโดยมีหลักการทำงานดังนี้ เมื่อลมอัดผ่านช่อง (P1) เข้าคลีบ บังคับลม มีผลทำให้ลมเกิดการหมุนวน น้ำซึ่งมีน้ำหนักมากกว่าลม จะถูกเหวี่ยงไปปะทะกับหลอดแก้ว ไหลลงสู่ด้านล่างดังรูป ลมที่ไหลผ่านช่อง (P2) จะเป็นลมที่มีความสะอาด

ชุดปรับปรุงคุณภาพลมคืออะไร

ชุดอุปกรณ์ควบคุมคุณภาพลมอัด หรือ ชุดบริการลมอัด หรือ FRL Unit มีหน้าที่ปรับปรุงคุณภาพลม ทำให้อากาศอัดปราศจากฝุ่นละอองคราบน้ำมันและน้ำก่อนที่จะไปใช้ในระบบนิวแมติก ประกอบด้วย ตัวกรองลมอัด (air filter: F) ทำหน้าที่กรองสิ่งสกปรก เช่น ไอน้ำ ฝุ่นผง หรือสารต่างๆ ที่ล่องลอยในบริเวณเครื่องอัดอากาศ

ชุด Service Unit มีหน้าที่อะไรบ้าง

ดังที่ทราบมาจากข้างต้นแล้วว่าหน้าที่ของชุดอากาศบริการ (Service Unit) คือ การปรับสภาพของลมอัดให้เหมาะสำหรับการนำมาใช้ในการทำงานของเครื่องจักร ถ้าเราจะแยกหน้าที่หลัก ๆ ของชุดอากาศบริการ (Service Unit) ออกเป็นส่วนย่อย ๆ ก็คือ กรอง (Filter) ปรับแรงดัน (Regulator) และส่วนของการหล่อลื่น (Lubrication) ดังนั้นเราจึงพบว่าในตำรา ...